การบัญชีการเงิน เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม
1.ภาษีมูลค่าเพิ่มหมายถึงอะไร ก. เป็นภาษีทางอ้อมที่จัดเก็บจากฐานการบริโภค ข. เงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากราษฎร ค. ค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บ ง. เป็นภาษีทางตรงที่จัดเก็บจากบุคคลธรรมดา จ. ถูกทุกข้อ 2.ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นภาษีที่นำมาใช้แทนภาษีการค้าโดยเริ่ม บังคับใช้ ตั้งแต่วันที่เท่าไหร่ ก. 1 ม.ค. 2531 ข. 1 ม.ค. 2532 ค. 1 ม.ค. 2533 ง. 1 ม.ค. 2534 จ. 1 ม.ค. 2535 3.ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มแบ่งเป็นกี่ประเภท ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 5 4.ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรือนิติบุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขายสิ นค้าหรือให้บริการเกินกว่าเท่าใด ต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ก.1.5 ล้าน ข.1.6 ล้าน ค.1.7 ล้าน ง.1.8 ล้าน จ.1.9 ล้าน
5.ประเภทของกิจกรรมที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม มีกี่ประเภท ก.2 ประเภท ข.3 ประเภท ค.4 ประเภท ง.5 ประเภท จ.6 ประเภท 6.การยกเว้นภาษีมูลเพิ่ม ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก.การขายสิ นค้าหรือบริการนอกราชอาณาจักรที่มีรายรับไม่เกิน 1,200,000 บาทต่อปี ข.การให้บริการเช่าสั งหาริมทรัพย์ ค.การให้บริการวิจัยหรือการให้บริการทางวิชาการในสาขา วิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ ง.การให้บริการขนส่ งนอกราชอาณาจักร จ.การให้บริการขนส่ งระหว่างประเทศเฉพาะทางบก 7.ภาษีมูลค่าเพิ่มภาษาอังกฤษ ข้อใดสะกดถูกต้อง ก. Valee Added Tax ข. Value Added Tax ค. Value Adbed Tax ง. Valua Added Tax จ. Value Addad Tax 8.ผู้ประกอบการจดทะเบียน จะคำนวณภาษีที่ต้องเสียจากอะไร ก.คำนวณจากภาษีซื้อบวกด้วยภาษีขาย ข.คำนวณจากภาษีซื้อหักด้วยภาษีขาย ค.คำนวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ ง.คำนวณจากภาษีขายบวกด้วยภาษีซื้อ จ.คำนวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีอากร
9.ประเทศไทยอัตราการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะอยู่ที่กี่เปอร์เซ็นต์ ก.3% ข.5% ค.7% ง.9% จ.11% 10.อัตราการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะอยู่ที่ 7% ของราคาใด ก.ราคาขาย-ซื้อ ข.ราคาขาย-บริการ ค.ราคาซื้อ-สิ นค้า ง.ราคาสิ นค้า-บริการ จ.ราคาซื้อ-บริการ
ใบความรู้ เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax : VAT) เป็นภาษีทาง อ้อมที่จัดเก็บจากฐานการบริโภค กล่าวคือ ภาษีมูลค่า เพิ่มจะเรียกเก็บภาษีจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ถ้าผู้ ซื้อสิ นค้าหรือผู้รับบริการเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จ่ายไปมีสิทธิขอคืนจาก รมสรรพากรได้ แต่ถ้าผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการเป็นผู้ บริโภคคนสุดท้ายจะเป็นผู้รับภาระภาษี ไม่มีสิ ทธิขอคืน ภาษีมูลค่าเพิ่มจากกรมสรรพากรภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นภาษี ที่นำมาใช้แทนภาษีการค้า โดยเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2535 2.ประเภทของกิจกรรมที่ต้องเสี ยภาษี มูลค่าเพิ่ม การประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แบ่งออก เป็น 2 ประเภทคือ 1. การประกอบกิจการขายสินค้า การขายสินค้า หมาย ถึง การจำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์ หรือค่าตอบแทนหรือไม่ เช่น การขายสินค้า การแจก สินค้า การแถม การให้สินค้าเป็นรางวัล การให้โดย เสน่หา เป็นต้น ถือเป็นการขายในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ทั้งสิ้ น การขายสินค้า ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ยังรวมถึงกิจกรรมดังนี้ ด้วย 1.1 กิจการที่มีการให้เช่าซื้อสินค้า 1.2 กิจการที่มีการส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนเพื่อขาย 1.3 กิจการที่มีการนำสินค้าไปใช้ไม่ว่าเพื่อการใดๆ เช่น นำสินค้าของกิจการไปบริจาค 1.4 กิจการที่มีสินค้าขาดจากรายการสินค้าและวัตถุดิบ 1.5 กิจการที่มีมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้ให้ในการ ณ วันเลิก ประกอบการ 2. การประกอบกิจการให้บริการ การให้บริการ หมายถึงการกระทำใดๆ อันอาจหาประโยชน์ ได้อันมีมูลค่าซึ่งมิใช่การขายสินค้า เช่น การรับจ้างทำของ การรับจ้างบริการ การรับ ซ่อมแซม นอกจากนี้ การให้บริการดังต่อไปนี้ ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ 2.1. การใช้บริการเพื่อประกอบกิจการของตนเองโดยตรง ทั้งนี้ ต้องเป็นการใช้ในกิจการที่ อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งบริการดังกล่าวต้องมิใช่การใช้บริการดังต่อไปนี้ เช่น บริการที่นำไปใช้เพื่อการรับรอง หรือ บริการที่นำไปใช้กับรถยนต์นั่งและรถโดยสารที่มีที่นั่ง ไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต 2.2 การนำเงินไปหาประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรือซื้อพันธบัตรหรือหลักทรัพย์ 2.3 การการะทำอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด
ใบความรู้ เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม 3.ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี มูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการที่ขายสิ นค้าหรือให้บริการในทางธุ รกิจหรือ วิชาชีพเป็นปกติธุระ ไม่ว่าจะประกอบกิจการในรูปของบุคคล ธรรมดา คณะบุคคลหรือห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรือนิติบุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้ บริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน โดย คำนวณภาษี ที่ต้องเสี ยจากภาษี ขายหักด้วยภาษี ซื้อ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ผู้ประกอบการ 2. ผู้นำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ 3. ผู้ที่กฎหมายกำหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นกรณี พิเศษ 4.การยกเว้นภาษีมูลเพิ่ม 1. การขายสินค้าหรือบริการในราชอาณาจักรที่มีรายรับไม่เกิน 1,200,000 บาทต่อปี 2. การขายพืชผลทางการเกษตร 3. การขายสัตว์ทั้งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต 4. การขายสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร 5. การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ตำราเรียน และหนังสือต่างๆ ทุกชนิด รวมทั้งเทป ประกอบตำราเรียน 6. การนำเข้าซึ่งสินค้าตามข้อ 2, 3, 4 และ 5 7. การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักร 8. การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศเฉพาะทางบก 9. การให้บริการการศึ กษาของสถาบันทางราชการและเอกชน 10. การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทางราชการและเอกชน 11. การให้บริการที่เป็นงานทางศิ ลปะและวัฒนธรรมในสาขานาฏศิ ลป์ และสาขา ดุริยางคศิ ลป์และคีตศิ ลป์ 12. การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ 13. การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น 14. การให้บริการการประกอบโรคศิ ลปะ การสอบบัญชี การว่าความ หรือการประกอบ วิชาชีพอิสระอื่นตามที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ทั้งนี้ เฉพาะวิชาชีพอิสระที่มี กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพอิสระนั้ น 15. การให้บริการวิจัยหรือการให้บริการทางวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์และ สั งคมศาสตร์ 16. การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน 17. การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ 18. การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย 19. การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น
ใบความรู้ เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม 20. การขายสินค้าหรือบริการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งรายรับทั้งสิ้ นให้แก่รัฐโดยไม่หักรายจ่าย 21. การขายสินค้าหรือให้บริการเพื่อประโยชน์แก่การศาสนา หรือการสาธารณกุศลภายในประเทศ ซึ่งไม่นำผลกำไรไปจ่ายในทางอื่น 22. การขายยาสูบของผู้ประกอบการที่มิใช่โรงงานยาสูบ 23. การขายสลากกินแบ่งของรัฐบาล สลากออมสินของรัฐบาล และสลากบำรุง สภากาชาดไทย 24. การขายแสตมป์ไปรษณีย์ แสตมป์อากร หรือแสตมป์อื่นของ รัฐบาล องค์การของรัฐบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วน ท้องถิ่น ทั้งนี้ เฉพาะที่ยังไม่ได้ใช้ในราคาที่ไม่สูงเกินมูลค่าที่ตรา ไว้ 25. การให้บริการสีข้าว 26. การขนส่งระหว่างประเทศไทยโดยผู้ประกอบการที่เป็น นิติบุคคลที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายต่างประเทศซึ่งตามกฎหมาย ของประเทศนั้นยกเว้นภาษีทางอ้อมให้แก่ ผู้ประกอบการที่เป็น นิ ติบุคคลที่ตั้งขึ้ นตามกฎหมายไทยตามหลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ 27. การนำเข้าสินค้าที่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าบางประเภท 5.การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ การจดทะเบียนรูปแบบหนึ่ งที่ทางกรม สรรพากรนั้นกำหนดให้ผู้ประกอบการอย่างเรา ๆ ไม่ว่าจะเป็นแบบ นิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดา ที่มีเงินรายหรือรายได้จากการสินค้า- บริการต่าง ๆ ที่เกิน 1.8 ล้านบาท/ปี นั้นต้องทำหน้าที่ยื่นเรื่องขอ จด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งตัวภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ Vat 7% ก็เป็นภาษี อากรรูปแบบหนึ่ ง ที่ถูกเรียกเก็บจากลูกค้าหรือผู้บริโภค โดยในแต่ละ ประเทศก็จะเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มแตกต่างกันไป ส่วนในบ้านเราอย่าง ประเทศไทยอัตราการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะอยู่ที่ 7% ของราคา สิ นค้า-บริการ การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือ การจด Vat ถือว่าเป็นสิ่ งที่ผู้ ประกอบการต้องให้ความสนใจอย่างมาก และจำเป็นที่จะต้องทราบ หลักเกณฑ์ รายละเอียดต่าง ๆ ของการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากว่าเป็นสิ่ งที่ทุกธุรกิจนั้นต้องทำ และต้องทำตามอย่างเคร่งครัด เพราะเป็นข้อกำหนดของทางกรมสรรพากร
1.ภาษีมูลค่าเพิ่มหมายถึงอะไร ก. เป็นภาษีทางตรงที่จัดเก็บจากบุคคลธรรมดา ข. เงินที่รัฐบาลเรียกเก็บจากราษฎร ค. ค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บ ง. เป็นภาษีทางอ้อมที่จัดเก็บจากฐานการบริโภค จ. ถูกทุกข้อ 2.ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นภาษีที่นำมาใช้แทนภาษีการค้าโดยเริ่มบังคับใช้ ตั้งแต่ วันที่เท่าไหร่ ก. 1 ม.ค. 2531 ข. 1 ม.ค. 2532 ค. 1 ม.ค. 2533 ง. 1 ม.ค. 2534 จ. 1 ม.ค. 2535 3.ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี มูลค่าเพิ่มแบ่งเป็นกี่ประเภท ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 5 4.ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรือนิติบุคคลใด ๆ หากมีรายรับจาก การขายสินค้าหรือให้บริการเกินกว่าเท่าใดต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ก.1.5 ล้าน ข.1.6 ล้าน ค.1.7 ล้าน ง.1.8 ล้าน จ.1.9 ล้าน
5.ประเภทของกิจกรรมที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม มีกี่ประเภท ก.2 ประเภท ข.3 ประเภท ค.4 ประเภท ง.5 ประเภท จ.6 ประเภท 6.การยกเว้นภาษีมูลเพิ่ม ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก.การขายสินค้าหรือบริการนอกราชอาณาจักรที่มีรายรับไม่เกิน 1,200,000 บาทต่อปี ข.การให้บริการขนส่ งระหว่างประเทศเฉพาะทางบก ค.การให้บริการวิจัยหรือการให้บริการทางวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์และ คณิ ตศาสตร์ ง.การให้บริการขนส่ งนอกราชอาณาจักร จ.การให้บริการเช่าสั งหาริมทรัพย์ 7.ภาษีมูลค่าเพิ่มภาษาอังกฤษ ข้อใดสะกดถูกต้อง ก. Valee Added Tax ข. Value Added Tax ค. Value Adbed Tax ง. Valua Added Tax จ. Value Addad Tax 8.ผู้ประกอบการจดทะเบียน จะคำนวณภาษีที่ต้องเสียจากอะไร ก.คำนวณจากภาษีซื้อบวกด้วยภาษีขาย ข.คำนวณจากภาษีซื้อหักด้วยภาษีขาย ค.คำนวณจากภาษีขายบวกด้วยภาษีซื้อ ง.คำนวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ จ.คำนวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีอากร
9.ประเทศไทยอัตราการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะอยู่ที่กี่เปอร์เซ็นต์ ก.3% ข.5% ค.7% ง.9% จ.11% 10.อัตราการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะอยู่ที่ 7% ของราคาใด ก.ราคาขาย-ซื้อ ข.ราคาสิ นค้า-บริการ ค.ราคาซื้อ-สิ นค้า ง.ราคาขาย-บริการ จ.ราคาซื้อ-บริการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: