เทคโนโลยีความเป็นจรงิ ขยาย Extended Reality: XR ณฐั ภทั ร แก้วรัตนภัทร์ อาจารย์ประจาหลักสูตรสารสนเทศศาสตรบัณฑติ แขนงวิชาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ ภาควชิ าสงั คมศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา [email protected] ประสบการณ์ที่ด่ืมด่า คือ การเปลี่ยนแปลงการเชื่อมโยงระหว่างมนุษย์กับสารสนเทศ ประสบการณ์และอ่ืน ๆ โดยเทคโนโลยีที่พยายามเสริมประสบการณ์ให้ดื่มด่า เช่น เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม(Augmented Reality: AR) หรือ เทคโนโลยีความเปน็ จรงิ เสมือน (Virtual Reality: VR) แตท่ งั้ สองเทคโนโลยีนย้ี ังเกดิ รอยต่อระหวา่ งมนษุ ยห์ รอื โลกความเป็นจริง (Real World) กับโลกเสมอื น (Virtual World) ความเป็นจริงขยาย หรือ Extended Reality: XR เป็นเทคโนโลยีแรกท่ีจะ \"ย้าย\" คนไปในช่วงเวลาและบริเวรต่าง ๆ ได้ ทาให้เกิดการเพิ่มขยายการรับรู้และประสบการณ์ของมนุษย์มากขึ้น นามาซึ่งการสิ้นสุดรอยต่อระหวา่ งโลกความเปน็ จรงิ กบั โลกเสมอื น เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality: VR) คือ เทคโนโลยีที่นาผู้ใช้งานออกจากสภาพแวดลอ้ มของโลกจริงไปสูส่ ภาพแวดล้อมของโลกเสมือน โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วยเคร่ืองสวมใส่ศีรษะท่ีมลี กั ษณะเป็นแวน่ ขนาดใหญแ่ ละอาจมีหูฟัง รวมถึงมีเคร่ืองควบคุมแบบมอื จับเพอ่ื นาทางในโลกเสมือน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality: AR) คือ การซ้อนทับระหว่างวัตถุดิจิทัล(Digital Objects) เช่น ภาพ วิดีโอคลิป เสียง ตัวอักษร ภาพเคล่ือนไหว เป็นต้น กับโลกความเป็นจริง ทาให้ผู้ใช้เกิดประสบการณ์จากความสมั พันธร์ ะหวา่ งโลกดิจิทลั กับโลกทางกายภาพได้ ซ่ึงทั่วไปแล้วเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมจะใช้องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ เช่น ส่วนของการรับภาพหรือกล้อง และ ส่วนของการแสดงผลหรือหนา้ จอ เทคโนโลยีความเป็นจริงขยาย (Extended Reality: XR) คือ เทคโนโลยีที่มุ่งเน้นในเร่ืองของแถบประสบการณ์ (Spectrum of Experience) ของมนุษย์ โดยใช้วิธีลดรอยต่อระหว่างโลกความเป็นจริงกับโลกเสมือนเพื่อขยายความสมจริงให้สูงขึ้น ทาให้มนุษย์เกิดประสบการณ์ท่ีดื่มด่ามากขึ้น โดยเทคโนโลยีความเป็นจริงขยายจะผสมผสานเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (VR) เขา้ กับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (AR) และทาการพัฒนาเพ่ิมขึ้นโดยมีการปรับปรงุ มุมมองการแสดงผลให้สมจรงิ ยง่ิ ขน้ึ และมีการนาเทคโนโลยีที่เกีย่ วกับการส่งกล่ินและรับรู้เก่ียวกับจมูก (Olfactory) และเทคโนโลยีท่ีเป็นตัวช้ีนาความรู้สึก (Haptic Cues) เช่น ระดับการสัน่ สะเทอื น (Vibration) ระดบั ความร้อน ระดับความเยน็ มาใช้ร่วมกนั น่นั เอง
Search
Read the Text Version
- 1 - 1
Pages: