คานา หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่องการใชง้ านมลั ติมิเตอร์เบ้ืองตน้ . ไดจ้ ดั ทาข้ึนเพ่อื ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนสาหรับนกั เรียนนกั ศึกษา.ตลอดจนอาจารยค์ ุณครูบุคคลท่ีสนใจโดยผพู้ ฒั นาได้ แบ่งเน้ือหาของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์น้ีไว.้ 10หวั เร่ือง ไดแ้ ก่ 1.มลั ติมิเตอร์ 2.มลั ติมิเตอร์แบบเขม็ 3.How touse the tester 4. การวดั ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 5.การวดั ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั 6. การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง 7. Digital Multimeter 8. Digital Multimeterแบบยา่ นวดั อตั โนมตั ิ 9. Digital Multimeter แบบยา่ นวดั ปรับดว้ ยมือ 10. ส่วนประกอบของ Digital Multimeter ผพู้ ฒั นาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ เน้ือหาสาระของหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์เลม่ น้ี จะเป็นประโยชนแ์ ละใหค้ วามรู้แก่ผเู้ รียนและผสู้ นใจทว่ั ไป .................................. คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง กนั ยายน 2561
เร่ือง หน้าคานา กสารบญั ขมัลติมเิ ตอร์ 1มลั ตมิ เิ ตอร์แบบเข็ม 2ส่วนประกอบมลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ 3-4How to use the tester 5-6การวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง 7การวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั 8การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง 9Digital Multimeter 10Digital Multimeter แบบย่านวดั อตั โนมตั ิ 11Digital Multimeter แบบย่านวดั ปรับด้วยมือ 12ส่วนประกอบของ Digital Multimeter 13ข้อควรระวงั 14แบบฝึ กการใช้มลั ตมิ เิ ตอร์ 15ทมี่ าของข้อมูล 16ผู้จดั ทา 17
1มลั ตมิ ิเตอร์ (Mulimeter) เกิดจากคา 2 คาผสมกนั นนั่ คือMulti ซ่ึงแปลวา่ หลากหลาย มากมาย ส่วน Meter หมายถึงเครื่องวดั เม่ือนาสองคามารวมกนั คือ เครื่องมือวดั ทางไฟฟ้าซ่ึงสามารถวดั ไดห้ ลายค่า เช่น ค่าแรงดนั (Voltage) ค่ากระแส(Current) ค่าความตา้ นทาน(Resistance) บางรุ่นสามารถวดัfrequency,ค่า Diod หรือค่าอ่ืนๆภายในเคร่ืองเดียวไดด้ ว้ ย การแสดงผลของมลั ติมิเตอร์ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ มลั ติมิเตอร์แบบเขม็ (Analog Multimeters) กบั มลั ติมิเตอร์แบบตวั เลข( Digitel Multimiter ) เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั การทดลองเรื่องน้นั ๆ ซ่ึงมลั ติมิเตอร์แตล่ ะเครื่องจะมีรายละเอียดปลีกยอ่ ยและขอ้ ควรระมดั ระวงั ในการใชง้ านแตกต่างกนั ไปในบทความน้ีจะกลา่ วถึงการใชง้ านของ มลั ติมิเตอร์แบบเขม็
มลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ (Analog Multimeters) 2 มลั ติมิเตอร์แบบเขม็ (analog multimeter, AMM) เป็นเคร่ืองมือวดั ปริมาณทางไฟฟ้าหลายประเภทรวมอยใู่ นเคร่ืองเดียวกนั โดยทวั่ ไปแลว้ มลั ติมิเตอร์จะสามารถใชว้ ดั ปริมาณต่อไปน้ี- ความต่างศกั ยก์ ระแสตรง (DC voltage)- ความตา่ งศกั ย์กระแสสลบั (AC voltage)- ปริมาณกระแสตรง (DC current)- ความตา้ นทานไฟฟ้า (electrical resistance) อยา่ งไรกต็ ามมลั ติมิเตอร์บางแบบสามารถใชว้ ดั ปริมาณอื่นๆไดอ้ ีก เช่น กาลงัออกของสญั ญาณความถี่เสียง (AF output) การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (DC current amplification, hFE) กระแสร่ัวของทรานซิสเตอร์ (leakage current, lCEO) ความจุทางไฟฟ้า(capacitance) ฯลฯมลั ติมิเตอร์แบบเขม็ มีลกั ษณะดงั ภาพขา้ งลา่ ง
ส่วนประกอบมลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ 3หมายเลข 1 indicator Zero Conector มีหนา้ ท่ีต้งั คา่ เขม็ใหอ้ ยตู่ าแหน่ง 0 หรือตาแหน่งอื่นๆท่ีตอ้ งการหมายเลข 2 Indicator Pointer หรือ เขม็ ช้ีบ่ง มีหนา้ ท่ีช้ีบ่งปริมาณต่างๆหมายเลข 3 Indicator Scale สเกลต่างที่อยบู่ นหนา้ ปัดของมิเตอร์หมายเลข 4 Continuity Indicating LED ( CONTINUITY )เป็นหลอด Led ที่เปล่งแสงบ่งบอกความต่อเนื่องหมายเลข 5 Range Selector Switch knob ลูกบิดปรับเลือกคา่ ท่ีตอ้ งการวดั
4หมายเลข 6 0-ohms adjusting knob /0-centering meter ป่ ุมปรับต้งั คา่ ความตา้ นทานใหอ้ ยู่ตาแหน่ง 0 หรือตาแหน่งท่ีตอ้ งการหมายเลข 7 Measuring Terminal + เทอร์มินอลไฟบวกหมายเลข 8 Measuring - COM เทอร์มินอลไฟลบ หรือcommonหมายเลข 9 Series Terminal Capacitor OUTPUT ใชว้ ดัค่าแรงดนั กระแสสลบัหมายเลข 10 Panel หรือ หนา้ ปัดมิเตอร์หมายเลข 11 Rear Case หรือ กรอบมิเตอร์
51.) Resistance (OHMS) scale หรือ สเกลวัดความต้านทานมีหน่วยเป็ น โอห์ม2.) สเกลกระแสและแรงดนั ท้งั AC และ DC3.) 0-centerig (NULL) +/- DCV scale4.) สเกลวดั แรงดนั AC 2.5 volt.5.) สเกลวดั การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (hFE) มสี ีนา้เงนิ6.) สเกลสาหรับทดสอบแบตเตอร์รี่ 1.5 V 0.25A.7.) สเกลวดั กระแสร่ัวของทรานซิสเตอร์ (LEAK, ICEO, Ll) มีสีนา้เงนิ
68.) สเกลวดั ความต่างศักย์ระหว่างปลายขณะวดั ความต้านทาน (LV) มสี ีนา้ เงนิ9.) สเกลวดั กาลงั ออกของสัญญาณความถ่เี สียง (dB) มีสีแดง10.) Continuity Indicating LED ( CONTINUITY ) เป็ นหลอด Led ทเ่ี ปล่งแสงบ่งบอกความต่อเน่ือง11.คือกระจกเงาเพ่ือทาให้การอ่านค่าบนสเกลทแี่ สดงด้วยเข็มชี้ของมเิ ตอร์ถูกต้อง ทส่ี ุด การอ่านค่าทถ่ี ูกต้องคือตาแหน่งที่เข็มชี้ของมเิ ตอร์จริงกบั ตาแหน่งเขม็ ชี้ ของมเิ ตอร์ในกระจกเงาซ้อนกนั พอดี
7 การวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง1.เลือกตาแหน่งท่ีต้องการวดั ความต่างศักย์ และตรวจสอบทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้า2. เสียบสายวดั มเิ ตอร์สีดาทขี่ ้ัวลบ(- COM) และสายวดั สีแดงทข่ี ้ัวบวก(+)เข้ากบั มลั ตมิ เิ ตอร์3. ต้งั ช่วงการวดั ให้สูงกว่าความต่างศักย์ของบริเวณน้ัน โดยหมุนสวทิ ช์บนตวั มเิ ตอร์ ไปท่ี ตาแหน่งช่วงการวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)4. นาสายวดั มเิ ตอร์ไปต่อขนานหรือต่อคร่อมวงจร โดยใช้หัววดั แตะกบั จุดทต่ี ้องการวดั และต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าทางข้ัวบวก (+) ของมลั ตมิ เิ ตอร์สมอ ถ้าวดั สลบั ข้วั เข็มวดัจะตกี ลบั ต้องรีบเอาสายวดั มเิ ตอร์ออกจากวงจรทนั ที จากน้ันทาการสลบั หัววดั ให้ถูกต้อง5. การอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ให้อ่านสเกลสีดาทอ่ี ยู่ใต้แถบเงนิ ซึ่งมคี ่าระบุอย่ใู ต้สเกล 3 ช่วง คือ 0-10, 0-50 และ 0-250 ค่าทอ่ี ่านได้ต้องสัมพนั ธ์กบั ช่วงการวดั ท่ีต้งั ไว้
การวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั 8การวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั ไม่จาเป็ นต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านทางข้ัวบวกเหมือนไฟฟ้ากระแสตรงเพราะไฟฟ้ากระแสสลบั ไม่มขี ้วั ตายตวั ข้ัวแรงดนั จะสลบั ไปสลบั มาตลอดเวลา กล่าวคือสามารถต่อโดยให้สายวดั เส้นใดอยู่ข้างใดกไ็ ด้ แต่วธิ ีวดั ค่ายงั ใช้หลกั การเดยี วกนั กบั โวลต์มิเตอร์กระแสตรงก่อนทีจ่ ะนามลั ตมิ เิ ตอร์ไปวดั ค่า ต้องทาการปรับมัลติมเิ ตอร์ให้เป็ นโวลท์มเิ ตอร์กระแสสลบั ก่อน จากน้ันเลือกช่วงการวดั ให้เหมาะสม โดยหมุนสวทิ ช์บนตวัมเิ ตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง(ACV) (หมายเลขอ้างองิ 10) ซึ่งมี 4 ช่วงการวดั คือ 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V
การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง 91. เลือกตาแหน่งท่ีต้องการวดั กระแสไฟฟ้า และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า2. เสียบสายวัดมเิ ตอร์สีดาทีข่ ้วั ลบ (- COM) และสายวดั สีแดงที่ข้วั บวก(+) เข้ากบั มัลตมิ เิ ตอร์3. ต้งั ช่วงการวดั ท่เี หมาะสม ในกรณที ่ีทราบค่ากระแสในวงจร ควรต้ังช่วงการวดั ให้สูงกว่าค่ากระแสท่ีทราบ แต่ในกรณที ี่ไม่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรต้ังช่วงการวดั ทส่ี ูงๆ (0-0.25A) ไว้ก่อน แล้วค่อยปรับช่วงการวดั ใหม่ ก่อนปรับช่วงการวดั ใหม่ต้องเอาสายวดั ออกจากวงจรทุกคร้ังและต้องแน่ใจว่าค่าทจ่ี ะวดั ได้น้ันมีค่าไม่เกนิ ช่วงการวดั ทป่ี รับต้ังใหม่4. นาสายวดั มิเตอร์ไปต่อแทรกหรือต่อแบบอนุกรม โดยใช้หัววดั แตะบริเวณที่ต้องการวดั และต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าทางข้วั บวกของมลัตมิ ิเตอร์ หากเขม็ วดั ตีเกนิ สเกลต้องรีบเอาสายวัดมเิ ตอร์ออกจากวงจรทันที แล้วเลือกช่วงการวดั ทส่ี ูงขนึ้ จากน้ันทาการวดั ค่าใหม่5. อ่านค่ากระแสไฟฟ้าท่ีไหลในวงจร ซ่ึงการอ่านต้องสัมพนั ธ์กบั ช่วงทตี่ ้ังไว้
Digital Multimeter 10Digital Multimeter เป็ นมัลตมิ เิ ตอร์อกี ชนิดหนึ่งท่ีพฒั นาขึน้ มาจากเทคโนโลยที างด้านอเิ ลก็ ทรอนิกส์และด้านดจิ ติ อล โดยการรวมเอาดจิ ิตอลโวลต์มิเตอร์ (DigitalVoltmeter) ดจิ ิตอลแอมมเิ ตอร์ (DigitalAmmeter) และดจิ ิตอลโอห์มมเิ ตอร์ (DigitalOhmmeter) เข้าด้วยกนั ใช้การแสดงผลการวดั ค่าด้วยตวั เลข ช่วยให้การวดั ค่าและการอ่านค่ามคี วามถูกต้องมากขนึ้ และยงั ช่วยลดความผดิ พลาดทีเ่ กดิ จากการอ่านค่าได้ เกดิความสะดวกในการใช้งาน
Digital Multimeterแบบย่านวดั อัตโนมัติ 11 Digital Multimeterแบบย่านวดั อตั โนมตั ิดิจิตอลมัลติมเิ ตอร์แบบย่านวดั อตั โนมตั ิ ปริมาณไฟฟ้าแต่ละชนิดทจี่ ะวดั ค่ามีย่านต้ังวดั เพยี งย่านเดียว สามารถใช้วดั ปริมาณไฟฟ้าต้งั แต่ค่าต่าๆ ไปจนถึงค่าสูงสุดทเ่ี คร่ืองสามารถแสดงค่าออกมาได้ ใช้งานได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว รูปร่างและส่วนประกอบของดิจติ อลมลั ติมิเตอร์แบบย่านวดั อตั โนมตั แิ บบหน่ึง
12Digital Multimeterแบบย่านวดั ปรับด้วยมือ Digital Multimeterแบบย่านวดั ปรับด้วยมือดจิ ติ อลมลั ตมิ เิ ตอร์แบบย่านวดั ปรับด้วยมือ ผ้ใู ช้ดจิ ิตอลมลั ติมเิ ตอร์จะต้องเป็ นผ้ปู รับเลือกย่านวดั ให้เหมาะสมกบั ค่าปริมาณไฟฟ้าทว่ี ดั หากปรับค่าไม่ถูกต้องดจิ ติ อลมลั ติมเิ ตอร์จะไม่สามารถแสดงค่าการวดั ออกมาได้ การใช้งานคล้ายมัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม แตกต่างเพยี งดจิ ิตอลมลั ตมิ เิ ตอร์เม่ือวดั ค่าสามารถแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าทีว่ ดั ได้เป็ นตวั เลขออกมาเลยรูปร่างและส่วนประกอบของดจิ ติ อลมัลตมิ เิ ตอร์แบบย่านวดัปรับด้วยมือแบบหน่ึง
ส่วนประกอบของ Digital Multimeter 131. หน้าจอแสดงผล โดยจะแสดงผลเป็ นตวั เลข 2. ป่ ุมปรับค่าต่างๆ เช่น เลือกตาแหน่งจุดทศนิยม เป็ นต้น 3. สัญลกั ษณ์แสดงช่วงการวดั แต่ละช่วง 4. ป่ มุ ต้งั ช่วงการวดั 5. ช่องสาหรับเสียบสายวดั สาหรับวดั ความต่างศักย์ (V) ท้งัไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลบั , ความต้านทาน(W) 6. ช่องสาหรับเสียบสายวดั Output 7. ช่องสาหรับเสียบสายวดั กระแส ในหน่วย mA และ mA ท้งั ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลบั 8. ช่องเสียบสายวดั สาหรับวดั กระแสไฟฟ้าสลบั สูงสุด
14ข้อควรระวงั และการเตรียมสาหรับการวดั1) บดิ สวติ ซ์เลือกการวดั ตรงกบั ปริมาณทจ่ี ะวดั2) สวติ ซ์เลือกการวดั อย่ใู นช่วงการวดั ทเี่ หมาะสมไม่ตา่ กว่าปริมาณทจี่ ะวดัในกรณีทไ่ี ม่ทราบปริมาณทจ่ี ะวดั มคี ่าอยู่ในช่วงการวดั ใด ให้ต้งัช่วงการวดั ทมี่ คี ่าสูงสุดก่อนแล้วค่อยลดช่วงการวดั ลงมาทลี ะช่วง3) เนื่องจากช่องเสียบสายวดั (สีแดง) มีหลายช่อง คือ V-, mAและ 10 A ต้องแน่ใจว่าเสียบสายวดั สีแดงในช่องเสียบตรงกบัปริมาณทจ่ี ะวดั3. ในกรณีทวี่ ดั ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงต้งั แต่ 25 VAC หรือ 60VDC ขนึ้ ไป ระวงั อย่าให้ส่วนใดของร่างกายแตะวงจรทก่ี าลงั วดัจะเป็ นอนั ตรายได้4. ในขณะทก่ี าลงั ทาการวดั และต้องการปรับช่วงการวดั ให้ตา่ ลงหรือสูงขนึ้ หรือเลือกการวดั ปริมาณอ่ืน ให้ดาเนินการดงั นี้1) ยกสายวัดเส้นหนึ่งออกจากวงจรทีก่ าลงั ทดสอบ2) ปรับช่วงการวดั หรือเลือกการวดั ปริมาณอื่นตามต้องการ3) ทาการวดั5. การวดั ปริมาณกระแสสูง (~10A) ควรใช้เวลาวดั ในช่วงส้ันไม่เกนิ 30 วนิ าที6. เม่ือใช้งานเสร็จแล้ว ให้เล่ือนสวติ ซ์ปิ ด-เปิ ด มาท่ี OFF ถ้าไม่ได้ใช้เป็ นเวลานาน ควรเอาแบตเตอรี่ออกด้วย
แบบฝึ กการใช้มัลติมเิ ตอร์ 15มลั ติมเิ ตอร์ชนิดเขม็ (Analog Multimeter) จากรูป จงคานวณหาค่าความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้าที่อ่านได้จากสเกลมีคา่ เท่าไร1. เมื่อต้งั ช่วงการวดั ที่ 2.5VDC ค่าที่อา่ นได้ ......................2. เม่ือต้งั ช่วงการวดั ที่ 10VDC คา่ ท่ีอา่ นได้ ......................3. เมื่อต้งั ช่วงการวดั ท่ี 0.25ADC คา่ ท่ีอ่านได้ ......................4. เมื่อต้งั ช่วงการวดั ที่ 50ADC ค่าที่อา่ นได้ ......................ใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั คา่ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง เพ่อื จ่ายใหแ้ ก่วงจรไฟฟ้า ไม่เกิน 3V ตอ้ งปรับคา่ ของมลั ติมิเตอร์และนาไปต้งั ค่า อยา่ งไร ค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง ..............................................
16http://www.vecthai.com/main/wp-content/uploads/2009/article/Multimeters_User_Guide.pdfhttp://e-muni.com/2018/05/16/digital-multimeter/ภาพที่ 1-12http://www.vecthai.com/main/wp-content/uploads/2009/article/Multimeters_User_Guide.pdfภาพท่ี 13-14http://e-muni.com/2018/05/16/digital-multimeter/ภาพพืน้ หลงัhttps://blog.drivy.es/2016/10/22/pon-punto-coche-6-sencillos-pasos/
17
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: