Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสนธิสัญญาเบาว์ริง

หนังสือสนธิสัญญาเบาว์ริง

Published by เจ้าแมวน้อย, 2022-09-17 12:38:35

Description: E-Book เล่มนี้จะเล่าความเป็นมาเกี่ยวกับสนธิสัญญาเบาว์ริง ว่าเหตุการณ์ครั้งนั้นเกิดอะไรขึ้นมาบ้าง

Keywords: ประวัติศาสตร์,สัญญาเบาว์ริง

Search

Read the Text Version

หนั งสือสนธิสัญญาเบาวร์ ิง เล่ม ๑ เจ้าแมวน้ อย

คำนำ หนังสอื เลม่ น้จี ัดเขยี นขน้ึ เพอื่ จะเลำ่ ควำมเป็นมำเก่ียวกบั กำรทำสนธสิ ัญญำเบำวร์ งิ ว่ำเกดิ อะไรขึ้นบ้ำงในเหตกุ ำรณค์ ร้ังนนั้ ผู้จัดทำหวังเปน็ อย่ำงสูงวำ่ ผู้ที่เข้ำอำ่ นจะได้รับควำมเข้ำใจ มำกหรอื น้อยอยทู่ ีค่ วำมเขำ้ ใจ ในแต่ละคน หำกข้อมูลในหนังสือผดิ พลำดประกำรใดกข็ ้ออภยั มำ ณ ท่ีนดี ว้ ย เจำ้ แมวน้อย

สำรบัญ หน้ำ หัวขอ้ 4 ประวตั ิ 6 - ประวตั ิ 7 สนธสิ ญั ญำเบำว์ริง 9 - สนธิสญั ญำเบำว์ริงคอื อะไร - ควำมแตกต่ำงระหว่ำงสนธสิ ญั ญำเบำว์รงิ กับสนธสิ ญั ญำฉบับอื่น 12 - กำรทำสนธสิ ญั ญำเบำวร์ งิ เบอื้ งหลงั 15 - เบอ้ื งหลัง กำรเจรจำ 18 - กำรเจรจำ 19 สำระสำคัญ 20 - สำระสำคัญ 21 - หนงั สอื พ่วงทำ้ ย - ประเดน็ ด้ำนกำรเกบ็ ภำษีขำเขำ้ 23 - กำรทำข้อไขสญั ญำ 24 ผลท่ตี ำมมำ 26 - ผลทตี่ ำมมำ 27 - ผลกระทบต่อประเทศไทย 28 - กำรทำหนังสือสญั ญำทำงไมตรีกบั ประเทศอืน่ 29 - กำรเลกิ ค้ำขำยกับจนี - กำรทำเงินแป 32 - ควำมเปล่ยี นแปลงทำงเศรษฐกิจ ปัญหำที่เกดิ ขน้ึ 35 - ปัญหำทเี่ กิดข้ึนตำมมำหลังกำรใช้ “สัญญำเบำริ่ง” ในสยำม 36 กำรยกเลกิ - กำรยกเลกิ อ้ำงองิ

ประวตั ิ

ประวัติ เซอรจ์ อห์น เบำวร์ ิง เซอร์ จอหน์ เบำว์ริง เกดิ ที่นครเอ็กซเิ ตอร์ มณฑลเดวอน ทำงตะวนั ตกเฉยี งใต้ของประเทศอังกฤษ เป็น เดก็ ฉลำดหลักแหลม เรียนเก่ง เขำสำมำรถพดู ได้ถึง 10 ภำษำหลกั ๆ ในทวปี ยุโรปทัง้ หมดรวมถึงจีนกลำง เรมิ่ เขียน บทควำมลงใน \"Westminster Review” นิตยสำรวิเครำะหเ์ ศรษฐกิจ ตอ่ มำในปี 2368 ได้ขึ้นเป็น บรรณำธิกำร และได้ย้ำยไปเนเธอรแ์ ลนดเ์ รียนจบนติ ิศำสตรด์ ษุ ฎบี ณั ฑติ (Doctor of Laws) จำกมหำวทิ ยำลัยกรอ นิงเกน (University of Groningen) ต่อมำไดเ้ ป็นสมำชกิ ของสภำ Kilmarnock Burghs จำกนนั้ ได้รบั กำรแต่งต้ัง ไปเจรจำทำงกำรคำ้ กบั ฝรัง่ เศส สวิตเซอรแ์ ลนด์ อิตำลี ซเี รีย และเยอรมนั ซง่ึ ตอ่ มำได้เป็นตวั แทน กำรเจรจำทำง กำรคำ้ กบั จนี ท่ีเมอื งกวำงจใู นปี 2392 หลงั จำกน้ันอีก 5 ปี กข็ ้ึนเป็นขำ้ หลวงอังกฤษประจำฮ่องกง เมอ่ื ฮอ่ งกงตก เป็นอำณำนิคมของอังกฤษ หลงั จีนพ่ำยแพใ้ นสงครำมฝิ่นครง้ั ทส่ี อง และไดข้ นึ้ เป็นเจำ้ เมืองฮ่องกง ในปี 2398 เบำว์รงิ ได้เชิญพระรำชสำสนใ์ นสมเด็จพระนำงเจ้ำวิกตอเรีย พร้อมด้วยเคร่ืองรำชบรรณำกำรเข้ำมำทำ สนธิสญั ญำทำงไมตรีกบั สยำม สัญญำฉบับนั้นคือ \"สนธสิ ัญญำเบำวร์ งิ ” เมอ่ื วันท่ี 18 เมษำยน 2398 ซ่ึงเป็นผลทำ ใหส้ ยำมต้องสูญเสยี อำนำจอธปิ ไตยทำงกำรศำล และมีสิทธสิ ภำพนอกอำณำเขต และทำให้เกิดกำรคำ้ เสรถี ือเปน็ กำรส้นิ สดุ ของกำรผกู ขำดกำรค้ำต่ำงประเทศ โดยพระคลงั สนิ คำ้ ของสยำม ชว่ งต้นรัชกำลที่ 5 เบำวร์ งิ ได้รบั แตง่ ต้งั เปน็ อคั รรำชทตู ไทยประจำกรงุ ลอนดอน และทวีปยุโรป มี บรรดำศกั ดเ์ิ ป็น \"พระยำสยำมมำนุกูลกิจ สยำมมติ รมหำยศ” ต่อมำในปี พ.ศ. 2404 เบำว์ริงย้ำยไปเปน็ ตวั แทนทำง กำรค้ำทอ่ี ิตำลี และอกี หลำยประเทศในยโุ รป เบำว์ริงเสยี ชีวติ เมือวนั ท่ี 23 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2415 ประวัติ เซอรจ์ อห์น เบำว์ริง 4

สนธสิ ญั ญาเบาวร์ งิ

สนธิสัญญำเบำว์รงิ คอื อะไร สนธสิ ญั ญำเบำวร์ ิงฉบับภำษำไทยเขียนลงสมุดไทย ก่อนสง่ ไปจักรวรรดอิ งั กฤษ ใหร้ ัฐบำลองั กฤษประทบั ตรำ สนธิสญั ญำเบำวร์ งิ หรอื ช่ืออย่ำงเป็นทำงกำรคือ หนังสอื สัญญำทำงพระรำชไมตรปี ระเทศอังกฤษแลประเทศ สยำม ซ่ึงจดั ทำขน้ึ ระหว่ำงสหรำชอำณำจักรบริเตนใหญ่และไอรแ์ ลนด์ ซ่ึงคนไทยมกั จะเรยี กวำ่ อังกฤษกับประเทศไทย หรอื สยำมในเวลำน้ัน สว่ นชือ่ สนธสิ ญั ญำเบำวร์ งิ นน้ั มำจำกข้อควำมบนปกสมดุ ไทย (สมุดขอ่ ย) ซึ่งใช้ช่ือวำ่ หนังสือสัญญำเซอร์ ยอนโบวรงิ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อสง่ เสริมกำรคำ้ และพำณิชยเ์ พ่ือเปดิ กำรคำ้ เสรรี ะหวำ่ งสยำมกับสหรำชอำณำจกั ร สนธิสัญญำฉบบั น้ไี มใ่ ช่สนธิสัญญำกำรคำ้ และพำณิชย์ระหวำ่ งสยำมกับสหรำชอำณำจักรเปน็ ฉบบั แรก โดย ก่อนหนำ้ นนั้ สยำมไดเ้ คยทำสนธสิ ญั ญำกับสหรำชอำณำจักรข้ึนแล้วในช่วงปี พ.ศ. 2369 คอื สนธิสญั ญำระหวำ่ ง รำชอำณำจกั รสยำมกับสหรำชอำณำจักร หรือที่รจู้ ักกันในชือ่ สนธสิ ัญญำเบอรน์ ีย์ ซึ่งตั้งตำมชอื่ ของ เฮนรี เบอร์ นยี ์ พ่อค้ำ-นักเดนิ ทำง-นกั กำรทูตของบรษิ ัท บริติช อีสอินเดีย ซ่ึงทำขึ้นในชว่ งรชั สมัยของพระบำทสมเด็จนั่งเกล้ำ เจำ้ อยูห่ ัว สนธิสญั ญำเบำวร์ งิ คืออะไร 6

ควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งสนธิสญั ญำเบำวร์ งิ กบั สนธิสญั ญำฉบับอื่น ในแงค่ วำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งสยำมกับประเทศยุโรปตะวันตก จะเห็นไดว้ ำ่ สยำมและประเทศทำงแถบยโุ รป ตะวันตกมคี วำมสัมพันธก์ ันมำเป็นเวลำนำน จำกเอกสำรหลกั ฐำนทำงประวตั ิศำสตรจ์ ำนวนมำก เชน่ ในสมัยอยุธยำไดม้ ี กำรทำกำรค้ำกบั โปรตเุ กส ฮอลันดำ (เนเธอรแ์ ลนด์) หรอื เคยรับคณะทตู จำกรำชอำณำจักรสยำมในสมัยสมเด็จพระ นำรำยณ์ เป็นตน้ ซึง่ ในสนธิสญั ญำเบำวร์ ิงน้นั ก็มีเนือ้ หำทแ่ี ตกตำ่ งกบั สนธิสญั ญำเบอร์นยี ด์ ว้ ยเช่นกัน อย่ำงไรก็ตำม ควำมสมั พันธ์ของแตล่ ะประเทศทผี่ ่ำนมำนัน้ มีวัตถปุ ระสงค์ท่ีแตกตำ่ งกนั ออกไป เช่น กรณีของโปรตเุ กส กบั ฮอลนั ดำ มวี ตั ถปุ ระสงคส์ ำคญั เพอ่ื ทำกำรค้ำกับสยำมเท่ำนน้ั หรอื กรณีของฝร่ังเศส ท่มี ุ่งจะเผยแพรศ่ ำสนำตำมพนั ธ กจิ และคตินยิ มของกษตั รยิ ์ผ้อู ุปถัมภ์ครสิ ตศำนำในเวลำนนั้ เปน็ ต้น เปำ้ หมำยของกำรทำสนธิสัญญำในช่วงรัตนโกสินทร์นั้นเปลี่ยนแปลงไป กำรค้ำขำยกบั พระคลังสินค้ำสร้ำง ควำมยำกลำบำกให้กับประเทศยโุ รปตะวนั ตก เนอ่ื งจำกพระคลังสินค้ำคอยเอำเปรียบและโกง่ รำคำสนิ ค้ำ อีกทั้งยงั เกบ็ ภำษีซ้ำซอ้ น ทำใหร้ ำคำสินค้ำทต่ี ้องซอื้ จำกสยำมมรี ำคำแพง ในขณะเดยี วกนั บรบิ ทของกำรค้ำในเวลำนัน้ ต่ำงถูกควบคุมด้วย “พระคลงั สินคำ้ ” ไมว่ ่ำจะเปน็ เรอ่ื งของรำคำ เน่อื งจำกในเวลำน้ันพระคลงั สนิ ค้ำไดท้ ำกำรผกู ขำดกำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศเอำไวก้ ับพระคลงั สินคำ้ และพอ่ คำ้ ยุโรป ตะวนั ตกไมส่ ำมำรถเลือกท่จี ะทำกำรคำ้ โดยไมผ่ ่ำนพระคลงั สินคำ้ ได้ แม้ควำมต้งั ใจแรกของสหรำชอำณำจกั รเมอ่ื เขำ้ มำตกลงทำสนธิสัญญำเบอรน์ ยี ์กับสยำมจะมีควำมต้ังใจทจ่ี ะใหส้ ยำม เปดิ เสรีกำรค้ำ โดยยกเลกิ บทบำทกำรผูกขำดทำงกำรคำ้ โดยพระคลงั สินคำ้ และแกไ้ ขปญั หำภำษดี ังได้กลำ่ วมำแล้วใน ข้ำงต้น ทว่ำ ในทำ้ ยท่สี ุดควำมต้งั ใจในเวลำนั้นกไ็ มป่ ระสบควำมสำเร็จเทำ่ ท่ีควร ควำมแตกตำ่ งระหว่ำงสนธสิ ัญญำเบำวร์ งิ กบั สนธิสัญญำฉบบั อ่ืน 7

ควำมแตกต่ำงระหว่ำงสนธิสัญญำเบำว์รงิ กับสนธิสญั ญำฉบับอื่น อยา่ งไรก็ตาม ผลของการเจรจาในครงั้ นนั้ ก็คือ หนงั สือสญั ญาทางพระราชไมตรปี ระเทศ องั กฤษแลประเทศสยามฉบบั แรก ซง่ึ ประกอบดว้ ยความตกลงรว่ มกนั ทง้ั หมด 14 ขอ้ โดยเนือ้ หาในขอ้ 1 – 4 จะมีเนือ้ หาเก่ียวกบั เร่อื งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสยามและสหราชอาณาจกั รในเร่อื งเขตแดนและ คนในบงั คบั ของสหราชอาณาจกั ร และในขอ้ 5 – 14 จะเป็นเรอ่ื งในทางการคา้ ดว้ ยเหตทุ ่ีเจรจาในครงั้ นน้ั ยงั ไมส่ าเรจ็ สมความตง้ั ใจรฐั บาลสหราชอาณาจกั รในเวลาต่อมาจงึ ไดต้ ิดตอ่ เขา้ มาเพ่อื ทาหนงั สือ สญั ญาฉบบั ใหม่ ควำมแตกตำ่ งระหว่ำงสนธสิ ญั ญำเบำว์ริงกบั สนธิสญั ญำฉบบั อื่น 8

กำรทำสนธสิ ัญญำเบำว์ริง การทา สนธิสญั ญาเบาวร์ งิ นนั้ เป็นผลสืบเน่ืองมาจากความตง้ั ใจท่ียงั ไมบ่ รรลสุ มใจหมายของ รฐั บาลสหราชอาณาจกั ร ฉะนน้ั เม่ือสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงเสดจ็ สวรรคตแลว้ และรฐั บาลส หราชอาณาจกั รไดร้ บั สญั ญาณจากสยามว่าอยากใหม้ ีการเจรจาทาหนงั สือสญั ญาฉบบั ใหม่ รฐั บาลส หราชอาณาจกั รจงึ ไดแ้ ต่งตง้ั ให้ ‘เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ งิ ’ ณ ขณะนนั้ ดารงตาแหน่งขา้ หลวงเกาะฮ่องกง เดินทางมายงั ราชอาณาจกั รสยามเพ่ือทาหนงั สือสญั ญาฉบบั ใหม่ การทาหนงั สือสญั ญาฉบบั ใหม่นนั้ มีการลงนามกนั ใน วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2399 ณ ราชอาณาจกั รสยาม เนือ้ หาของสนธิสญั ญาฉบบั นีค้ ือ การผนวกรวมเอาเนือ้ หาของสนธิสญั ญาฉบบั ก่อน (เบอรน์ ีย)์ ประกอบเขา้ กบั เนือ้ หาของสนธิสญั ญาฉบบั ใหม่ โดยมีจดุ เนน้ ยา้ สาคญั ท่ีแตกตา่ งจาก สนธิสญั ญาฉบบั ก่อนคือ การกาหนดใหส้ ยามตอ้ งเปิดเสรที างการคา้ ซง่ึ ทาใหบ้ ทบาทของพระ คลงั สินคา้ หมดลง และกาหนดสินคา้ ควบคมุ ไวเ้ ฉพาะฝ่ินเทา่ นนั้ ท่ีจะตอ้ งขายใหก้ บั รฐั บาล และมีการ เจรจาตกลงกนั ในเรอ่ื งภาษีโดยกาหนดหา้ มมใิ หส้ ยามเก็บภาษีซา้ ซอ้ นและเก็บภาษีไม่เกินรอ้ ยละ 3 อยา่ งไรก็ตาม ผลสาคญั ท่ีเป็นผลพลอยเกิดขนึ้ ไปดว้ ยก็คือ ภายใตส้ นธิสญั ญาฉบบั นีร้ ฐั บาล สยามตอ้ งยอมรบั เขตอานาจศาลขององั กฤษเหนือเขตอานาจศาลไทยในบคุ คลภายใตบ้ งั คบั ของส หราชอาณาจกั ร ซง่ึ คนท่วั ไปอาจเรยี กกนั ว่าเป็น การเสียเอกราชทางการศาล หรอื เสียสทิ ธิสภาพนอก อาณาเขต กำรทำสนธสิ ญั ญำเบำวร์ งิ 9

กำรทำสนธสิ ญั ญำเบำวร์ งิ ดว้ ยเหตวุ า่ ในเวลานนั้ กฎหมายท่ีสยามใช้ มีลกั ษณะเป็นจารตี นครบาลซง่ึ ในมมุ ของประเทศ ยโุ รปตะวนั ตกมองวา่ วิธีการดงั กลา่ วนนั้ ลา้ สมยั และไมส่ ง่ เสรมิ การขยายตวั ทางการคา้ การขอยกเวน้ เขตอานาจศาลไทยเหนือคนในบงั คบั ของสหราชอาณาจกั รจงึ เป็นไปเพ่อื ประโยชนท์ างการคา้ ซ่ึงผล ประการหน่งึ จากการยกเวน้ เขตอานาจศาลไทยเหนือคนในบงั คบั ของสหราชอาณาจกั รถกู ถ่ายทอดมา สปู่ ระเทศไทยและกลายเป็นรากฐานธรรมเนียมทางการคา้ ของไทยในเวลาต่อมา กำรทำสนธสิ ัญญำเบำว์ริง 10

เบ้อื งหลงั

เบอ้ื งหลัง พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจำ้ อยูห่ วั เสดจ็ ขึ้นครองรำชย์เมื่อวันท่ี 3 เมษำยน พ.ศ. 2393 มีพระรำชปณิธำน ชว่ ยเหลอื รำษฎรด้ำนควำมเป็นอยู่ โดยมพี ระรำชดำรแิ ตกตำ่ งจำกพระบำทสมเด็จพระนั่งเกลำ้ เจำ้ อยู่หวั พระเชษฐำ หลำยอยำ่ ง โดยทรงเห็นว่ำกำรเปิดใหค้ ้ำขำ้ วกับต่ำงประเทศได้อย่ำงเสรจี ะสร้ำงประโยชนแ์ ก่บำ้ นเมืองมหำศำล จะทำ ใหข้ ำ้ วรำคำสงู ขึ้น เพรำะมีควำมต้องกำรซ้อื ขำ้ วจำกตำ่ งชำติ ชำวนำกจ็ ะมเี งนิ มำกขน้ึ ขำ้ วจะกลำยเป็นสินคำ้ สง่ ออก ของไทย สร้ำงรำยได้ให้แก่รัฐบำลเช่นกัน ตลอดจนทรงเหน็ ว่ำนโยบำย \"ปิดข้ำว\" สร้ำงรำยได้ให้แก่คนสว่ นน้อย ไม่ ถกู ต้องตำมทำนองคลองธรรม \"แต่กอ่ นในหลวงห้ามปิดเขา้ [ขา้ ว] ไว้ไม่ให้เอาออกไปขายนอกประเทศ ยอมให้เอาไป แตภ่ อเปนสเบียง คนท้ังปวงที่มใิ ชช่ าวนาแลพ่อค้าเรือต่างประเทศกม็ คี วามสบาย ด้วยเข้าถูก [ขา้ วมีราคาถกู ] แต่ชาวนาไมช่ อบใจ เพราะขายเข้าได้นอ้ ย ไม่ภอกนิ ตอ้ งทงิ้ ทน่ี าไปหากินอย่างอืน่ ถงึ พ่อค้ากไ็ ม่ชอบใจ ด้วยอยากจะขายเข้าออกไปนอก ประเทศ ตอ้ งลกั ลอบเอาไป ...\" (ทั้งหมดสะกดตามตน้ ฉบบั ) กำรที่รัฐบำลไทยไม่ยอมแกไ้ ขหนงั สอื สญั ญำทำงพระรำชไมตรีและข้อตกลงเกีย่ วกบั กำรคำ้ ขำยกบั อังกฤษและ สหรัฐอเมรกิ ำ ทำใหเ้ กดิ ควำมตึงเครียดใน พ.ศ. 2393 มิชชนั นำรีทงั้ หลำยถึงกบั เกรงวำ่ จะเกดิ สงครำม ขน้ึ พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงตระหนกั ถึงอันตรำยจำกกำรท่ไี ทยไม่ยอมประนีประนอมกับชำติ ตะวนั ตก โดยทรงดูจำกจีนและพม่ำท่ตี กเป็นเมอื งข้ึนของตำ่ งชำติ[ ตลอดจนทรงตระหนกั ถงึ ควำมจำเป็นของวิทยำกำร สมัยใหมส่ ำหรบั อนำคตของชำติ จึงได้ทรงประกำศเจตนำว่ำยินดีจะทำสนธิสญั ญำฉบับใหมก่ ับอังกฤษและ สหรัฐอเมริกำ โดยบรรณำธิกำรหนังสอื พมิ พ์สิงคโปร์ฟรีเปรสไดน้ ำจดหมำยของเรเวอเรนด์ ยอนเทเลอโยนส์ ลงพิมพ์ มี ใจควำมว่ำ เบอื้ งหลงั 12

เบอ้ื งหลัง \"เจ้าฟ้ามงกุฎไดต้ รัสอย่างชัดเจน วา่ ทางการทป่ี ฏิบตั ิตอ่ คณะทูตเมื่อปกี ่อนนัน้ ทั้งหมดเปน็ ไปด้วย ความเหน็ ผิดเปน็ ชอบของคน ๆ เดยี ว และถ้าคณะทูตกลบั มาอีก ก็คงจะไดร้ ับความต้อนรบั โดยเมตตา ไมต่ ้อง ระแวงว่าความประสงค์อนั สาคัญย่งิ ของคณะทตู จะไม่สาเร็จดังปรารถนา...“ สนธสิ ัญญำเบำว์ริงน้มี เี น้อื หำคล้ำยกบั สนธสิ ัญญำนำนกิงซึ่งจีนลงนำมรว่ มกับองั กฤษภำยหลงั สงครำมฝ่นิ ครั้ง ทหี่ นง่ึ ใน พ.ศ. 2385 และก่อนหน้ำสนธิสญั ญำเบำว์รงิ เพียงหนงึ่ ปี (พ.ศ. 2397) สหรฐั อเมรกิ ำกบ็ ังคบั ให้ญีป่ ุ่นเปิด ประเทศดว้ ยกำรลงนำมในสนธสิ ญั ญำคำนำงำวะโดยใช้สนธิสญั ญำนำนกงิ เป็นต้นแบบ สนธสิ ัญญำเบำว์รงิ ถกู เรยี กวำ่ เป็น \"สนธิสัญญำทีไ่ มเ่ ปน็ ธรรม\" หรอื \"สนธิสัญญำท่เี สียเปรยี บ\" เนือ่ งจำกสยำมไม่อยู่ในตำแหน่งท่จี ะเจรจำได้ โดยเฉพำะอยำ่ งยิ่ง ควำมเกรงกลวั ในแสงยำนุภำพทำงทหำรขององั กฤษในสงครำมฝ่นิ ครั้งท่ีหน่ึง ซงึ่ ไดท้ ำให้รสู้ กึ ท้อถอย ทีจ่ ะป้องกันมใิ หม้ กี ำรค้ำกับชำติตะวนั ตก โกวิท วงศ์สุรวฒั น์ ระบวุ ำ่ ควำมต้องกำรสำคญั ของอังกฤษก็คือกำรเข้ำมำคำ้ ฝิน่ ไดอ้ ย่ำงเสรีในสยำมและไม่ตอ้ งเสียภำษี และองั กฤษพรอ้ มทำสงครำมกบั สยำมอยแู่ ลว้ หำกกำรเจรจำไม่ประสบผล เบื้องหลงั 13

การเจรจา

กำรเจรจำ เมอื่ ทรำบว่ำพระมหำกษตั ริยไ์ ทยพระองค์ใหมท่ รงแสดงควำมต้องกำรจะทำสนธสิ ญั ญำดว้ ย รฐั บำลอังกฤษก็ ไดส้ ่งจอหน์ เบำว์ริงเขำ้ มำทำสนธสิ ญั ญำฉบบั ใหม่ใน พ.ศ. 2398 โดยปฏบิ ัตติ ำมขนบธรรมเนยี มไทย ใหท้ ตู เชิญพระรำช สำส์นสมเด็จพระนำงเจำ้ วกิ ตอเรยี เข้ำมำถวำยพระเจ้ำแผน่ ดนิ ไทย จงึ ได้รบั กำรต้อนรบั ดีกว่ำทูตตะวันตกที่ผ่ำนมำ ทัง้ หมด จอห์น เบำวร์ ิง อยใู่ นกรงุ สยำม 1 เดอื น และใช้เวลำประมำณ 1 สปั ดำหเ์ จรจำกับ “ผูส้ ำเร็จรำชกำรฝ่ำย สยำม” 5 พระองค์และคน คือ - สมเดจ็ เจำ้ พระยำบรมมหำประยรุ วงศ์ (สมเดจ็ เจ้ำพระยำองคใ์ หญ่) ผู้สำเรจ็ รำชกำรท่วั พระรำชอำณำจักร ประธำน ผูแ้ ทนรัฐบำล - พระเจำ้ น้องยำเธอ กรมหลวงวงศำธริ ำชสนิท หวั หน้ำคณะผแู้ ทนไทยที่เข้ำรว่ มเจรจำกับคณะทตู องั กฤษ - สมเดจ็ เจ้ำพระยำบรมมหำพไิ ชยญำติ (สมเดจ็ เจำ้ พระยำองคน์ อ้ ย) ผสู้ ำเร็จรำชกำรพระนคร - เจำ้ พระยำศรสี รุ ิยวงศ์ (ชว่ ง บนุ นำค) รกั ษำกำรในตำแหนง่ สมหุ พระกระลำโหม บังคับบญั ชำหวั เมอื งชำยทะเลปำก ใต้ฝำ่ ยตะวนั ตก - เจ้ำพระยำรวิวงศ์ พระคลงั และสำเรจ็ รำชกำรกรมทำ่ บังคบั บัญชำหัวเมอื งฝำ่ ยตะวันออก กำรเจรจำ 15

กำรเจรจำ จอห์น เบำวร์ ิงกลำ่ วยกยอ่ งผ้แู ทนรฐั บำลไทยสองท่ำน ว่ำมีควำมเห็นสอดคล้องกับตน ได้แก่ เจ้ำพระยำศรีสุริ ยวงศ์ (ชว่ ง) และพระเจำ้ นอ้ งยำเธอ กรมหลวงวงษำธริ ำชสนิท สำหรบั เจำ้ พระยำศรีสรุ ยิ วงศ์นัน้ ไดต้ ำหนิระบบผูกขำด และกำรทจุ ริตของชนชั้นสงู อยำ่ งรุนแรง และออกปำกจะช่วยทูตอังกฤษในกำรแก้ไขสนธสิ ญั ญำ ถงึ กับทำใหเ้ บำวร์ งิ สงสยั วำ่ จะพดู ไม่จรงิ แต่สดุ ทำ้ ยกย็ อมรับวำ่ เปน็ คนพดู จริงทำจรงิ และไดส้ รรเสริญว่ำเป็นบคุ คลทฉี่ ลำดยิง่ กวำ่ คนอ่ืนที่ พบปะมำแล้ว ส่วนอีกด้ำนหนงึ่ เบำว์รงิ ได้ตำหนสิ มเดจ็ เจ้ำพระยำบรมมหำประยุรวงศ์และสมเดจ็ เจำ้ พระยำบรมมหำพิไชย ญำติ ผู้มคี วำมคิดในกำรคำ้ ผกู ขำด และคดั ค้ำนข้อเสนอของทูตอังกฤษอยูเ่ สมอ เบำวร์ งิ เห็นว่ำ ทง้ั สองคนนเี้ องที่ทำให้ กำรเจรจำขอแก้ไขหนงั สอื สัญญำทำงพระรำชไมตรีในช่วงปลำยรชั กำลที่ 3 ไมป่ ระสบควำมสำเร็จ กำรเจรจำ 16

สาระสาศญั

สำระสำคญั สรปุ สำระสำคญั ของสนธิสัญญำเบำว์รงิ มีดงั น้ี 1. คนในบงั คบั อังกฤษจะอยู่ภำยใตอ้ ำนำจควบคุมของกงสุลอังกฤษ นบั เป็นคร้ังแรกทสี่ ยำมมอบสทิ ธิสภำพนอกอำณำ เขตแก่ประชำกรตำ่ งดำ้ ว 2. คนในบงั คบั อังกฤษได้รบั สทิ ธใิ นกำรค้ำขำยอย่ำงเสรใี นเมืองทำ่ ทกุ แห่งของสยำม และสำมำรถพำนกั อำศยั อยใู่ น กรุงเทพมหำนครเป็นกำรถำวรได้ ภำยในอำณำเขตสไ่ี มล์ (สองร้อยเสน้ ) แตไ่ มเ่ กินกำลังเรอื แจวเดินทำงในย่ีสิบสช่ี วั่ โมง จำกกำแพงพระนคร คนในบังคบั อังกฤษสำมำรถซอื้ หรอื เชำ่ อสังหำริมทรพั ยใ์ นบรเิ วณดังกลำ่ วได้ คนในบังคับองั กฤษยงั ไดร้ ับอนญุ ำตให้เดินทำงไดอ้ ย่ำงเสรีในสยำมโดยมีหนงั สือทีไ่ ดร้ บั กำรรบั รองจำกกงสลุ 3. ยกเลิกค่ำธรรมเนียมปำกเรอื และกำหนดอตั รำภำษขี ำเขำ้ และขำออกชัดเจน 3.1 อตั รำภำษีขำเขำ้ ของสนิ คำ้ ทกุ ชนดิ กำหนดไวท้ ร่ี อ้ ยละ 3 ยกเวน้ ฝิ่นทไี่ มต่ อ้ งเสียภำษี แตต่ ้องขำยให้กบั เจ้ำ ภำษี ส่วนเงนิ ทองและข้ำวของเครือ่ งใชข้ องพ่อค้ำไม่ต้องเสยี ภำษเี ชน่ กัน 3.2 สนิ คำ้ ส่งออกใหม้ ีกำรเก็บภำษชี น้ั เดียว โดยเลอื กวำ่ จะเก็บภำษีชัน้ ใน (จงั กอบ ภำษปี ่ำ ภำษีปำกเรือ) หรอื ภำษีสง่ ออก 4. พ่อคำ้ อังกฤษไดร้ ับอนุญำตให้ซื้อขำยโดยตรงไดก้ ับเอกชนสยำมโดยไมม่ ผี ใู้ ดผ้หู น่ึงขดั ขวำง 5. รัฐบำลสยำมสงวนสิทธใิ์ นกำรห้ำมส่งออกขำ้ ว เกลอื และปลำ เมือ่ สินค้ำดังกลำ่ วมีทที ่ำว่ำจะขำดแคลนในประเทศ สำระสำคัญ 18

หนงั สือพ่วงท้ำย นอกจำกหนงั สือสัญญำทำงพระรำชไมตรแี ล้ว ยังมีหนงั สอื พ่วงท้ำยอกี สองฉบับ โดยเปน็ ขอ้ กำหนดที่พอ่ ค้ำ องั กฤษจะตอ้ งปฏิบตั ิ กบั พิกัดภำษี โดยแบ่งสนิ ค้ำออกเป็นสองประเภท คือ ประเภททีเ่ สียภำษีเฉพำะเมื่อบรรทกุ ลงเรอื และประเภททเ่ี สียเฉพำะภำษชี น้ั ใน โดยตวั อย่ำงพิกดั ภำษี หนังสอื พว่ งทำ้ ย 19

ประเดน็ ด้ำนกำรเก็บภำษขี ำเข้ำ ตำมสนธสิ ัญญำเบำว์รงิ ไทยได้รับเงื่อนไขใหเ้ ก็บภำษขี ำเขำ้ ได้เพยี งร้อยละ 3 เทำ่ นัน้ ซึ่งยงั เสียเปรียบกวำ่ จีน และญี่ปุ่นที่ถกู บงั คบั ให้เก็บภำษีขำเข้ำร้อยละ 5 โดยตำมหนังสอื สัญญำทำงพระรำชไมตรีระหว่ำงองั กฤษกับญี่ปุ่น พ.ศ. 2400 อังกฤษยงั ยอมให้สินค้ำบำงชนดิ เก็บอัตรำภำษีขำเข้ำสงู กว่ำร้อยละ 5 โดยบำงชนิดสูงถงึ รอ้ ยละ 35 ก็มี[ สว่ น หนงั สือสญั ญำทำงพระรำชไมตรฉี บับกอ่ นหนำ้ นั้น ทัง้ ทที่ ำกับองั กฤษและสหรฐั อเมรกิ ำ ตำ่ งกไ็ มไ่ ดก้ ล่ำวถึงเร่ืองภำษขี ำ เข้ำแต่อยำ่ งใด จนกระทง่ั ต่อมำ ในปี พ.ศ. 2409 ชำตติ ะวันตกหลำยประเทศ ไดแ้ ก่ อังกฤษ ฝร่ังเศส สหรฐั อเมริกำและ เนเธอรแ์ ลนด์จึงได้รว่ มกนั บบี บงั คบั ใหญ้ ีป่ ุ่นเกบ็ อัตรำภำษีขำเขำ้ ส่วนใหญ่เหลือเพยี งรอ้ ยละ 5 ใน พ.ศ. 2398 เจำ้ พระยำพระคลงั ไดข้ อดหู นงั สือสัญญำระหวำ่ งญีป่ ุน่ กับสหรฐั อเมรกิ ำกบั เทำเซนด์ แฮริส ทตู อเมริกนั ทีเ่ ข้ำมำขอทำหนังสอื สญั ญำทำงพระรำชไมตรี แตแ่ ฮริสไม่ตอ้ งกำรใหเ้ ห็น จึงได้บ่ำยเบีย่ งวำ่ ไมไ่ ดน้ ำหนงั สือ ตดิ ตวั มำด้วย จึงทำให้เมอ่ื เปรียบเทยี บกันแลว้ ไทยยังเสยี เปรยี บประเทศเอเชียอื่นทีถ่ ูกบบี บังคบั ให้ทำสนธสิ ญั ญำใน ลกั ษณะเดยี วกนั เดมิ กอ่ นหนำ้ สนธิสญั ญำเบำวร์ งิ ไทยเคยเก็บภำษีขำเข้ำจำกพ่อค้ำฝรงั่ ถึงรอ้ ยละ 8 ประเด็นด้ำนกำรเกบ็ ภำษขี ำเขำ้ 20

กำรทำขอ้ ไขสญั ญำ เมอ่ื ทูตอังกฤษเดนิ ทำงนำหนังสือสัญญำกลับไปยังรัฐบำลอังกฤษใหล้ งหนังสือรบั รอง รัฐบำลอังกฤษเหน็ วำ่ ข้อควำมบำงตอนในหนังสอื สญั ญำคลุมเครือ จึงให้แฮริปำกส์ ผู้ถอื หนังสอื สัญญำแทนเบำว์ริงกลับไปยังลอนดอน มำทำ ข้อไขสัญญำอีกฉบบั หนง่ึ อธิบำยควำมท่ยี ังคลุมเครอื อยู่ ทำงรัฐบำลสยำมก็ต้องกำรให้กำรทำหนังสอื สัญญำกบั อังกฤษ เปน็ ไปด้วยดี กผ็ ่อนปรนตำมคำขอของแฮริปำกส์ ในสว่ นนี้สยำมได้อำกรสวนผลไมเ้ พ่ิมข้นึ กำรทำข้อไขสัญญำ 21

ผลทีต่ ามมา

ผลทีต่ ำมมำ ฝำ่ ยอังกฤษประสบควำมสำเรจ็ อยำ่ งมำกในกำรทำสนธิสญั ญำเบำว์ริง โดยรัฐบำลสยำมยอมให้อังกฤษเขำ้ มำต้งั กงสลุ มีอำนำจพจิ ำรณำคดีที่คนอังกฤษมีคดคี วำมกัน และร่วมพจิ ำรณำคดที คี่ นไทยกบั อังกฤษมีคดคี วำมกนั ข้ำว เกลือ และปลำไม่เป็นสินค้ำตอ้ งห้ำมอกี ต่อไป นอกจำกนี้ ยงั เปน็ กำรรับเอำวิทยำกำรตะวันตกสมัยใหมเ่ ข้ำสู่ประเทศ ซึ่งทำให้ ชำวต่ำงประเทศยอมรับมำกขึน้ ผลทต่ี ำมมำ 23

ผลกระทบต่อประเทศไทย 1. รำยได้ของประเทศลดลง เนื่องจำกหลังกำรทำสญั ญำ ไทยต้องเปิดเสรที ำงกำรค้ำทำให้ไทยตอ้ งยกเลิกระบบ กำรคำ้ ผกู ขำดของพระคลงั สินค้ำ ส่งผลให้รัฐบำลไทยมีรำยได้ลดลง ทำใหร้ ชั กำลที่ 4 ต้องทรงพยำยำมหำรำยไดจ้ ำก ทำงอ่ืน ตัง้ แต่ กำรเพมิ่ จำนวนประเภทภำษจี ำกเดิมทีเ่ กบ็ ในรัชกำลท่ี 3 กำรให้เจ้ำภำษนี ำยอำกรผูกขำดกำรจับเกบ็ ภำษี มำกข้ึน และกำร จัดระบบแสวงหำผลประโยชนจ์ ำกทรพั ย์สนิ ของแผ่นดนิ นอกจำกน้ี กำรจำกัดอัตรำภำษีขำเข้ำตำยตัว ยังทำให้ สินคำ้ ตำ่ งชำตเิ ขำ้ มำตีตลำดสินคำ้ ภำยใน เชน่ น้ำตำล และผำ้ ทอพืน้ เมอื ง ทำให้กำรผลิตภำคอตุ สำหกรรม พ้นื บำ้ นของไทย ซ่ึงใช้เทคนคิ กำรผลติ ทไี่ มม่ ีประสทิ ธภิ ำพต้องซบเซำลง และถูกแทนท่ดี ว้ ยสนิ คำ้ นำเข้ำท่ีทำดว้ ย เคร่อื งจักรท่มี ีรำคำถกู กว่ำ 2. กำรเปลีย่ นแปลงโครงสร้ำงกำรผลติ กำรทำสนธิสัญญำเบำว์รงิ ทำใหไ้ ทยไดเ้ ปลีย่ นจำกกำรผลิตเพ่อื กำรยังชพี กลำ่ วคอื แต่ละครัวเรอื นหรอื หมบู่ ้ำนต่ำงกท็ ำกำรผลติ ทำงกำรเกษตรเปน็ อำชพี หลกั และอตุ สำหกรรมในครัวเรือนเป็น อำชพี รองเพือ่ กำรบรโิ ภคและกำรใชส้ อย สว่ นที่เหลอื เลก็ ๆ น้อยๆ ก็จะนำไปแลกเปลยี่ นภำยในหมบู่ ้ำนหรือระหว่ำง หมู่บำ้ นใกลเ้ คียงกัน ลกั ษณะกำรแลกเปล่ียนสนิ คำ้ ต่อสนิ คำ้ มำเปน็ กำรผลิตเพือ่ กำรคำ้ กำรเปล่ียนแปลงดังกลำ่ วทำให้ ข้ำวกลำยเป็นพชื เศรษฐกจิ ทมี่ ีควำมสำคัญอยำ่ งยิง่ รฐั บำลเองก็ใหก้ ำรสนับสนุนกำรส่งขำ้ วไปขำย พร้อมกบั กำรสง่ เสริม กำรเปดิ ทน่ี ำใหม่โดยไม่ต้องเกบ็ ภำษีค่ำนำปีแรก ลดอำกรค่ำนำ และผอ่ นผนั ใหไ้ พร่กลับไปทำนำในช่วงเวลำรับรำชกำร ได้ มกี ำรขดุ คลองซ่งึ ใหป้ ระโยชนใ์ นด้ำนกำรเพำะปลูกและกำรคมนำคม กำรทีท่ ำงกำรให้กำรสนบั สนุนและกำรท่ีขำ้ วมี รำคำสงู ขน้ึ ทำใหร้ ำษฎรหันมำทำนำเพอ่ื กำรค้ำกนั มำกขึ้น อยำ่ งไรกต็ ำมคนไทยจะมบี ทบำทเฉพำะกำรปลูกข้ำว เท่ำนั้น สว่ นกำรแปรรูปขำ้ วเปลอื กและกำรค้ำข้ำวตกอยู่ในมือพอ่ คำ้ คนกลำง คือชำวจีนทีอ่ พยพเขำ้ มำน่ันเอง นอกจำก ข้ำวแลว้ ยงั มีสินคำ้ อกี สองอยำ่ ง คือ ดบี กุ กบั ไม้สัก ซึง่ มคี วำมสำคัญขนึ้ มำแทนทน่ี ้ำตำลทีเ่ คยมีควำมสำคญั ในสมยั รัชกำลที่ 3 อีกดว้ ย 3. เศรษฐกิจไทยเขำ้ สู่ระบบทุนนิยมโลก กำรทำสนธสิ ัญญำเบำวร์ ิงเปน็ กำรนำเศรษฐกจิ ไทยเขำ้ สูร่ ะบบทุนนิยม โลก ประเทศไทยเริม่ ผกู ผนวกให้เข้ำไปอยู่ในกระบวนกำรขยำยตวั ของระบบเศรษฐกจิ โลก โดยประเทศไทยทำหนำ้ ท่ี ผลติ สินค้ำขั้นปฐมภูมแิ ละวัตถุดิบ เพ่ือส่งออกแลกเปล่ยี นกับสินคำ้ สำเร็จรปู ทีน่ ำเขำ้ มำบรโิ ภคในประเทศ 4. เกิดระบบเศรษฐกจิ แบบเงินตรำ เนือ่ งจำกเงินตรำเดิมทใี่ ชอ้ ยู่ คือ เบี้ยและเงินพดด้วงเริม่ ขำดแคลน อกี ทง้ั ยัง เกดิ กำรแตกหกั และปลอมแปลงได้งำ่ ย รัชกำลท่ี 4 จงึ ตงั้ โรงกษำปณเ์ พือ่ ผลติ เงินเหรยี ญชนิดและรำคำตำ่ งๆ ไดแ้ ก่ เหรียญดีบุกทเ่ี รียกวำ่ อฐั โสฬส เหรยี ญทองเรยี ก ทศ พศิ พัดดงึ ส์ และเหรียญทองแดงคอื ซีก หรอื เซยี่ ว(เสีย้ ว) ใน สมัยรัชกำลที่ 5 ได้มีกำรเปลย่ี นแปลงเงนิ ตรำทีใ่ ชเ้ งนิ เปน็ มำตรฐำนไปสู่กำรใช้ทองคำเปน็ มำตรฐำน รชั กำลที่ 5 ทรง ประกำศพระรำชบญั ญตั ทิ องคำกำหนดอัตรำแลกเปล่ียน เพ่ือใหก้ ำรแลกเปล่ียนระหวำ่ งเงินบำทไทยกบั เงนิ ตรำสกลุ อื่นๆ มคี วำมสะดวกและมเี สถียรภำพ อกี ทั้งเพอื่ กำรแก้ปญั หำคำ่ เงนิ บำททีก่ ำลงั ตกตำ่ ลง เนื่องมำจำกกำรทรี่ ำคำของ แรเ่ งินตกตำ่ ซ่ึงนบั เป็นจุดเริ่มต้นท่ไี ทยนำค่ำของเงินตรำไปเกยี่ วพันกับโลกภำยนอก ผลกระทบต่อประเทศไทย 24

ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย 5. กำรปฏริ ูประบบภำษีอำกรและกำรคลงั รัชกำลที่ 4 ทรงแกป้ ัญหำกำรที่รำยไดข้ องรฐั ลดลงหลงั กำรทำ สนธสิ ญั ญำเบำวร์ ิง ดว้ ยกำรเพม่ิ ชนดิ ของภำษีอำกรอกี หลำยชนดิ โดยผ่ำนระบบเจ้ำภำษีนำยอำกร แต่อยำ่ งไรกต็ ำม วิธีน้ีก็มีขอ้ บกพร่องอยำ่ งมำก เชน่ รำยไดข้ องหลวงรว่ั ไหล เงนิ ท่ีทำงรำชกำรเก็บไดก้ ็ลดนอ้ ยลงทุกที รชั กำลที่ 5 ทรงเห็นว่ำกำรเก็บภำษีแบบเดิม ทแี่ ต่ละหนว่ ยงำนแยกกันเกบ็ แล้วสง่ มำใหส้ ว่ นกลำง ทำใหเ้ งนิ ภำษรี ั่วไหลมำก จงึ ทรงปฏิรปู ระบบภำษีอำกรและกำรคลงั ใหม่ โดยจดั ตั้งหอรษั ฎำกรพพิ ฒั นข์ นึ้ เมอ่ื วนั ที่ 4 มถิ ุนำยน พุทธศักรำช 2416 เพื่อเป็นสถำนท่ีรวบรวมพระรำชทรพั ยใ์ นท้องพระคลังใหร้ จู้ ำนวนเงนิ ที่มีอยู่ ทำหน้ำท่รี วบรวมเงินภำษีอำกรจำกทว่ั ประเทศใหม้ ำอยู่ทเ่ี ดียวกนั เพ่อื นำเงินภำษีมำพัฒนำประเทศ ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย 25

กำรทำหนังสอื สัญญำทำงไมตรกี บั ประเทศอนื่ เมอ่ื สยำมได้ทำสนธิสัญญำกบั อังกฤษแล้ว ก็ต้องกำรจะทำหนงั สอื สญั ญำแบบเดียวกนั กบั ประเทศอ่ืนต่อไป เพื่อให้มีกำรแข่งขนั ทำงกำรคำ้ และเป็นโอกำสให้ของในสยำมมีรำคำสงู ข้นึ และสนิ ค้ำตำ่ งประเทศมีรำคำตำ่ ในกำรณ์นี้ รฐั บำลสยำมจงึ แตง่ ต้งั ใหจ้ อห์น เบำวร์ งิ เป็นพระยำสยำมำนกุ ูลกจิ สยำมมติ รมหำยศ คอยทำหนงั สือสญั ญำตำ่ ง ๆ แทน โดยประเทศที่ทำหนงั สือสัญญำกับไทยในเวลำต่อมำ มดี ังน้ี ประเทศทีท่ ำสัญญำโดยสง่ ทตู มำยังกรงุ เทพมหำนคร ได้แก่ และทีท่ ำสัญญำโดยผำ่ นทำงพระยำสยมำนกุ ูลกิจสยำมมิตรมหำยศ ได้แก่ กำรทำหนงั สือสญั ญำทำงไมตรกี บั ประเทศอืน่ 26

กำรเลกิ ค้ำขำยกบั จนี ในชว่ งต้นรัชกำลที่ 4 ได้มกี ำรสง่ เครอื่ งรำชบรรณำกำรไปถวำยจกั รพรรดิจีนตำมประเพณี แต่ตอนคณะทูต กำลังเดินทำงกลบั จำกปกั กิ่งไดถ้ กู โจรผู้ร้ำยปลน้ เอำทรพั ยส์ นิ ไปกลำงทำง \"ต้ังแต่น้ันมำ ทีก่ รงุ ก็มไิ ดแ้ ต่งทูตออกไป จ้ิมกอ้ งจนทกุ วนั นี้ จนถงึ พ.ศ. 2403 ก็ปรำกฏหลกั ฐำนวำ่ สยำมมิไดแ้ ต่งสำเภำไปค้ำขำยกับจนี อีก หลังกำรทำสนธสิ ญั ญำเบำว์รงิ พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ทรงดำริว่ำกำรทสี่ ยำมส่งเคร่อื งรำช บรรณำกำรไปถวำยจนี นัน้ อำจทำใหฝ้ รัง่ สน้ิ ควำมนับถอื ในเอกรำชของสยำม จงึ ทรงไดย้ กเลิกประเพณีกำรสง่ เครื่องรำช บรรณำกำรไปถวำยจีนอย่ำงเด็ดขำด นับเป็นกำรตดั ไมตรที ี่มมี ำกบั จนี ตั้งแต่สมัยโบรำณทพ่ี ระเจ้ำแผ่นดินรชั กำลกอ่ น ๆ ทรงพยำยำมรกั ษำมำโดยตลอด กำรเลกิ ค้ำขำยกับจนี 27

กำรทำเงินแป เพยี งปีเดียวหลังจำกสนธิสญั ญำเบำว์ริง มีเรือตำ่ งประเทศเข้ำมำค้ำขำยยงั กรงุ เทพมหำนครเปน็ 103 ลำ และแตง่ เรอื ออกไปค้ำขำยกับต่ำงประเทศถึง 37 ลำ ทำใหม้ ีเงินเหรียญแพร่สะพดั ในสยำมเป็นจำนวนมำก แต่รำษฎร สยำมท่ีอำศัยอยู่ในกรุงเทพมหำนครไมม่ ใี ครรบั เพรำะไม่เคยใช้มำก่อน ตอ้ งใหช้ ำ่ งในคลงั มหำสมบตั ิทำเงินตรำ แมจ้ ะ ทำไปได้ถึงกว่ำ 250,000 เหรยี ญแลว้ กย็ ังใช้ไมท่ ันกำล พ่อค้ำตำ่ งชำตกิ ็ขอใหท้ ำงกำรประกำศให้ใชเ้ งนิ เหรยี ญ รัฐบำล จึงให้เงนิ ตรำสบิ ช่งั เป็นเงนิ เหรียญ 480 เหรียญ แตค่ รน้ั ประกำศให้รำษฎรรบั เงนิ เหรยี ญไปใช้แทนเงินพดด้วง รำษฎรก็ ไม่รับไป ต้องออกพระรำชบญั ญัติให้รับเงินเหรยี ญนอกไว้ แต่เมื่อเงินเหรียญใชก้ นั แพร่หลำย รำษฎรกน็ ำเงนิ บำทไปซกุ ซ่อนไว้ และจ่ำยภำษีดว้ ยเงนิ เหรยี ญ ทำใหเ้ งนิ บำทขำดแคลน ในปี พ.ศ. 2399 และ พ.ศ. 2400 เกิดควำมติดขดั ด้ำนกำรคำ้ ขำย ครน้ั พอสยำมจะส่งรำชทูตไปเจริญ พระรำชไมตรีกบั ต่ำงประเทศกใ็ หท้ ูตซอ้ื เคร่ืองจักรทำเงินเหรยี ญกลับมำดว้ ย พอมำตดิ ต้งั ทีก่ รุงเทพมหำนครได้แลว้ เรียกเงนิ ตรำแบบเงนิ เหรยี ญว่ำเงินแป พอผลติ ออกมำไดแ้ ล้วก็พบวำ่ รำษฎรนยิ มใช้กัน ปญั หำด้ำนกำรคำ้ จึงหมดไป กำรทำเงนิ แป 28

ควำมเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกจิ กำรแลกผกู ขำดกำรคำ้ ของรฐั บำลทำใหเ้ กดิ กำรเปล่ยี นแปลงดำ้ นเศรษฐกจิ ท่สี ำคัญอย่ำงหนง่ึ คือ รำษฎร สำมำรถซอื้ ขำยสินค้ำไดโ้ ดยอสิ ระ รัฐบำลไม่เข้ำมำเกย่ี วขอ้ งกบั กำรขำยสินคำ้ มคี ำ่ เชน่ ไม้ฝำง ไม้กฤษณำ หรืองำชำ้ ง อีก เพรำะรัฐบำลจะขำดทุน เจ้ำพระยำทพิ ำกรวงศ์ ผู้แตง่ พระรำชพงศำวดำร กล่ำวถงึ ควำมมงั่ คัง่ ว่ำ \"ลกู คำ้ นำนำประเทศเข้ำมำคำ้ ขำซ้ือเขำ้ ออกไปปี ๑ ก็ถึง ๓๐๐ ลำ บำงปกี ถ็ งึ ๕๐๐ ลำ รำษฎรกไ็ ดข้ ำยเขำ้ ไปแกล่ ูกคำ้ นำนำประเทศ เป็นจำนวน เข้ำออกไปปี ๑ กถ็ งึ ๘๐๐๐๐ เกวียน [...] รำษฎรก็ไดม้ ่งั มเี งนิ ทองขึ้นทุกแหง่ ทกุ ตำบล จนชั้นแตล่ ำวเป็นคนเกียจครำ้ นไม่ใคร่จะทำไร่ไถนำ [...] ทุกวนั น้ีมีเงนิ ซื้อ กนิ ไม่เหมือนแต่ก่อน\" ข้ำวได้กลำยมำเปน็ สินคำ้ ส่งออกทส่ี ำคญั ที่สดุ ของไทย เรอื ต่ำงประเทศก็จะเขำ้ มำบรรทกุ ขำ้ วและสินค้ำอนื่ ไป ขำยต่อยงั จนี ฮ่องกง และสิงคโปร์เปน็ จำนวนมำก ทง้ั ยงั ทำใหเ้ งินตรำต่ำงประเทศเข้ำสรู่ ำชสำนักเปน็ จำนวนมำก รำษฎรท่ัวบ้ำนทว่ั เมอื งกม็ ีเงนิ ตรำหมนุ เวียนอยู่ในมอื อยำ่ งทไี่ ม่เคยปรำกฏมำก่อน และเมอื่ เลิกห้ำมไม่ใหส้ ง่ ขำ้ วขำยยัง ตำ่ งประเทศ กท็ ำให้มกี ำรทำนำแพร่หลำยกว่ำแตก่ ่อน มที ี่นำใหม่เกิดข้นึ ทกุ ปี พ่อค้ำต่ำงชำติก็ขนขำ้ วออกไปปีละหลำย หมื่นเกวยี น \"รำษฎรกก็ ดรำคำเขำ้ ให้แพงอยูเ่ ป็นนติ ย์ ด้วยคดิ จะขำยเอำเงนิ ใหม้ ำก\" ทง้ั น้ี รำคำขำ้ วในสมัยรัชกำลท่ี 4 อยทู่ ่เี กวียนละ 16 ถงึ 20 บำท แพงกว่ำสมัยรชั กำลที่ 3 ซงึ่ อย่ทู เ่ี กวียนละ 3 ถึง 5 บำท กำรท่ีรำษฎรมเี งนิ มำกกวำ่ แตก่ ่อนกท็ ำใหช้ ำวนำมโี อกำสไถล่ ูกเมยี ท่ีขำยให้แกผ่ ู้อน่ื ทั้งรำคำทำสก็แพงขนึ้ กวำ่ สมัยก่อนดว้ ย โดยใน พ.ศ. 2412 หนังสือพิมพ์ฉบับหนง่ึ ว่ำ ฝร่งั ผ้หู นึ่งซื้อทำสเป็นเงนิ 350 บำท ผัวเปน็ คนขำย ฝร่งั ทเี่ ข้ำมำจ้ำงลกู จ้ำงคนไทยตำ่ งกใ็ หค้ ำ่ จำ้ งเปน็ รำยเดือนและโบนสั คดิ เป็นมลู คำ่ สูงกวำ่ ข้ำรำชกำรไทยเสีย มำก เพรำะได้รบั พระรำชทำนเงินเบยี้ หวัดประจำปอี ยำ่ งเดียว รัฐบำลจงึ ได้เพม่ิ เงินเบย้ี หวัดและค่ำแรงแก่ข้ำรำชกำร และคนงำนมำกขนึ้ จนเพ่มิ เป็นหมน่ื ชง่ั เศษในปลำยรัชกำลท่ี 4 ส่วนพระรำชบัญญัตเิ กณฑ์จ้ำงท่ีออกในรัชกำลที่ 5 ได้ กำหนดอัตรำคำ่ จำ้ งไวด้ งั นี้: ถ้ำกินอำหำรของหลวง วนั ละ 16 อัฐ ถำ้ นำอำหำรมำเอง วันละ 32 อัฐ (ยกเว้นมณฑล นครศรธี รรมรำชให้ 24 อฐั ) ซึ่งนบั ว่ำเปน็ กำรเพิม่ ค้ำแรงจำกสมยั ก่อนทง้ั หมด ตำมแนวโน้มรำคำของกินของใช้ ด้ำนพระบำทสมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจำ้ อยู่หวั ไดร้ บั แจ้งจำกทำงกงสุลว่ำฝรง่ั ในกรงุ ไมม่ ีหนทำงข่ีรถข่มี ้ำไปเท่ียว ทรงพระรำชดำรวิ ำ่ กำรตัดถนนจะเปน็ กำรทำใหบ้ ำ้ นเมอื งงดงำมขึน้ จึงทรงใหส้ รำ้ งถนน ไดแ้ ก่ ถนนหวั ลำโพง ถนน เจริญกรุง และถนนสีลม แตล่ ะเส้นกวำ้ ง 5 ศอก กบั คลองถนนตรงและคลองสีลม นอกจำกน้ียังมกี ำรสรำ้ งตกึ แถวและ สะพำนเหลก็ อกี ด้วย ในสมัยปลำยรชั กำลที่ 4 ฝร่งั ตำ่ งก็เขำ้ มำตงั้ โรงงำนในสยำมเปน็ จำนวนมำก ต้งั แต่โรงสีขำ้ ว โรงงำนน้ำตำล ทรำย อูต่ อ่ เรอื โรงเลอ่ื ยไม้ เปน็ ตน้ กำรท่สี ยำมรับเอำวทิ ยำกำรสมัยใหม่เข้ำมำใช้หลำยอย่ำงน้ที ำให้ฝร่ังเรยี กขำนว่ำ เปน็ \"เมืองไทยยุคใหม\"่ ควำมเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ 29

ควำมเปล่ยี นแปลงทำงเศรษฐกจิ ผลของสนธิสญั ญำยังเป็นกำรให้สิทธเิ สรภี ำพในกำรถือครองท่ดี ินแก่ท้ังรำษฎรไทยและชำวต่ำงประเทศ ซ่ึง แต่ก่อนรำษฎรไมค่ อ่ ยกลำ้ ใหช้ ำวตำ่ งประเทศถอื ครองท่ีดินเพรำะกลัวในหลวงจะกรวิ้ รฐั บำลไทยอยำกให้ฝร่ังเขำ้ มำตั้ง โรงงำนสมยั ใหม่ จำต้องยอมผ่อนปรนเรอื่ งกำรถือครองทดี่ นิ ให้แกฝ่ รง่ั แต่กไ็ มใ่ ชจ่ ะถือครองได้ทุกท่ี รฐั บำลแบง่ ที่ดนิ ออกเปน็ สำมเขต คอื ในพระนครและหำ่ งกำแพงพระนครออกไปสองร้อยเส้นทกุ ทิศ ยอมใหเ้ ชำ่ แต่ไม่ยอมใหซ้ ้ือ ถ้ำจะ ซื้อต้องเช่ำครบ 10 ปกี อ่ น หรอื จะตอ้ งได้รบั อนญุ ำตจำกเสนำบดี เขตทล่ี ่วงออกไป เจ้ำของท่แี ละบ้ำนมีสทิ ธิให้เช่ำหรือ ขำยกรรมสิทธิไ์ ดโ้ ดยไมม่ ีขอ้ แม้ แต่ลว่ งจำกเขตนี้ไปอีก ห้ำมมิใหฝ้ รง่ั เชำ่ หรอื ซ้อื โดยเดด็ ขำด เมอื่ รำษฎรไดร้ บั สิทธใิ น กำรถือครองกรรมสิทธิ์ทีด่ นิ รำษฎรก็มที ำงทำมำหำกินเพม่ิ ข้ึนอกี ทำงหน่ึง คอื กำรจำนองทดี่ นิ เพ่ือกเู้ งิน หรือขำยฝำก ขำยขำดทด่ี ินของตนได้ นอกจำกนี้ ยงั ปรำกฏว่ำฝรงั่ ตอ้ งกำรดีบกุ มำก เนื่องจำกมกี ำรปฏวิ ัติอตุ สำหกรรม พระบำทสมเดจ็ พระจอม เกลำ้ เจำ้ อยหู่ ัวทรงแต่งต้งั ผูว้ ่ำรำชกำรเมอื งกระ เมอื งระนองและเมืองภเู กต็ ซงึ่ เคยทำงำนขุดแรด่ ีบุกมำกอ่ น กร็ ะดม ไพรม่ ำขดุ แรด่ บี ุกอยำ่ งเต็มท่ี จึงผลติ ดบี ุกได้มำกขึน้ กว่ำแต่ก่อน รัฐบำลก็พลอยได้ผลประโยชนไ์ ปด้วย ใน พ.ศ. 2410 รัฐบำลมีรำยได้ปลี ะ 3,200,000 บำท ซึ่งยังถอื ว่ำนอ้ ยกว่ำรำยไดท้ ่ีควรจะเปน็ อย่มู ำก ทำให้ พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกลำ้ เจำ้ อยู่หัวจำต้องปฏริ ูปกำรปกครองแผน่ ดนิ และกำรคลัง เพ่ือมิให้เงินแผ่นดินร่วั ไหลไปสู่ มอื ขำ้ รำชกำร ควำมเปลย่ี นแปลงทำงเศรษฐกจิ 30

ปั ญหาทีเ่ กดิ ข้นั

ปญั หำทเ่ี กิดข้นึ ตำมมำหลงั กำรใช้ “สัญญำเบำร่งิ ” ในสยำม หนงั สือสญั ญำทำงพระรำชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยำม หรือทเ่ี รียกกนั ทัว่ ไปวำ่ “สญั ญำเบำริ่ง” สญั ญำทรี่ ำชอำณำจักรสยำมทำกับสหรำชอำณำจักร ลงนำมเมื่อ 18 เมษำยน พ.ศ. 2398 ตรงกบั สมัยรชั กำลท่ี 4 โดย มีสำระสำคัญคือกำรเปิดกำรคำ้ เสรกี บั ตำ่ งประเทศในสยำม สำระสำคัญของสญั ญำน้ี คือ กำรกำหนดใหส้ ยำมตอ้ งเปิดเสรที ำงกำรคำ้ , กำหนดให้สยำมหำ้ มเกบ็ ภำษีซ้ำซอ้ นและ เก็บภำษีไมเ่ กินร้อยละ 3 และตอ้ งยอมรบั กำรบงั คบั ใชก้ ฎหมำยของอังกฤษแกบ่ ุคคลใต้บังคับ (องั กฤษ) ทอ่ี ยู่ในสยำม ที่เรียกวำ่ “สิทธิสภำพนอกอำณำเขต” หลังกำรใชส้ ัญญำเบำรงิ่ เกิดกำรขยำยตัวทำงกำรค้ำกับตำ่ งประเทศ กรุงเทพฯ กลำยเป็นศูนยก์ ลำงกำรคำ้ ต่ำงประเทศของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ และทะเลจีนใต้ สนิ ค้ำจำกท่ตี ่ำงๆ เช่น มลำยู อินเดยี เขมร ฯลฯ ส่งมำ รวมกันที่กรงุ เทพฯ เพื่อจะรอกำรส่งออกไปยังประเทศจีนและญป่ี นุ่ ขณะเดยี วกนั สนิ ค้ำจำกจนี และญ่ีปนุ่ กส็ ่งมำยงั กรงุ เทพฯ กอ่ นทีจ่ ะสง่ ตอ่ ไปยังประเทศอ่ืนๆ และสนิ ค้ำจำกสยำมทเ่ี ดมิ เคยสง่ ไปเฉพำะประเทศในแถบเอเชีย ก็ขยำย กำรสง่ ออกไปสยู่ ุโรป และออสเตรเลยี น่นั ทำให้สยำมถกู ดงึ เขำ้ สู่ “วงจรกำรผลติ ในลกั ษณะอำณำนิคม” กำรผลติ ภำยในประเทศ และกำรสง่ ออกสินค้ำ สยำมกลำยเป็นประเทศผู้ผลติ วัตถดุ บิ เพียงไมก่ ่อี ย่ำง เพอื่ สนองตอบควำมตอ้ งกำรของประเทศมหำอำนำจ เชน่ ผลติ ขำ้ วสำหรับเลี้ยงแรงงำนในแถบเอเชียอำคเนยแ์ ละ ประเทศจีน, ไมส้ ักสำหรับกำรก่อสร้ำงทำงรถไฟในอนิ เดยี และกำรทำเฟอร์นิเจอร์ในยโุ รป, ดีบุกสำหรับอุตสำหกรรม ผลิตดีบกุ แผน่ ในยุโรปและอเมริกำ พร้อมกบั กันกำรเป็น “ตลำดรองรับสนิ ค้ำ” สนิ ค้ำนำเข้ำรำคำถูก เช่น ผำ้ ฝ้ำยและ นำ้ ตำล จำกประเทศต่ำงๆ ในอำณำนคิ มของชำติมหำอำนำจ ทท่ี ำให้เกดิ ผลกระทบกับกำรผลิตภำยในสยำม ทง้ั ทำใหป้ ัญหำตำ่ งๆ ตำมมำ เช่น เกดิ กำรเปลี่ยนแปลงไปโครงสรำ้ งกำรผลิตในประเทศ จำกกำรแบง่ งำนที่ ชดั เจนยง่ิ ข้ึนระหวำ่ งแรงงำนไทยและแรงงำนต่ำงชำติ แรงงำนไทยมุ่งไปในกำรผลิตขำ้ วเพื่อกำรสง่ ออกเกือบทั้งหมด ระบบกำรเกณฑ์แรงงำนเพอ่ื กำรทำงำนใหร้ ำชกำรกเ็ ปล่ยี นไปเป็นกำรเก็บเปน็ เงินแทนมำกข้นึ ทำงรำชกำรใช้เงนิ ส่วน น้จี ้ำงแรงงำนอพยพทีม่ ำจำกประเทศจนี เพ่ือทำงำนโยธำมำกข้นึ นอกจำกนี้กำรทีช่ ำวนำหนั มำปลกู ข้ำวเพือ่ คำ้ ขำยกบั ต่ำงประเทศอยำ่ งเดยี ว ทำให้บำงปปี ระเทศต้อง ประสบปญั หำขำดแคลนข้ำวสำหรับกำรบริโภคภำยในประเทศ จนรชั กำลท่ี 4 ทรงออกประกำศเตือนประชำชนใหร้ ีบ ซ้ือข้ำวกอ่ นท่ีข้ำวจะขำดตลำด เพรำะพอ่ ค้ำชำวตำ่ งชำติจะมำกวำ้ นซ้อื กันไปจนหมด หรอื ปญั หำเงนิ ปลอม ทเี่ กิดขึ้นจำกกำรค้ำทขี่ ยำยตวั อยำ่ งรวดเรว็ ทำให้เกดิ กำรหมุนเวยี นของเงนิ ตรำมำก ขนึ้ ขณะทีร่ ัฐบำลไม่สำมำรถผลติ เงนิ ขน้ึ มำเพียงพอต่อควำมตอ้ งกำรของตลำด เมอื่ เงินขำดแคลนทำใหเ้ กิดกำรทำเงนิ ปลอมระบำดไปท่ัวพระนคร ซึง่ ในสมยั รัชกำลที่ 4 ทำงกำรต้องออกประกำศเกย่ี วกบั เงนิ ปลอมหลำยครงั้ ดว้ ยกนั ปญั หำทเี่ กิดขึ้นตำมมำหลังกำรใช้ “สญั ญำเบำร่งิ ” ในสยำม 32

ปญั หำท่เี กดิ ข้ึนตำมมำหลงั กำรใช้ “สญั ญำเบำรง่ิ ” ในสยำม สดุ ท้ำย สัญญำเบำริ่งทำใหก้ ำรผกู ขำดสินคำ้ ของรฐั บำลสยำมสิ้นสดุ ลง รัฐจึงหนั มำเน้นหำรำยได้จำกภำษี อำกรจำกรำษฎรในประเทศมำกข้ึน โดยยงั คงใหเ้ อกชนประมลู ผกู ขำดจดั เกบ็ ภำษสี ่งรัฐต่อไป กิจกำรผกู ขำดภำษฝี นุ่ อำกรสรุ ำ บ่อนเบีย้ และหวย ทว่ำก็ตอ้ งยอมรบั วำ่ ส่วนหนง่ึ ของปัญหำเกิดจำกกำรรับมือกำรเปลย่ี นแปลงไม่ทันกำรณ์ของรฐั สยำม ปญั หำทเ่ี กดิ ขึ้นตำมมำหลังกำรใช้ “สัญญำเบำร่งิ ” ในสยำม 33

การยกเลกิ

กำรยกเลกิ ในรชั สมยั พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ได้มคี วำมพยำยำมเจรจำเพอื่ ยกเลิกสทิ ธสิ ภำพนอก อำณำเขตของคนในบังคบั อังกฤษ โดยเอ็ดเวริ ์ด เอช. สโตรเบล ทป่ี รกึ ษำรำชกำรแผน่ ดินชำวอเมรกิ ัน เสนอให้ไทย แลกหวั เมืองมลำยู พรอ้ มกับขอกู้เงนิ 4 ลำ้ นปอนด์ ในอตั รำดอกเบีย้ ต่ำ เพือ่ นำไปสร้ำงทำงรถไฟสำยใต้ โดยมกี ำรลง นำมในสนธิสญั ญำดงั กลำ่ วเมือ่ วันท่ี 10 มีนำคม พ.ศ. 2451 โดยรัฐบำลไทยยอมยกสรี่ ฐั มำลัย (ไทรบุรี กลันตนั ตรัง กำนู และปะลสิ ) ตลอดจนเกำะใกล้เคียงใหแ้ กอ่ งั กฤษ ฝ่ำยองั กฤษให้คนในบังคับตนที่ลงทะเบยี นไวก้ ับกงสุลก่อนหน้ำ น้ีขน้ึ กบั ศำลตำ่ งประเทศ และใหค้ นในบังคับหลงั ทำสนธสิ ญั ญำฉบบั นี้ขึน้ กับศำลไทย โดยมีท่ีปรกึ ษำกฎหมำยชำว ยโุ รปรว่ มพจิ ำรณำคดี แต่ศำลกงสลุ ยงั มอี ำนำจนำคดีไปพิจำรณำได้ ภำยหลงั สงครำมโลกครง้ั ทห่ี น่งึ ยุติ รัฐบำลสยำมพยำยำมเจรจำขอแกไ้ ขสนธสิ ัญญำอันไม่เปน็ ธรรมในด้ำน สิทธิสภำพนอกอำณำเขตและภำษศี ุลกำกร ซึ่งกป็ ระสบผลสำเรจ็ เป็นอย่ำงดี โดยมเี งือ่ นไขวำ่ สยำมจะตอ้ งบังคับใช้ ประมวลกฎหมำยตำมแบบสมยั ใหม่ และบำงประเทศไดข้ อสิทธิพเิ ศษเพ่ิมเตมิ อกี ในชว่ งระยะเวลำหนงึ่ ภำยใน พ.ศ. 2470 ประเทศต่ำง ๆ นบั สบิ ประเทศก็ยนิ ยอมลงนำมแก้ไขสนธิสญั ญำดังกลำ่ ว กำรยกเลิก 35

อ้ำงองิ - ประวัติ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%99_ %E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E 0%B8%87 - สนธิสัญญำเบำว์ริง https://pridi.or.th/th/content/2021/07/777 -เบ้อื งหลงั -กำรเจรจำ -สำระสำคญั -ผลที่ตำมมำ -กำรยกเลกิ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA %E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E 0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87 http://www.digitalschool.club/digitalschool/social2_1_1/m4_1/content/lesson3/more/page14.p hp ปญั หำที่เกดิ ขึ้น https://www.silpa-mag.com/history/article_74355 อำ้ งองิ 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook