Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore uttaraditTH

uttaraditTH

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-06-09 11:51:24

Description: uttaraditTH

Search

Read the Text Version

อตุ รดติ ถ์

วดั ธรรมาธปิ ไตย

การเดนิ ทาง สารบัญ สถานท่ีทอ่ งเทย่ี ว ๕ อ�ำเภอเมอื งอุตรดิตถ์ ๖ อำ� เภอตรอน อ�ำเภอทองแสนขนั ๖ อ�ำเภอทา่ ปลา ๑๑ อ�ำเภอนำ�้ ปาด ๑๒ อ�ำเภอบา้ นโคก ๑๕ อ�ำเภอพิชัย ๒๐ อ�ำเภอฟากทา่ ๒๔ อ�ำเภอลับแล ๒๗ ๒๘ เทศกาลงานประเพณี ๒๙ สนิ ค้าพน้ื เมืองและของทีร่ ะลกึ ตวั อยา่ งรายการนำ� เทยี่ ว ๓๘ สง่ิ อ�ำนวยความสะดวก ๔๐ ๔๔ สถานที่พกั ๔๖ รา้ นอาหาร ๔๖ หมายเลขโทรศพั ทส์ �ำคัญ ๕๐ ๖๐

ซุ้มประตูเมืองลบั แล อตุ รดิตถ์ เหล็กน�ำ้ พล้ี อื เลอ่ื ง เมืองลางสาดหวาน บา้ นพระยาพชิ ัยดาบหกั ถิ่นสกั ใหญข่ องโลก 4 อุตรดติ ถ์

อุตรดิตถ์ มีความหมายว่า “เมืองท่าแห่งทิศเหนือ” อาณาเขต และก่อนจะมาเป็นเมืองท่าส�ำคัญ แต่เดิมอุตรดิตถ์ เคยเป็นเมืองในปกครองของเมืองพิชัยอันเป็นเมือง ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับจังหวัดนา่ น เกา่ แก่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐ มีการค้นพบภาพเขียนสี ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ จงั หวัดพิษณุโลก จังหวัดเลย โบราณบนหน้าผาเขาตาพรหม หลังที่ว่าการอ�ำเภอ และสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ทองแสนขนั และกลองมโหระทกึ ทำ� ดว้ ยทองสมั ฤทธิ์ ประชาชนลาว โดยเขตชายแดนยาว ทต่ี ำ� บลท่าเสา อ�ำเภอเมอื งอุตรดติ ถ์ ท�ำใหเ้ ราทราบ ประมาณ ๑๒๐ กิโลเมตร ว่าอุตรดิตถ์เป็นดินแดนท่ีมีผู้คนเข้ามาอาศัยอยู่ก่อน ทิศใต้ ตดิ ต่อจังหวดั พษิ ณุโลก พ.ศ. ๑๐๐๐ มาแลว้ ติดตอ่ จังหวัดสโุ ขทัย ทศิ ตะวนั ตก เม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๓ มีหลักฐานปรากฏว่า เมืองพิชัย ซึง่ อยู่ในท้องที่จงั หวัดอตุ รดิตถ์ในปจั จบุ ัน กเ็ ปน็ หนง่ึ ในเมืองขนึ้ ๑๖ เมืองในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาด้วย และ การเดินทาง พ.ศ. ๒๓๑๖ ไดม้ กี องทพั ยกมาตเี มอื งพชิ ยั เจา้ พระยา- สุรสีห์กับพระยาพิชัย ได้ยกกองทัพเข้าป้องกันเมือง รถยนต์ จังหวัดอุตรดิตถ์ห่างจากกรุงเทพฯ ๔๙๑ พระยาพิชัยถือดาบสองมือเข้าต่อสู้จนดาบหัก จึงม ี กโิ ลเมตร สามารถเดนิ ทางไปได้ ๒ เส้นทาง คือ ชอ่ื เรียกว่า “พระยาพิชัยดาบหัก” ๑. จากกรงุ เทพฯ ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑ แล้วแยก ชว่ งรชั กาลท่ี ๓ เมอื งพชิ ยั ไดก้ ลายเปน็ หวั เมอื งสำ� คญั เข้าทางหลวงหมายเลข ๓๒ ผ่านจังหวัดพระนคร- มีการติดต่อซื้อขายสินค้าท่ีต�ำบลบางโพท่าอิฐ ศรอี ยธุ ยา อา่ งทอง สงิ หบ์ รุ ี ชยั นาท และเข้าจังหวัด ซึ่งอยู่ติดแม่น�้ำน่าน เป็นแหล่งรวมสินค้าจากเมือง นครสวรรค์ จากนน้ั ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๑๗ เขา้ หลวงพระบาง เมอื งแพร่ เมอื งนา่ น ตลอดจนแควน้ สบิ จงั หวัดพิษณุโลก จากน้นั ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๑ สองปันนาก็น�ำสินค้าพ้ืนเมืองมาจ�ำหน่ายและส่งต่อ จนถึงจงั หวดั อุตรดติ ถ์ ไปจนถงึ กรงุ เทพฯ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเดจ็ - ๒. ใช้เส้นทางกรุงเทพฯ-สิงห์บุรี แล้วแยกเข้า พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเหน็ วา่ ทต่ี ำ� บลบางโพ ทางหลวงหมายเลข ๑๑ สายอนิ ทรบ์ รุ -ี ตากฟา้ จนถงึ ท่าอิฐคงจะเจริญต่อไปในภายหน้า จึงโปรดให้ต้ัง ทางหลวงหมายเลข ๑๒ สายพิษณุโลก-หล่มสัก ต�ำบลบางโพท่าอฐิ เปน็ “เมืองอตุ รดิตถ์” และขึ้นอยู่ เลี้ยวซ้ายไปอีก ๘ กิโลเมตร แล้วเล้ียวขวาเข้า กบั เมอื งพชิ ัย ทางหลวงหมายเลข ๑๑ จนถงึ จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ พระบาทสมเด็จพระ- รถโดยสารประจ�ำทาง บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดโ้ ปรดใหย้ า้ ยศาลากลางเมอื ง บริการเดินรถเส้นทางกรุงเทพฯ-อุตรดิตถ์ ทุกวัน พิชัยไปต้ังอยู่ที่เมืองอุตรดิตถ์ และภายหลังจึงโปรด โดยออกจากสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสารกรงุ เทพฯ (จตจุ กั ร) ให้เปลี่ยนนามเมืองพิชัยเป็นเมือง “อุตรดิตถ์” สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ เปน็ ต้นมา www.transport.co.th สถานีขนส่งผู้โดยสาร อุตรดิตถ์ โทร. ๐ ๕๕๘๑ ๖๗๙๖ และ บรษิ ัทเชิดชยั ทัวร์ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๐๑๙๘-๙ 5อุตรดิตถ์

โทร. ๑๖๒๔ หรอื ๐ ๕๕๔๔ ๒๗๙๓ บรษิ ทั สโุ ขทัย- ระยะทางจากอ�ำเภอเมืองจังหวัดอุตรดิตถ์ไปยัง วนิ ทวั ร์ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๓๗๕๓ บริษัท โชครุ่งทวที วั ร์ จงั หวดั ใกล้เคยี ง โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๔๒๗๕ น่าน ๑๙๑ กโิ ลเมตร รถไฟ จากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวล�ำโพง) มีรถไฟ ไปจังหวัดอุตรดิตถ์ทุกวัน สอบถามข้อมูล โทร. พษิ ณุโลก ๑๑๘ กิโลเมตร ๗๔ กิโลเมตร ๑๖๙๐ www.railway.co.th สถานีรถไฟอุตรดิตถ์ แพร่ โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๑๐๒๓ เลย ๓๘๗ กโิ ลเมตร การเดินทางภายในจงั หวัดอตุ รดิตถ์ สุโขทัย ๑๐๐ กิโลเมตร ในตัวเมืองอุตรดิตถ์มีบริการรถส�ำหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ สถานท่ีทอ่ งเทย่ี ว - รถสองแถว มีรถบริการจากสถานีขนส่งผู้โดยสาร อุตรดิตถ์ไปยังสถานที่ต่างๆ ภายในตัวเมือง นัก อำ� เภอเมืองอตุ รดติ ถ์ ท่องเที่ยวอาจเหมาไปเท่ียวได้ทั้งในเมืองและอ�ำเภอ วัดท่าถนน เดิมช่ือ “วัดวังเตาหม้อ” ต้ังอยู่บริเวณ ตา่ งๆ ราคาข้นึ อยกู่ บั ระยะทาง รมิ แมน่ ำ้� นา่ น ถนนเกษมราษฎร์ ตำ� บลทา่ อฐิ ตรงขา้ ม สถานีรถไฟอุตรดิตถ์ เป็นท่ีประดิษฐาน “หลวงพ่อ- - รถสามล้อเคร่ืองและมอเตอร์ไซค์รับจ้าง จอดอยู่ เพชร” ซ่ึงเป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์สมัยเชียงแสน หน้าตลาดเทศบาล และหน้าสถานีขนส่งผู้โดยสาร นงั่ ขดั สมาธเิ พชร ตามประวตั กิ ลา่ ววา่ ใน พ.ศ. ๒๔๓๖ อุตรดิตถ์ ขณะท่ีหลวงพ่อด้วงเจ้าอาวาสวัดหมอนไม้ เดินทาง ระยะทางจากอำ� เภอเมืองอตุ รดติ ถไ์ ปอำ� เภอตา่ งๆ กลับจากรับนิมนต์ที่วัดสว่างอารมณ์ ต�ำบลไผ่ล้อม ตรอน ๒๔ กโิ ลเมตร อ�ำเภอลับแล เม่ือผ่านวัดสะแกท่ีเป็นวัดร้าง ได้พบ เนินดินเป็นจอมปลวกขนาดใหญ่ และเห็นเกศ ทองแสนขัน ๔๒ กโิ ลเมตร พระพุทธรูปพ้นออกมาจากจอมปลวก จึงได้ขุด จอมปลวกออกและพบว่าเป็นพระพุทธรูปสัมฤทธ ์ิ ทา่ ปลา ๔๐ กิโลเมตร มี พุ ท ธ ลั ก ษ ณ ะ ง ด ง า ม ม า ก แ ล ะ ไ ด ้ อั ญ เ ชิ ญ ม า น�้ำปาด ๗๒ กโิ ลเมตร ประดษิ ฐานไวท้ วี่ ดั ทา่ ถนน เนอื่ งจากเปน็ พระพทุ ธรปู บ้านโคก ๑๖๕ กิโลเมตร น่ังขัดสมาธิเพชร จึงเรียกว่า “หลวงพ่อเพชร” ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พชิ ัย ๔๕ กิโลเมตร โปรดใหส้ รา้ งวดั เบญจมบพติ รเสรจ็ แลว้ จงึ ไดอ้ ญั เชญิ ฟากท่า ๑๑๓ กิโลเมตร หลวงพ่อเพชรไปประดิษฐานเปน็ เวลา ๑๐ ปี ตอ่ มา ลบั แล ๘ กิโลเมตร หลวงนฤนารถเสนี (พนั ) ไดข้ อพระราชทานกลบั คืน มาประดิษฐานไวท้ ว่ี ดั ท่าถนนดงั เดิม 6 อุตรดิตถ์

วดั ท่าถนน วัดธรรมาธิปไตย ต้ังอยู่ในตัวเมืองใกล้สี่แยกจุดตัด พระยาพิชัยดาบหักได้ยกทัพไปสกัดไว้ จนข้าศึก ระหวา่ งของถนนอนิ ใจมกี บั ถนนสำ� ราญรนื่ เดมิ ชอ่ื วดั แตกพ่ายกลับไป การรบในครั้งนั้นดาบคู่มือของ ตน้ มะขาม ภายในมตี กึ ธรรมสภาเปน็ ทเ่ี กบ็ บานประตู พระยาพิชัยดาบหักข้างขวาได้หักไป แต่ก็ยังรบ ของวิหารหลังใหญ่และเก่าแก่มากของวัดพระฝาง ได้ชัยชนะ ด้วยวีรกรรมดังกล่าวจึงได้สมญานามว่า บานประตูท�ำจากไม้ปรูขนาดกว้าง ๒.๒ เมตร สูง “พระยาพชิ ยั ดาบหกั ” อนสุ าวรยี แ์ หง่ นอ้ี อกแบบ และ ๕.๓ เมตร และหนา ๑๖ เซนติเมตร แกะสลักใน หล่อโดยกรมศิลปากร ท�ำพิธีเปิดเมื่อวันท่ี ๒๐ สมัยอยุธยาเป็นลายกนกก้านขด มีลายพุ่มทรง กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๒ ปจั จบุ นั ไดย้ กฐานอนสุ าวรยี ฯ์ ข้าวบิณฑ์ ๗ พุ่ม ระหว่างพุ่มมีกนกใบเทศขนาบ ให้สูงข้ึน ๒.๕ เมตร ภายในบริเวณอนุสาวรีย์มี สองด้าน กล่าวกันว่าเป็นบานประตูไม้แกะสลักท่ีมี พิพธิ ภณั ฑด์ าบเหลก็ น้�ำพี้ใหญ่ทีส่ ุดในโลก เปน็ ทเี่ กบ็ ความงามเช่นเดียวกับประตูวิหารวัดสุทัศน์เทพ- รักษาดาบเหล็กน�้ำพ้ีขนาดใหญ่ มีน้�ำหนัก ๕๕๗.๘ วรารามวรมหาวิหารที่กรงุ เทพฯ กิโลกรัม ฝักดาบท�ำด้วยไม้ประดู่ฝังลวดลายมุก หุ้มปลอกเงินสลักลาย และพิพิธภัณฑ์พระยาพิชัย- อนุสาวรีย์พระยาพิชัยดาบหัก ประดิษฐานอยู่หน้า ดาบหัก เก็บรวบรวมประวตั ิของพระยาพิชยั ดาบหัก ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ สร้างขึ้นเพื่อเป็น แบบจ�ำลองสนามรบและวิถีชีวิตผู้คนเมืองอุตรดิตถ์ เกียรติประวัติในความกล้าหาญ รักชาติ และความ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย รวมทั้งเครื่องมือเครื่องใช้ เสียสละ เม่อื ครงั้ พระยาพชิ ัยดาบหกั ครองเมอื งพิชัย ในสมัยโบราณ เปิดให้เข้าชมทุกวันต้ังแต่เวลา ในสมยั ธนบรุ ี ทา่ นไดส้ รา้ งเกยี รตปิ ระวตั ไิ วโ้ ดยเฉพาะ ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. อยา่ งยงิ่ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๑๖ ขา้ ศกึ ยกทพั มาตเี มอื งพชิ ยั 7อตุ รดติ ถ์

วดั ใหญ่ทา่ เสา 8 อตุ รดิตถ์

วัดน้�ำรดิ เหนือ วัดกลางธรรมสาคร อยู่ท่ีถนนเจริญธรรม ต�ำบล ของพระยาพิชับดาบหัก ซึ่งท่านเป็นลูกศิษย์ของ บา้ นเกาะ อยูห่ ่างจากตวั อำ� เภอ ๓ กโิ ลเมตร เป็นวดั หลวงปูเ่ มฆ ภายในวดั มโี บราณสถานและปชู นยี วัตถุ โบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีพระอุโบสถที่มี มากมาย มวี หิ ารหลวงพอ่ เยก๊ ซง่ึ เปน็ วหิ ารเกา่ แก่ และ ลวดลายรูปปั้นสวยงาม ภายในมีพระประธานเป็น หอไตรโบราณท่ีตกแต่งด้วยกระจกสี แต่ปัจจุบัน พระพทุ ธรปู ปนู ปน้ั ลงรกั ปดิ ทองมพี ทุ ธลกั ษณะงดงาม ไม่ได้ใช้เก็บพระไตรปิฎกแล้ว วัดนี้ขึ้นทะเบียนเป็น ศลิ ปะรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ผสมศลิ ปะแบบลาวหลวง- โบราณสถานเม่อื พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาง และจติ รกรรมฝาผนงั เปน็ ภาพพระเวสสนั ดร ชาดกและเทพชุมนุมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น วัดน้�ำริดเหนือ ต้ังอยู่หมู่ ๙ ตำ� บลน�้ำรดิ ภายในวัด นอกจากน้ี ยังมีอาคารพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงวัตถุ มีพระพุทธรูปปางพยาบาลภิกษุอาพาธ เรียกว่า โบราณ เคร่ืองใช้โบราณ ดาบน้�ำพี้ ตู้พระไตรปิฎก พระพยาบาล พระอิริยาบถนั่งชันพระชานุเบื้องขวา พระเครอื่ งปางตา่ งๆ ปจั จบุ นั วดั กลางยงั เปน็ ศนู ยก์ ลาง ประคองพระภิกษุอาพาธด้วยพระหัตถ์ขวาให้นอนที่ การปฏิบัติธรรมในเขตเมืองอุตรดิตถ์ มีการจัดบวช พระเพลา (ตกั ) พระหตั ถซ์ า้ ยประคองมอื ซา้ ยพระภกิ ษุ ชพี ราหมณ์ และฝกึ กรรมฐานปลี ะหลายครง้ั สามารถ อาพาธ พระพกั ตรเ์ พง่ มองในลกั ษณะเมตตาสงสาร มี สอบถามขอ้ มลู ได้ที่ โทร. ๐๘ ๙๕๖๖ ๙๔๑๙ ความสูง ๑๖๐ เซนติเมตร กว้าง ๑๘๐ เซนติเมตร เป็นพระพุทธรูป ๑ ใน ๘๐ ปางตามพทุ ธประวัติ วัดใหญ่ทา่ เสา ตงั้ อยทู่ ่ีถนนสำ� ราญร่นื ต�ำบลท่าเสา อยู่ใกล้กับสถานีรถไฟ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัย มีเรอื่ งเล่าว่า นายประสทิ ธิ์ เอ่ียมงิ้วงาม เคยป่วยด้วย กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย และเป็นสถานที่เรียนมวย โรคอมั พฤกษ์ เมือ่ อาการทเุ ลาจงึ บวชและเดนิ ทางไป ศกึ ษาพระธรรมทจ่ี งั หวดั ชลบรุ ี ไดพ้ บกบั พระพทุ ธรปู 9อุตรดติ ถ์

ปางดงั กลา่ วทว่ี ดั แห่งหน่งึ จึงอธษิ ฐานขอให้หายจาก จากผักตบชวาซ่ึงมีฝีมือประณีตและรูปแบบทันสมัย โรค พรอ้ มกบั วาดรปู เหมอื นพระพทุ ธรปู เพอื่ เปน็ แบบ เชน่ โคมไฟ แจกนั กระเปา๋ ตะกร้าและรองเทา้ เปน็ ในการปัน้ ซง่ึ ใชเ้ วลาในการป้ัน ๕ เดอื น จงึ แลว้ เสรจ็ ผลติ ภณั ท์ OTOP ของกลมุ่ ภายใตช้ อื่ สนิ คา้ “ทา่ ชวา” จากน้ันได้ปิดทององค์พระ และน�ำมาประดิษฐานไว้ สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ่ี คณุ ปราณ ี คมุ้ อกั ษร ประธาน ท่ีวัดนำ�้ รดิ เหนอื ภายหลงั จงึ มีสขุ ภาพดขี น้ึ กลมุ่ ฯ โทร. ๐๘ ๐๖๘๗ ๒๗๖๗ หรอื ก�ำนนั ไพรวัลย์ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอเมืองใช้หลวงหมายเลข โทร. ๐๘ ๗๒๐๐ ๑๒๔๗ ๑๐๔๕ ระยะทาง ๑๑ กโิ ลเมตร การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๐ สาย วังกะพี้ เล้ียวซ้ายไปทางอ�ำเภอตรอน ขับตรงไป กลมุ่ หตั ถกรรมผลติ ภณั ฑผ์ กั ตบชวา หมู่ ๕ บา้ นทา่ ขา้ มสะพานพบสามแยกใหเ้ ลยี้ วขวาไปตามทางหลวง ต�ำบลหาดกรวด ห่างจากตัวเมือง ๑๒ กิโลเมตร หมายเลข ๑๒๐๔ ประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร จะเหน็ กลุ่มแม่บ้านหัตถกรรมน้ีได้รับการส่งเสริมจากศูนย์ ปา้ ยหมู่บา้ นอุตสาหกรรมฯ อยู่ทางซา้ ยมือแลว้ เล้ยี ว สง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาคเหนอื จงั หวดั พษิ ณโุ ลกและ เข้าไปอกี ๓๐๐ เมตร ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ ผลิตสินค้า วดั พระฝางสวางคบรุ ีมนุ นี าถ 10 อุตรดิตถ์

วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ อยู่ริมแม่น�้ำน่าน ลำ� นำ้� นา่ น แตก่ ระแสนำ�้ ไหลเชยี่ วทำ� ใหต้ ลง่ิ พงั จงึ ตอ้ ง หมู่ ๓ บ้านพระฝาง ต�ำบลผาจุก ในอดีตเป็นท่ีต้ัง ย้ายมาสร้างใหม่ในสถานที่ปัจจุบัน วัดน้ียังเคยเป็น ของเมืองสวางคบุรีมุนีนาถ และเคยเป็นวัดที่จ�ำ สถานที่ฝึกมวยของพระยาพิชัยเมื่อครั้งท่านยังเป็น พรรษาของ “เจา้ พระฝาง” เมอื งสวางคบรุ ี ซงึ่ อยู่ใน เดก็ นอกจากนยี้ งั เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐาน “หลวงพอ่ เพชร” สมณเพศแต่นุ่งห่มผ้าแดง ท่านได้รวบรวมผู้คนเพื่อ พระพุทธรูปปางสมาธิเพชร ขนาดหน้าตัก ๓.๘๐ กอบกู้เอกราชสมัยเสียกรุงศรีอยุธยา คร้ังที่ ๒ สิ่งท่ี เมตร สูง ๔.๕๐ เมตร เนื่องจากอุโบสถวัดแห่งน ี้ ส�ำคัญภายในวดั คือ เจดียพ์ ระมหาธาตุ เปน็ ทบี่ รรจุ สรา้ งมาประมาณ ๖๐ ปแี ลว้ เกดิ การชำ� รดุ ทางวดั จงึ พระบรมสารรี กิ ธาตุ และไดท้ ำ� การบรู ณะใหมใ่ นสมยั บูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระประธานหลวงพ่อเพชร รัชกาลท่ี ๔ พระวิหารหลวง เดิมประดิษฐานพระ- ขณะที่ช่างจากจังหวัดพิจิตรท�ำการซ่อมแซมองค ์ พทุ ธรปู เชยี งแสน ภายในวหิ ารมพี ระประธานองคใ์ หญ่ พระประธานอยนู่ นั้ กพ็ บวา่ มปี นู จำ� นวนมากหลดุ รว่ ง พระอโุ บสถ หลงั เกา่ เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน “พระฝาง” ซง่ึ ออกจากบริเวณท้องของพระประธาน และพบว่ามี เปน็ พระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งมหาจักรพรรดิ พระบาท- เศียรพระซ่อนอยู่ข้างใน ชาวบ้านจึงเรียกว่า “พระ- สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้อัญเชิญ อกแตก” ตอ่ มามผี เู้ สนอใหเ้ รยี กชอื่ วา่ “พระพทุ ธซอ้ น” ไปประดิษฐานไวท้ วี่ ดั เบญจมบพิตร กรุงเทพฯ จงึ ได้ มีการสร้างพระฝางองค์ใหม่ข้ึนมาประดิษฐานอยู่ใน บงึ ทับกระดาน ต้ังอยใู่ นเขตตำ� บลวังแดง เปน็ บงึ น�ำ้ อุโบสถแทนองคเ์ ดิม และทผ่ี นังด้านหนา้ มปี ระตูไมท้ ่ี ขนาดกลางทเี่ ปน็ แหลง่ อาหารของนก และยงั ไดม้ กี าร สร้างข้ึนใหม่มีลวดลายแกะสลักงดงาม โดยของเดิม ปรับภูมทิ ัศนบ์ งึ แห่งน้ี ใหเ้ ปน็ ทพ่ี กั ผ่อนหยอ่ นใจของ น�ำไปเก็บรกั ษาไวท้ ว่ี ัดธรรมาธปิ ไตย ประชาชน มรี า้ นอาหารบรกิ าร นอกจากนยี้ งั มกี ารจดั ประเพณีทอดแหบึงทับกระดานข้ึนในเดือนเมษายน การเดนิ ทาง วดั พระฝางอยหู่ า่ งจากตวั เมอื งประมาณ ของทุกปี ซึ่งในบึงจะมีปลาหลายชนิด เช่น ปลาบึก ๒๕ กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๕ ปลาสวาย ปลานลิ และปลาใน เป็นตน้ ถงึ ทางหลวงหมายเลข ๑๑ เลย้ี วขวาไปทางพษิ ณโุ ลก ๒ กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายจากทางแยกเข้าไป วัดคลึงคราช ตั้งอยู่ริมแม่น้�ำน่าน บ้านเด่นส�ำโรง ๑๔ กโิ ลเมตร ต�ำบลหาดสองแคว เปน็ วดั สมยั โบราณ ตามต�ำนาน กล่าวว่า วัดคลึงคราชต้ังอยู่ในเมืองตาชูชก ซึ่งเป็น จุดชมวิวเขาพลึง ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบ้านด่านนาขาม เมอื งเกา่ แกท่ มี่ คี วามเปน็ มาเชอ่ื มรอ้ ยกบั พทุ ธประวตั ิ ระหว่างเส้นทางเด่นชัยจังหวัดแพร่และจังหวัด ในเรื่องพระเวสสันดรชาดก วัดคลึงคราชได้รับการ อุตรดิตถ์ เป็นจุดส�ำหรับพักรถและจุดชมทิวทัศน ์ บูรณะโดยหลวงพ่อพุ่มจันทสโรเมื่อ ๑๐๐ กว่าปี ที่สวยที่สุดของจังหวัดอุตรดิตถ์ เพราะตั้งอยู่บน มาแลว้ จากหลกั ฐานพบวา่ ไดม้ กี ารขดุ ดนิ จากรมิ สระ สันเขาสามารถมองเห็นทัศนียภาพของหุบเขาท่ีสลับ มาปั้นเป็นอิฐ แล้วน�ำมาสร้างวิหารและพระอุโบสถ ซบั ซอ้ นสวยงาม นอกจากน้ีบริเวณสระยังพบเศษเคร่ืองปั้นดินเผา ที่แตกหักและโอ่งโบราณซึ่งขุดพบเมื่อประมาณปี อำ� เภอตรอน พ.ศ. ๒๕๐๐ ภายในโอ่งบรรจุกระดูก ปัจจุบันเก็บ วัดบ้านแก่งใต้ ต้งั อย่หู มู่ ๓ ต�ำบลบา้ นแก่ง เปน็ วัด รักษาไวใ้ นวดั คลึงคราช เกา่ แก่อายุประมาณ ๓๐๐ ป ี แตเ่ ดิมวดั ตง้ั อยกู่ ลาง 11อตุ รดติ ถ์

ชุมชนลาวเวียง ณ บ้านหาดสองแคว ต้ังอยู่ท่ี - ร่วมงานประเพณีไหลแพไฟ พิธีขอบคุณพืชพันธ์ หมู่บ้านหาดสองแคว ต�ำบลหาดสองแคว เนื่องจาก ธัญญาหารและสายน�้ำ ทุกวันท่ี ๔-๖ ธันวาคมของ บรรพบุรุษของชาวลาวเวียงได้ย้ายมาจากเมือง ทุกปี  เวยี งจนั ทน ์ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว - รว่ มงานยอ้ นรำ� ลกึ เสน้ ทางประวตั ศิ าสตร์ รชั กาลท่ี ๕ ได้ตั้งช่ือหมู่บ้านขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศท่ีตั้งอยู่ เสดจ็ ประพาสเมอื งตรอนตรสี นิ ธ์ุ ซง่ึ กำ� หนดจดั ขนึ้ ใน ในขณะน้ัน ซ่ึงเป็นทางออกของล�ำน�้ำสองสายท่ีไหล วนั ท่ี ๒๒ ตลุ าคมของทกุ ปี ณ วดั หาดสองแคว มาบรรจบกนั คอื แมน่ ำ้� นา่ น กบั คลองตรอน เกดิ เปน็ - พักค้าง ณ โฮมสเตยบ์ า้ นหาดสองแคว สนั ทรายยน่ื ออกมาเปน็ แนวยาวตลอดหมบู่ า้ นจงึ เรยี ก บริเวณน้ีว่า “บ้านหาดสองแคว” ชาวเรือที่เดินทาง พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นวดั หาดสองแคว ตงั้ อยภู่ ายในวดั ผ่านมาจึงมักจะค้างแรมบริเวณหาดทรายแห่งน้ี  หาดสองแคว ตำ� บลหาดสองแคว เปน็ ทเี่ กบ็ รวบรวม ท�ำให้ชาวบ้านมีอาชีพเสริมและรายได้ดี อีกท้ังยัง วัตถุโบราณข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันของ รักษาวัฒนธรรมประเพณีด้ังเดิม ตลอดจนความเชื่อ ชาวบา้ น สะทอ้ นประเพณวี ถิ ชี วี ติ ของไทยเชอ้ื สายลาว ในเรื่องต่างๆ การท�ำบุญตามเทศกาลและตักบาตร ทม่ี าจากเวียงจันทน์ ซงึ่ อพยพมาตัง้ ถิน่ ฐานในแถบนี้ พระทกุ วันมไิ ด้ขาด โดยการหาบอาหารไปถวายทวี่ ัด การเขา้ ชมสามารถตดิ ตอ่ ลว่ งหนา้ ไดท้ ี่ โทร. ๐ ๕๕๔๗ เรียกว่า “การตักบาตรหาบจังหัน” หรือ “การ ๖๐๘๑, ๐๘ ๑๘๘๘ ๔๓๔๑ ตั ก บ า ต ร ห า บ ส า แ ห ร ก ” ส อ บ ถ า ม ข ้ อ มู ล ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน โทร. ๐ ๕๕๔๙ ๖๐๙๘, ๐๘ ๔๕๐๕ ๔๖๗๒ อุตรดิตถ์ เป็นสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กจิ กรรมสำ� หรบั นกั ท่องเทย่ี ว มีวัตถุประสงค์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยเพื่อ - สัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้านหาดสองแคว ที่น�ำวัสดุ เสริมสร้างความม่ันคงตามแนวชายแดนโดยยึด เหลอื ใช้มาทำ� เปน็ ของใช้ในครวั เรอื น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริของ - ชมการตกั บาตรหาบจังหนั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพ้ืนท่ี ๕ จังหวัด  - ชมพิพธิ ภณั ฑ์พน้ื บา้ นวัฒนธรรม มีการจัดด�ำเนินการในพื้นท่ีปกติ ๓ จังหวัด คือ - ชมแมน่ ำ�้ สองสี จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดน่าน - ชมผลติ ภณั ฑอ์ าหารแปรรูป ภายในศูนย์มกี จิ กรรมการเรียนรูต้ ่างๆ มากมาย เช่น - ตามรอยเส้นทางเสด็จประพาสต้น (รัชกาลท่ี ๕) การส่งเสริมการเล้ียงจิ้งหรีด กบ เป็ดและหมูหลุม ในแม่น�้ำน่าน การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกผักปลอดสารพิษและ - ส�ำรวจรอ่ งรอยเมอื งโบราณตาชูชก การท�ำนาวางต้นเดียว เป็นตน้ สอบถามข้อมลู โทร. - ซื้อสินค้าหตั ถกรรมผา้ ทอนำ้� อา่ ง ซง่ึ เป็นเอกลักษณ์ ๐ ๕๕๔๙ ๖๐๐๕ สกลุ เวยี งจนั ทน์ - ชมิ อาหารพนื้ บ้าน อำ� เภอทองแสนขนั พิพิธภัณฑ์บ่อเหล็กน�้ำพ้ี ต้ังอยู่หมู่ ๑ บ้านน�้ำพ ี้ ต�ำบลน�้ำพี้ รวบรวมหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับประวัติ เหล็กน้�ำพ้ี โดยจัดแสดงและจ�ำลองให้เห็นถึง 12 อตุ รดติ ถ์

กระบวนการ ข้ันตอนการตีเหล็กน้�ำพ้ี ต้ังแต่การ นำ้� พ้ี ข้นึ จากบอ่ ทั้งสองได้ ขุดแร่เหล็กน�้ำพี้ จนตีเป็นดาบท่ีมีความแกร่งและ ความคมเป็นเลิศ ดาบน้�ำพี้จึงเป็นอาวุธคู่กายของ นอกจากนย้ี งั มี ศาลเจา้ พอ่ บอ่ เหลก็ นำ้� พี้ ตงั้ อยบู่ รเิ วณ ขนุ ศกึ และนกั รบไทยในสมยั โบราณ บรเิ วณโดยรอบ ทิศเหนือของบ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ ซ่ึงมี ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ มีร้านขายของท่ีระลึก ต�ำนานว่าบ่อเหล็กน�้ำพ้ีมีปู่ธรรมราชที่เป็นเจ้าพ่อ และเครื่องรางท่ีท�ำจากเหล็กน้�ำพี้ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ “บ่อพระแสง” สถิตย์อยู่ในศาลนี้เพ่ือคอยปกปักษ์ เปิดเมื่อวนั ท่ี ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ รักษาบ่อพระแสงและบ่อพระขรรค์ เป็นศาลที่สร้าง ข้ึนใหม่มีลักษณะทรงไทยสีขาว พื้นปูด้วยหินอ่อน  ภายในบริเวณพิพิธภัณฑ์ คงเหลือบ่อเหล็กน�้ำพี้อยู ่ ภายในตงั้ รปู เจา้ พอ่ ๓ ตน หลอ่ ดว้ ยเหลก็ นำ�้ พที้ งั้ องค์ ๒ บ่อ ได้แก่ “บ่อพระแสง” เป็นโบราณสถานซ่ึงมี เพ่ือเป็นทีย่ ดึ เหนี่ยวจิตใจของชาวน้�ำพ้ี ความส�ำคัญเนื่องจากเป็นแหล่งเหล็กกล้าที่น�ำมาท�ำ พระแสงดาบในสมยั โบราณ สงวนไวใ้ ชท้ ำ� พระแสงดาบ พพิ ธิ ภณั ฑเ์ ปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ วนั ตง้ั แตเ่ วลา ๐๘.๐๐ ถงึ ส�ำหรับพระมหากษัตริย์เท่าน้ัน อีกบ่อหนึ่งเรียกว่า ๑๗.๐๐ น. สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๕๕๔๗ ๙๑๓๕, “บ่อพระขรรค์” เป็นบ่อที่ช่างท�ำพระขรรค์ถวาย ๐๘ ๑๔๗๔ ๐๑๔๗ พระมหากษัตริย์ ปัจจุบันอนุญาตให้มีการตกเหล็ก 13พพิ ธิ ภัณฑ์บ่อเหลก็ น�้ำพ้ี อตุ รดติ ถ์

การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๑ และเข้า พอหมดชว่ งฤดเู กบ็ องนุ่ กย็ งั มมี ลั เบอรร์ ห่ี รอื ลกู หมอ่ น ทางหลวงหมายเลข ๑๒๔๔ มายงั อำ� เภอทองแสนขนั ผลสดใหเ้ กบ็ ชมิ ได้ เปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ วนั เวลา ๑๐.๐๐ - จากนน้ั แยกขวาเขา้ วดั นำ้� พี้ แลว้ ตรงไปอกี ๓ กโิ ลเมตร ๒๐.๐๐ น. สอบถามข้อมลู โทร. ๐๘ ๖๒๐๗ ๒๐๙๖ รวมระยะทาง ๔๐ กิโลเมตรจากตวั จงั หวัด การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๑ แยกคุ้ง ย่านการค้าผลิตภัณฑ์เหล็กน้�ำพ้ี ตั้งอยู่บริเวณ ตะเภา-วังผาชัน ไปทางบ้านน�้ำพ้ี ห่างจากตัวเมือง ปากทางเขา้ หมบู่ า้ นนำ้� พ้ี มรี า้ นจำ� หนา่ ยสนิ คา้ หลาก- ๑๘ กิโลเมตร ไรอ่ ง่นุ คานาอนั อย่ทู างขวามือ หลายรปู แบบทเ่ี ปน็ ฝมี ือของชาวบา้ น มีคณุ ภาพและ ราคาที่เหมาะสม เชน่ มดี ดาบ พระขรรค์ รูปหล่อ ภาพเขียนบนหน้าผายุคก่อนประวัติศาสตร์ เขา พระพุทธรูปที่ท�ำจากเหล็กน้�ำพ้ี ตลอดระยะทาง ตาพรม อยทู่ ่บี า้ นถ�้ำดิน ต�ำบลบอ่ ทอง เขาตาพรม ๑ กโิ ลเมตร รา้ นเปดิ ทกุ วนั เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. เปน็ เขาหนิ ทรายสูงประมาณ ๓๐๐ เมตร ภาพเขียน และมีการสาธิตตีดาบจากแร่เหล็กให้ชม สอบถาม ที่เพิงผาอยู่สูงจากพ้ืนประมาณ ๖ เมตร กว้าง ข้อมูล โทร. ๐๘ ๑๐๓๗ ๑๒๔๙ ประมาณ ๑ เมตร ยาว ๑.๕๐ เมตร พื้นหนา้ เรยี บ เป็นภาพเขียนสีแดงลักษณะเป็นลายเส้น เป็นรูป ไร่องุ่นคานาอัน ตั้งอยู่ที่ต�ำบลน�้ำพี้ ตัวอาคารเป็น สัญลักษณ์คล้ายรูปคน ภาพรปู ทรง เลขาคณติ เป็น สถาปัตยกรรมแบบทัสคานีของประเทศอิตาลี เน้น รูปวงกลม และเส้นโครงรูปจุดไข่ปลาคล้ายรวงข้าว ความโค้งมนและใช้สีส้มสลับเหลืองดูโดดเด่น เป็นภาพเขียนสีแห่งแรกและแห่งเดียวในจังหวัด ภายในอาคารมีหอคอยขนาดย่อมพร้อมบันไดวน อตุ รดติ ถ์ และยงั ไมส่ ามารถกำ� หนดอายขุ องภาพเขยี น นักท่องเท่ียวสามารถข้ึนมาชมทัศนียภาพแบบ ได้ สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๕๕๘๒ ๔๐๒๖-๘ ๓๖๐ องศา ส่วนพ้ืนท่ีด้านข้างเป็นไร่องุ่น ใกล้กันมี บ่อน้�ำขนาดใหญ่ให้ความชุ่มชื่น รวมไปถึงร้านขาย การเดินทาง จากอ�ำเภอเมือง ใชท้ างหลวงหมายเลข อาหาร เครอ่ื งดม่ื และรา้ นขายของทร่ี ะลกึ ผลผลติ จะ ๑๑ ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร จากน้ันเล้ียวซ้ายเข้า เริ่มมีให้เก็บได้ต้ังแต่ช่วงเดือนเมษายนเป็นต้นไป ทางหลวงหมายเลข ๑๒๑๔ อกี ๑๒ กโิ ลเมตร จะพบ ทางเขา้ หมู่บา้ นถ�้ำดิน เล้ยี วเข้าไปอีก ๑ กิโลเมตร วนอทุ ยานถำ้� จนั ตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นนำ�้ หมใี หญ่ ซงึ่ เปน็ พน้ื ที่ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ มสี ตั วป์ า่ ชกุ ชมุ มคี ลองตรอนไหลผา่ น กลางหมบู่ า้ น ภายในวนอทุ ยานมถี ำ�้ หนิ ปนู ทมี่ หี นิ งอก หินย้อยสวยงามและมีต้นจันผาอยู่บริเวณถ�้ำจึงเรียก วา่ “ถ�ำ้ จนั ” สถานทท่ี อ่ งเที่ยวภายในวนอทุ ยาน ถ�้ำจัน เป็นถ�้ำขนาดใหญ่ที่สุด มีลักษณะเป็นห้อง โถงใหญ่คล้ายห้องประชมุ และภายในมหี ินยอ้ ยสลับ ซับซ้อนเป็นห้องๆ เดิมเรียกว่าถ�้ำค้างคาว เพราะมี ค้างคาวเป็นจ�ำนวนมาก ไรอ่ งนุ่ คานาอัน 14 อุตรดิตถ์

ถ�้ำเสือดาว ลักษณะเป็นโพรงมีทางเข้าได้หลายทาง สถานที่ทอ่ งเทีย่ วภายในอทุ ยานฯ สลับซับซ้อนและภายในยังมีหินงอกหินย้อย ซ่ึงมี อาคารแสดงพันธุป์ ลานำ้� จดื จัดแสดงพนั ธป์ุ ลาน�้ำจืด ลักษณะเดน่ สวยงามมาก หลากพันธุ์ เช่น ปลาตะเพียนอินโด ปลาตะโดด ถ�้ำธารสวรรค์ ถ�้ำวัวแดง จะมีลักษณะคล้ายกับถ�้ำ เปิดให้เขา้ ชม ต้ังแตเ่ วลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. เสอื ดาวซงึ่ มีหนิ งอกหินย้อยสวยงามเช่นกัน อ่างเก็บนำ�้ เขื่อนสิริกิติ์ เป็นอ่างเก็บนำ้� ขนาดใหญ่ มี พื้นที่ประมาณ ๒๐๓ ตารางกิโลเมตร ภายในเข่ือน ถ�้ำเต่า มีเสาหินขนาดใหญ่ และมีหินงอกหินย้อย มีเกาะแก่งมากมายเหมาะส�ำหรับการล่องแพชมวิว คลา้ ยรปู สตั วห์ ลายชนดิ เชน่ งจู งอาง และเตา่ เปน็ ตน้ ทิวทัศน ์ ถ�้ำเจดีย์ ดูตามลักษณะภายนอกคล้ายกับเจดีย์องค์ ใหญ่ มหี นิ ก่อตวั เรยี งขึน้ เปน็ แนว จุดชมวิว เส้นทางสายป่าแดง น้�ำกรายและล�ำน�้ำ การเดินทาง อยู่ห่างจากตัวเมืองอุตรดิตถ์ประมาณ นางพญาทลี่ ดั เลาะตามรมิ เขา มที ศั นยี ภาพทส่ี วยงาม ๔๕ กิโลเมตร โดยมีถนนป่าขนุน–วังผาชันตัดผ่าน มาก เน่ืองจากเส้นทางสายน้ีตัดผ่านป่าดิบแล้งและ ตามทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๗ ป่าดิบเขาท�ำให้อากาศเย็นสบาย นอกจากนี้ยัง สามารถพบเหน็ พรรณไม้นานาชนิด เช่น กล้วยไม้ปา่ พญาเสอื โครง่ และเฟิรน์ พนั ธ์ุต่างๆ อ�ำเภอท่าปลา อุทยานแห่งชาติล�ำน�้ำน่าน ต้ังอยู่ท่ีต�ำบลผาเลือด มีพื้นที่ครอบคลุม ๒ จังหวัด คือ จังหวัดแพร่และ เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ มี ๒ เส้นทาง คือ อุตรดิตถ์ เป็นทิวเขาสลับซับซ้อน ประกอบด้วยป่า เสน้ ทางท่ี ๑ ระยะทาง ๒.๕ กโิ ลเมตร และเส้นทาง นานาชนิดท่ียังคงความสมบูรณ์และเป็นแหล่งต้นน�้ำ ท่ี ๒ ระยะทาง ๔ กิโลเมตร มีจุดชมวิวตลอดเสน้ ทาง ล�ำธารของอ่างเก็บน้�ำเหนือเข่ือนสิริกิติ์ มีพ้ืนท ี่ และสามารถมองเห็นทิวทัศน์อันสวยงามของอ่าง ทั้งหมด ๖๒๔,๔๖๘ ไร่ ประกอบดว้ ยป่าเบญจพรรณ เก็บนำ�้ เข่อื นสริ ิกิต์ิ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขาและป่าเต็งรัง ซ่ึงจะพลัดใบ เปลี่ยนสีสวยงามเมื่อย่างเข้าฤดูหนาว และเป็นที่อยู่ แก่งนางพญา เป็นแก่งหินน้อยใหญ่ลดหลั่นกันอยู่ อาศัยของสตั วป์ ่าจ�ำนวนมาก เชน่ เก้ง กวาง หมูป่า กลางล�ำนำ้� นางพญา ซงึ่ มีน�้ำไหลตลอดทง้ั ปีและเปน็ บริเวณทีส่ วยงามมาก หมีและสัตว์ปีกไม่น้อยกว่า ๒๐๐ ชนิด อุทยาน ในอุทยานแห่งชาติล�ำน้�ำน่านยังมีน้�ำตกหลายแห่ง แห่งชาติล�ำน�้ำน่านได้ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เช่น น้�ำตกเชิงทอง น�้ำตกห้วยมุ่นและน�้ำตกดอย- เมื่อวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๑ จุดที่สูงที่สุด ผาหมอก ซึ่งเป็นน้�ำตกขนาดเล็ก มีน�้ำไหลตลอดปี ของอทุ ยานฯ คอื ยอดเขาภูพญาพ่อ สงู ถงึ ๑,๓๕๐ เพราะมสี ภาพปา่ ตน้ น้ำ� ทีอ่ ุดมสมบรู ณ์ เมตร เปน็ จดุ แบง่ เขตจังหวัดแพรก่ บั จังหวดั อตุ รดติ ถ์ อุทยานแห่งชาติฯ มีอากาศหนาวเย็นตลอดป ี เน่ืองจากเป็นน�้ำตกท่ีอยู่ใกล้หน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคม-กันยายน และในฤดู “เชิงทอง” จึงสามารถเดินทางจากจังหวัดแพร่ได้ หนาวอากาศจะหนาวเย็น สะดวกกวา่ โดยเรมิ่ จากตวั อำ� เภอเมอื งแพร่ เมอ่ื ถงึ วดั พระธาตชุ ่อแฮ เล้ยี วซ้ายตรงไปอกี ๙ กโิ ลเมตร 15อุตรดิตถ์

อุทยานแห่งชาติฯ มีบ้านพักรับรองและสถานท ี่ เข่ือนสิริกิต์ิ เป็นเข่ือนดินที่ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย กางเต็นท์ไว้บริการ ติดต่อสอบถามข้อมูล โทร. ก่อสร้างข้ึนตามโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำน่าน เดิมชื่อ ๐ ๕๕๔๓ ๖๗๕๑ หรือ กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า เขื่อนผาซ่อม ต่อมาได้รับพระบรมราชานุญาตให้ และพนั ธพ์ุ ชื โทร. ๐ ๒๕๖๒ ๐๗๖๐ www.dnp.go.th อัญเชิญพระนามาภิไธยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ จึงได้ใช้ชื่อว่า “เขื่อนสิริกิติ์” การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๕ ถึงหลกั เป็นเขื่อนดินถมแกนดินเหนียว สูง ๑๑๓.๖๐ เมตร กิโลเมตรที่ ๔๓-๔๔ สายอุตรดิตถ์-เข่ือนสิริกิติ์ ยาว ๘๑๐ เมตร สันเข่อื นกว้าง ๑๒ เมตร อา่ งเกบ็ น้�ำ ผ่านสามแยกร่วมจิต อ�ำเภอท่าปลา และสามแยก สามารถเก็บกักน�้ำได้สูงสุด ๙,๕๑๐ ล้านลูกบาศก์ ห้วยเจริญจะพบทางแยกซ้ายมือ เข้าไปประมาณ เมตร ซึ่งมีความจุมากเป็นล�ำดับที่สาม รองจาก ๔ กิโลเมตร จะถึงทที่ ำ� การอุทยานแหง่ ชาติฯ อย่หู า่ ง อ่างเกบ็ น้�ำเขือ่ นศรนี ครนิ ทร์และเข่ือนภมู ิพล จากตวั จังหวัด ๔๕ กิโลเมตร สถานทีท่ อ่ งเที่ยวภายในเข่อื นสิริกิติ์ ดอยพระธาตุ องค์พระเจดีย์กลางน�้ำ ตั้งอยู่เหนือ สวนสุมาลัย กฟผ. สร้างขึ้นเพ่ือเฉลิมฉลองและเทิด เขอ่ื นสริ ิกติ ์ปิ ระมาณ ๖ กโิ ลเมตร จากการศกึ ษาทาง พระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ประวัติศาสตร์และการขุดค้นวัตถุโบราณพบว่าการ เนอื่ งในวโรกาสทรงเจรญิ พระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ สรา้ งเจดยี ก์ ลางนำ้� นา่ จะอยรู่ าวยคุ ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร ์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ และยังเป็นสถานที่ท่องเท่ียว เมื่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์พ้ืนที่หมู่บ้านท่าปลาก็จมอยู่ พักผ่อนหย่อนใจของประชาชนท่ัวไป ภายในสวน ใต้อ่างเก็บน้�ำ ส่วนเจดีย์ต้ังอยู่บนดอย บริเวณพ้ืนท่ี ประกอบดว้ ยพนั ธไ์ุ มห้ ลายชนดิ สระบวั สวนสมนุ ไพร รอบๆ จงึ เปน็ เสมอื นเกาะกลางนำ�้ เจดยี บ์ นดอยพระ- ลานอเนกประสงค์ ลานสขุ ภาพ และ “ประตมิ ากรรม- ธาตุนี้มีอายุประมาณ ๒๐๐ ปี จุดท่ีมองเห็นเจดีย์ สู่แสงสว่าง” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสวนสุมาลัย กลางน้�ำได้ชัดเจนท่ีสุด คือ บริเวณท่าเรือเก่าในเขต อนั สื่อความหมายถงึ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม- อุทยานล�ำน�้ำน่านซ่ึงอยู่ในพื้นท่ีของหมู่ท่ี ๘ ต�ำบล ราชินีนาถท่ีทรงเป็นองค์ผู้น�ำงานศิลปาชีพของไทย ผาเลือด ณ จุดนี้เปน็ ริมฝ่ังของอ่างเก็บนำ�้ เข่ือนสริ ิกิต์ิ ส่สู ายตาอารยประเทศ เจดีย์มีระเบียงและพระพุทธรูปปูนปั้นสีขาวอยู่โดย รอบ สามารถมองเหน็ ทิวทศั น์อนั กว้างไกลของเขือ่ น สะพานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สริ กิ ติ ์ิ ภายในบรเิ วณวดั ดา้ นลา่ งร่มรนื่ มีกุฎิพระและ สร้างขึ้นเพ่ือเทิดพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ โรงทาน พระบรมราชินีนาถ เน่ืองในวโรกาสทรงเจริญ พระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดย การเดนิ ทาง จากสามแยกอำ� เภอทา่ ปลา แยกซา้ ยเขา้ ทรงพระราชทานนามว่า “สะพานเฉลิมพระเกียรติ- ทางหลวงหมายเลข ๑๑๔๖ จากน้ันแยกซ้ายเข้า บรมราชนิ นี าถ” และโปรดฯ ใหอ้ ญั เชญิ ตราสญั ลกั ษณ์ เสน้ ทางหลวงหมายเลข ๑๑๖๓ ประมาณ ๖ กโิ ลเมตร งานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ๑๒ สงิ หาคม แล้วแยกขวาใช้เส้นทางหมายเลข ๑๓๔๑ อีก ๒๕๔๗ มาประดิษฐานบนแผ่นป้ายพระราชด�ำรัส ๔ กิโลเมตร จะมีทางแยกไปเข่ือนดิน ตรงไปเป็น แทนอกั ษรพระนามาภิไธยยอ่ ส.ก. บา้ นทา่ เรอื ทส่ี ามารถตดิ ต่อเรือไปชมดอยพระธาตไุ ด้ 16 อุตรดติ ถ์

เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ บริเวณสันเขื่อน บริเวณเหนือเขื่อนสิริกิต์ิเป็น บริเวณสันเขื่อนสิริกิต์ิ เม่ือวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ทะเลสาบน�้ำจืดขนาดใหญ่ มีทิวทัศน์ท่ีสวยงาม ๒๕๔๒ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงพระอาทิตย์อัสดง สัมผัส วิถีชีวิตของชาวประมง ที่พักอาศัยอยู่ตามแพใน กิจกรรมท่องเทีย่ ว อา่ งเกบ็ นำ้� นอกจากนยี้ งั มรี า้ นอาหารมากมายไวค้ อย - ชมแปลงเกษตรชวี วถิ เี พ่อื การพฒั นาอย่างย่งั ยนื บริการนักท่องเทีย่ วอีกด้วย - ชมวงั มจั ฉาพรอ้ มใหอ้ าหารปลา - เดนิ ป่าเส้นทางเชงิ นิเวศน์ พระพุทธสิริสัตตราช (หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์) จ�ำลอง - กางเต็นทพ์ กั แรม พระพทุ ธสิรสิ ัตตราช หรือหลวงพ่อเจด็ กษตั รยิ ์ เปน็ - เลอื กซอ้ื สนิ คา้ ทศ่ี นู ยจ์ ำ� หนา่ ยสนิ คา้ ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน พระพทุ ธรปู โบราณปางสมาธิ ประทบั นงั่ บนขนดหาง ของพญางู ๗ องค์ ถือเป็นพระพุทธรูปคู่บุญบารมี สิ่งอำ� นวยความสะดวก หลวงปู่สอ พนั ธโุ ล (พระครภู าวนากิจโกศล) แหง่ วดั บา้ นพกั เขอ่ื นสริ กิ ติ ม์ิ บี า้ นพกั ทง้ั ในรปู แบบบา้ นเดยี่ ว บา้ นหนองแสง ตำ� บลสงิ ห์ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ยโสธร บา้ นเรอื นแถวและบา้ นทาวเฮาส์ สามารถรองรบั ผมู้ า สมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระ- เยือนได้ถงึ ๒๘๐ คน พร้อมสง่ิ อ�ำนวยความสะดวก ราชด�ำเนินทรงเททองหล่อพระพุทธสิริสัตตราช ครบครัน จ�ำลอง (หลวงพอ่ เจ็ดกษัตรยิ )์ ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช หอ้ งประชมุ สัมมนา และห้องจดั เล้ยี ง พรอ้ มอปุ กรณ์ ๒๕๔๒ และ กฟผ. ได้อัญเชิญมาประดิษฐาน ณ โสตทัศนูปกรณ์ จ�ำนวน ๓ ห้อง รองรับผู้เข้าร่วม ประชุมได้ ๒๐-๑๒๐ คน 17อุตรดิตถ์

ร้านอาหารระเบียงน่านเข่ือนสิริกิต์ิ เป็นร้านอาหาร ระดบั ตำ�่ กวา่ ระดบั เกบ็ กกั นำ�้ จำ� นวน ๘ แหง่ มคี วาม ทตี่ ้ังอยู่รมิ แมน่ �้ำน่าน สามารถมองเห็นสะพานแขวน ยาวต่อเน่ืองรวม ๕.๓ กิโลเมตร ตัวเขื่อนตั้งอยู่ท่ี เฉลิมพระเกียรติฯ ท่ีสวยงาม พร้อมอาหารข้ึนช่ือ อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อสร้างระหว่างปี หลายรายการ พ.ศ. ๒๕๐๖ แล้วเสรจ็ ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ปัจจบุ ันการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เสริมหิน สนามกอล์ฟเขื่อนสิริกิต์ิ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ท้ิงท่ีตัวเขื่อนเพื่อเพ่ิมความแข็งแรงและป้องกันการ ประเทศไทย) อำ� เภอทา่ ปลา มขี นาด ๑๘ หลุม เปดิ กัดเซาะของน้ำ� ตลอดแนวตวั เขอ่ื นทงั้ หมด ให้บริการทกุ วัน เวลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. สอบถาม ขอ้ มูล โทร. ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๔๐ ตอ่ ๓๕๐๑-๒, ๐๘ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วภายในบรเิ วณเขอ่ื นดนิ ชอ่ งเขาขาด ๙๙๖๑ ๖๕๗ ตอ่ ๓ หรอื www.sirikitdam.egat.com ศาลาชมววิ มบี รรยากาศรม่ รน่ื ทศั นยี ภาพอนั สวยงาม ภายในบริเวณยังมีเครื่องดื่มและร้านอาหารบริการ เรือบรกิ าร ชมทัศนยี ภาพของอา่ งเก็บนำ�้ เขอ่ื นสิริกิต์ิ โดยใช้พชื ผกั จากโครงการชวี วิถฯี ของเข่อื นดินฯ ทะเลสาบสรุ ิยัน-จนั ทรา แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด�ำริ นัก - เรือนา่ นนที ๑ โดยสารได้ ๘๐ คน ทอ่ งเทยี่ วสามารถเลือกซ้ือพืชผักผลไมป้ ลอดสารพษิ - เรอื นา่ นนที ๘ โดยสารได้ ๒๕ คน ไดห้ ลากหลายชนดิ เขื่อนสริ กิ ติ เิ์ ปิดใหเ้ ข้าชมทุกวัน ต้งั แต่เวลา ๐๘.๐๐- กจิ กรรมภายในเขือ่ นดนิ ช่องเขาขาด ๑๖.๐๐ น. สอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานกลุ่มงาน ตกปลา มบี ริการแพตกปลาขนาดบรรจผุ ู้โดยสารได้ นันทนาการเข่ือนสิริกิต์ิ โทร. ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๔๐ ตอ่ แพละ ๕-๑๐ คน เส้นทางลอ่ งแพจากเขื่อนดนิ -เขอ่ื น ๓๕๐๑-๒ หรือ แผนกประชาสัมพันธ์และชุมชน สริ กิ ติ ิ์ สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ก่ี ำ� นนั เอก โทร. ๐๘ ๙๙๖๐ สัมพันธ์ โทร. ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๓๖ บ้านพักรับรอง ๖๖๔๓ โทร. ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๓๔ ภูพญาพ่อ ต�ำบลนางพญา ต้ังอยู่ในเขตอุทยาน การเดินทาง จากตัวเมืองอุตรดิตถ์ไปตามทางหลวง แห่งชาติล�ำน�้ำน่าน เป็นจุดสูงสุดบนเส้นทางสายเชิง หมายเลข ๑๐๔๕ (เข่ือนสิริกิต์ิ-ท่าปลา) ระยะทาง ทอง - กวิ่ เคียน สูง ๑,๓๕๐ เมตร จากระดบั น�้ำทะเล ประมาณ ๕๘ กโิ ลเมตรถึงเขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ หรือโดยสาร และยังเป็นยอดเขาสูงสุดที่แบ่งเขตแดนระหว่าง รถประจำ� ทางสายอตุ รดติ ถ์-ฟากทา่ -บ้านโคก (ท่ารถ จังหวัดแพร่กับจังหวัดอุตรดิตถ์ บนภูพญาพ่อมีศาล อยู่บริเวณหอนาฬิกา ถนนส�ำราญรื่น) หรือจะเหมา ซึง่ เปน็ ท่ีเคารพของชาวบ้านในท้องถิ่น บริเวณนเี้ ป็น แท๊กซ่ีบริเวณสถานีรถไฟอตุ รดิตถก์ ็ได้เช่นกัน จุดชมทิวทัศน์ที่มองเห็นเขาและผืนป่ากว้างไกล เข่ือนดินช่องเขาขาด ต้ังอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียง- ไปจนสุดสายตาท่ีอ่างเก็บน�้ำเข่ือนสิริกิต์ิ เส้นทาง เหนือของเข่ือนสิริกิติ์ ห่างจากเขื่อนประมาณ ๔๒ ช่วงถัดไปถนนจะไต่ระดับลงจากเขาจนไปส้ินสุดที่ กโิ ลเมตร กอ่ สรา้ งโดยกรมชลประทานตามโครงการ อำ� เภอทา่ ปลา และสามารถเดนิ ทางตอ่ ไปถงึ ทท่ี ำ� การ พัฒนาลุ่มน�้ำน่าน เดิมช่ือ “แซดเดิ้ล” (Saddle) อุทยานแห่งชาติล�ำน�้ำน่าน นักท่องเที่ยวสามารถ ประกอบข้ึนด้วยเขื่อนดนิ (Dike) ปดิ กนั้ ช่องเขาท่ีมี เดินป่าศึกษาธรรมชาติของพรรณไม้ ดูนกและกาง เต็นท์พักแรมได ้ 18 อุตรดติ ถ์

บา้ น ณ ภาสิริ หมู่บ้านท่าเรือ หมู่ ๙ บ้านท่าเรือ เป็นหมู่บ้าน สร้างเขื่อนสิริกิติ์ หมู่บ้านปากนายได้กลายเป็นส่วน ริมทะเลสาบเหนือเขื่อนสิริกิติ์ มีแพส�ำหรับ หน่ึงของอ่างเก็บน�้ำเหนือเขื่อน ซึ่งมีลักษณะเหมือน นักท่องเที่ยวท่ีต้องการล่องชมทัศนียภาพบริเวณ ทะเลสาบขนาดใหญ่ โอบล้อมด้วยทิวเขาเขียวขจ ี อ่างเก็บน้�ำ มีทั้งแบบค้างคืนหรือเช้าไปเย็นกลับ ชาวบ้านปากนายประกอบอาชีพประมง มีแพร้าน ขนาดจุได้ ๒๐-๕๐ คน ราคา ๒,๕๐๐-๔,๐๐๐ บาท อาหารใหเ้ ลอื กชิมปลาจากเขือ่ น เชน่ ปลากด ปลาบู่ ตดิ ตอ่ สอบถามขอ้ มูลได้ท่ี แพเกษิณี ทัวร์ โทร. ๐๘ ปลาคงั ปลาแรด ปลาทบั ทมิ เปน็ ตน้ และบางแหง่ ทำ� ๕๗๓๒ ๐๙๒๕, ๐๘ ๑๙๕๓ ๙๔๔๐ หรอื ๐๘ ๕๗๒๗ เป็นหอ้ งพักไวบ้ รกิ ารนกั ท่องเทยี่ ว ในช่วงนอกฤดูฝน ๖๔๙๖ และแพท่าปลา ปัญญาทัวร์ (ลุงแจ้ง) โทร. ชาวประมงจะมีแพลากไปวัดปากนาย สามารถนั่ง ๐๘ ๗๒๐๔ ๒๗๓๙, ๐๘ ๖๗๓๗ ๖๐๙๘, ๐๘ ๙๒๖๑ รบั ประทานอาหารบนเรอื ไดใ้ ชเ้ วลาประมาณ ๒ ชวั่ โมง ๙๒๑๖ การเดินทาง จากอ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ไป การเดินทาง จากสามแยกอำ� เภอท่าปลาแยกซา้ ยเข้า หมู่บ้านประมงปากนาย จังหวัดน่าน ด้วยแพ- ทางหลวงหมายเลข ๑๑๔๖ จากนั้นแยกซ้ายเข้า ขนานยนต์ อัตราคา่ บรกิ าร ดังน ้ี ทางหลวงหมายเลข ๑๑๖๓ ประมาณ ๖ กโิ ลเมตร - นงั่ เรอื คนละ ๕๐ บาท/เท่ียว แลว้ แยกขวาใชท้ างหมายเลข ๑๓๔๑ อกี ๔ กโิ ลเมตร - รถมอเตอร์ไซต์คนั ละ ๑๐๐ บาท/เทีย่ ว มที างแยกไปเขื่อนดนิ ตรงไปจะเปน็ บ้านทา่ เรือ - รถยนต์คันละ ๒๕๐ บาท/เท่ยี ว เส้นทางทอ่ งเทย่ี วนางพญา (อตุ รดิตถ)์ – หมบู่ ้าน สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ่ี แพลุงตี้ ๐๘ ๙๕๖๖ ๕๑๖๙ ประมงปากนาย (นา่ น) เปน็ การลอ่ งแพจากหมทู่ ่ี ๘ จุดชมวิวห้วยน้�ำรี ต้ังอยู่ที่บ้านกิ่วเคียน ต�ำบลจริม บ้านห้วยไผ่ ต�ำบลท่าแฝก อ�ำเภอท่าปลา จังหวัด อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอท่าปลาตามเส้นทางไปบ้านน�้ำ อตุ รดติ ถ์ ไปหมบู่ า้ นประมงปากนาย จงั หวดั นา่ น  ซง่ึ พร้าและนางพญาประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร เป็นหมู่บ้านประมงเดิมที่อยู่ริมแม่น�้ำน่าน หลังการ บ้าน ณ ภาสิริ เลขที่ ๙๙/๒ หมู่ ๑๑ ต�ำบลผาเลอื ด ใกล้กับสนามกอล์ฟเข่ือนสิริกิติ์ เป็นแหล่งท่องเท่ียว 19อตุ รดิตถ์

ใหมเ่ หมาะสำ� หรบั พาเด็กๆ มาท�ำกจิ กรรมร่วมกันใน ในอุทยานฯ พร้อมท้ังยอดภูเขาคว่�ำเรือและภูเขา ครอบครวั ภายในมเี ครอ่ื งเลน่ และกจิ กรรมทอ่ งเทยี่ ว หงายเรือ มีน�้ำตกท่ีสวยงามหลายแห่ง เช่น น้�ำตก แนวผจญภัย หว้ ยโปรง่ นำ้� ตกหว้ ยคอมและนำ้� ตกหว้ ยเนยี ม มคี ลอง ท่ีช่ือว่า “คลองตรอน” เป็นคลองซึ่งล�ำห้วยต่างๆ เชน่ กจิ กรรมฟารม์ สระนำ้� สำ� หรบั เดก็ ไตเ่ ชอื ก ยงิ ธนู ไหลมารวมกันที่คลองน้ีและไหลลงสู่แม่น�้ำน่าน ขับรถ ATV, Water ball ค่าเข้าชม (ไม่รวมค่า อุทยานฯ มีพ้ืนโดยรวม ๓๒๔,๒๔๐.๘๐ ไร่ หรือ กิจกรรม) ผใู้ หญ่ ๕๐ บาท เดก็ ๓๐ บาท เด็กท่สี ูง ๕๑๘.๘๐ ตารางกิโลเมตร ประกาศเป็นอุทยาน ไม่เกิน ๑๒๐ เซน็ ตเิ มตร ไมเ่ สยี คา่ เขา้ ชม เปดิ บรกิ าร แห่งชาติเม่ือวนั ท่ี ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ทกุ วนั ตง้ั แตเ่ วลา ๐๙.๐๐ -๑๙.๐๐ น. สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐๘ ๑๓๗๘ ๔๓๖๔, ๐๘ ๑๙๘๑ ๘๘๑๐ สถานทท่ี ่องเที่ยวภายในอุทยานฯ ตน้ สักใหญ่ อายุ ๑,๕๐๐ ปี อยหู่ มู่ ๔ ตำ� บลน�้ำไคร้ การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๕ ทางไป พบเม่อื ประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๐ ในพ้ืนท่ีบ้านปางเหลอื เขื่อนสิริกิต์ิ จากนั้นเล้ียวขวาไปทางสนามกอล์ฟ บริเวณกิโลเมตรท่ี ๕๖-๕๗ ลึกเข้าไปประมาณ จะพบบา้ น ณ ภาสิรอิ ยทู่ างขวามอื ๑ กโิ ลเมตร วดั ความโตทคี่ วามสงู ระดบั อก ๑.๓ เมตร อำ� เภอน�ำ้ ปาด จากพื้นดิน ได้ ๙๔๘ เซนติเมตร ต้นสักมีความสูง อนุสาวรีย์เจ้าพ่อพญาปาด พญาปาดเป็นผู้สร้าง ๓๗.๘ เมตร รอบโคนต้น ขนาด ๑๑ คนโอบ อายขุ อง เมืองน้�ำปาด เมืองฟากท่า ซึ่งในปัจจุบันคือ อ�ำเภอ ตน้ สกั ใหญป่ ระมาณ ๑,๕๐๐ ปี (เทยี บจากขนาดและ น�้ำปาดและอ�ำเภอฟากท่า มีเร่ืองเล่าสืบต่อกันมาว่า วงปีจากตอไม้สักบริเวณใกล้เคียง) และเน่ืองจาก ท่านพญาปาด เป็นคนลาวอาศัยอยู่ที่เวียงจันทน์ ลักษณะท่ีไม่สมบูรณ์ ล�ำต้นเป็นโพรงไม่เหมาะที่จะ ภายหลังได้ชักชวนพลเมืองเวียงจันทร์ และบริเวณ นำ� มาแปรรปู จงึ ทำ� ใหต้ น้ สกั ใหญร่ อดพน้ จาการทำ� ไม้ ใกล้เคียงอพยพมุ่งหน้ามาทางทิศตะวันตกของ ในอดตี เหลือไวเ้ ป็นอนสุ รณ์ให้คนรนุ่ หลังได้มีโอกาส เวียงจันทน์และได้เข้ามาต้ังถิ่นฐานขึ้นใหม่ท่ีริมฝั่ง ชมและศึกษาจนถึงปัจจุบัน ภายในอุทยานยังมี แม่นำ้� บา้ นสองคอน (อ�ำเภอฟากท่า) ต่อมาพญาปาด นทิ รรศการตน้ สกั ใหญไ่ วใ้ หศ้ ึกษาอีกดัวย ได้สร้างเมืองข้ึนมาใหม่อีกที่ต�ำบลบ้านฝาย (อ�ำเภอ น้�ำตกคลองตรอน เกดิ จากห้วยคลองตรอน มีน้�ำตก นำ้� ปาด) ซ่งึ ตง้ั อยรู่ มิ แมน่ ำ�้ เหมอื นกนั แมน่ ำ้� นั้นตอ่ มา ๒ แห่ง คือ แห่งแรกมี ๔ ชั้น มีความสูงประมาณ ไดช้ อื่ วา่ “แมน่ ำ้� ปาด” ตามชอื่ ของพญาปาด ในเดอื น ๒๐ เมตร แห่งท่ี ๒ ห่างจากแห่งแรกประมาณ มนี าคมของทกุ ป ี มกี ารจดั งานบวงสรวงเจา้ พอ่ พญาปาด ๑.๕ เมตร มคี วามสงู ประมาณ ๓๐ เมตร ตอ้ งเดนิ เทา้ เทศกาลหอม-กระเทียม และของดีอำ� เภอนำ้� ปาด” เขา้ ชมน้�ำตกทงั้ สอง อทุ ยานแหง่ ชาตติ น้ สกั ใหญ่ (อทุ ยานแหง่ ชาตคิ ลอง น้�ำตกห้วยคอม อยู่บริเวณตอนกลางของห้วยคอม ตรอน) หมู่ ๔ บ้านปางเกลอื ตำ� บลนำ�้ ไคร้ เป็นถนิ่ บา้ นหว้ ยคอม ตำ� บลนำ�้ ไผ่ ประกอบดว้ ยนำ�้ ตก ๓ แหง่ ก� ำ เ นิ ด ข อ ง ไ ม ้ สั ก ที่ ส� ำ คั ญ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ มี แห่งท่ี ๑ เปน็ น�้ำตกช้นั เดยี วสงู ประมาณ ๑๕ เมตร ต้นสกั ใหญข่ น้ึ อยู่ พนื้ ทป่ี ระกอบไปดว้ ยป่าธรรมชาติ แห่งท่ี ๒ อยู่หา่ งจากแหง่ แรก ๒๐๐ เมตร เป็นนำ้� ตก ท่ีสมบูรณ์ เป็นป่าเบญจพรรณผสมป่าเต็งรังบน ๒ ชนั้ สงู ประมาณ ๑๕ เมตร แหง่ ที่ ๓ ห่างจากแห่ง เนนิ เขา มยี อดดอย “ภเู ม่ียง” เป็นยอดดอยท่สี งู ที่สุด 20 อุตรดติ ถ์

ต้นสกั ใหญ่ 21อตุ รดิตถ์

ท่ี ๒ ประมาณ ๓๐ เมตร เป็นน�้ำตกช้ันเดียวสูง และเมอ่ื เดนิ ทางตอ่ ไปตามทางหลวงจงั หวดั หมายเลข ๒๐ เมตร การเดนิ ทางตอ้ งเดนิ เทา้ หา่ งจากหมทู่ บี่ า้ น ๑๐๔๗ อีกประมาณ ๑๑ กิโลเมตร ถึงทางแยกเข้า หว้ ยคอม ประมาณ ๕ กิโลเมตร ทท่ี ำ� การอทุ ยานแหง่ ชาตติ น้ สกั ใหญ่ โดยเดนิ ทางตาม ทางแยกเข้าไปอีก ๓ กิโลเมตร ถึงที่ท�ำการอุทยาน ยอดภูเม่ียง เป็นผาขนาดใหญ่ มีความสูงจากระดับ แห่งชาตติ ้นสักใหญ่ นำ�้ ทะเลปานกลาง ๑,๖๕๖ เมตร เปน็ เทอื กเขาแบง่ เขต จังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดพิษณุโลก เมื่ออยู่บน เส้นทางที่ ๓ ป่าคลองตรอนฝั่งขวา (ต้นสักใหญ่) หนา้ ผาแลว้ สามารถชมทัศนยี ภาพของท้ัง ๒ จังหวัด จากทางหลวงสายพษิ ณโุ ลก - อตุ รดติ ถ์ ตรงกโิ ลเมตร และมองเหน็ เขอ่ื นสริ กิ ติ ไิ์ ด้ นอกจากนยี้ งั พบกหุ ลาบ- ที่ ๑๐๔-๑๑๐ เข้าไปตามทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๗ พนั ปี ขา้ หลวงดงตาว เอนอา้ และขนั หมากปา่ รวมทง้ั ไปอกี ๕๓ กิโลเมตร จึงถงึ อุทยานฯ ตน้ สักใหญ่ พรรณไมน้ านาชนดิ และสตั วป์ า่ ตา่ ง ๆ เชน่ เกง้ หมปู า่ เสอื ลายเมฆ เลียงผา หมีกระจง และเต่าปูลู ตลอด เส้นทางที่ ๔ ป่าคลองตรอนฝ่ังขวา (ต้นสักใหญ่) จาก เส้นทางสู่ยอดภูเมี่ยง จะพบน้�ำตกท้ังหมด ๘ ช้ัน ทางหลวงสายอุตรดติ ถ์ - เขื่อนสริ กิ ิติ์ - น�้ำปาด แยก แต่ละช้ันมีลักษณะความสวยงามแตกต่างกันออกไป เข้าไปตรงกิโลเมตรที่ ๖๔-๖๕ เข้าไปตามทางหลวง บนยอดภเู มย่ี งสามารถกางเตน็ ทไ์ ด้ แตไ่ มม่ สี ง่ิ อำ� นวย หมายเลข ๑๐๔๗ ไปอกี ประมาณ ๙ กิโลเมตร จงึ ถงึ ความสะดวก การเดินทางเข้าชมต้องเดินเท้าเท่านั้น อุทยานฯ ต้นสักใหญ่ อุทยานฯ ยังมีที่พักบริการแก่นักท่องเท่ียว โดย แมน่ �้ำสองสี บรเิ วณสะพานเชื่อมระหว่างเข่ือนสิรกิ ิติ์ ส า ม า ร ถ จ อ ง ท่ี พั ก ไ ด ้ ด ้ ว ย ต น เ อ ง ผ ่ า น ท า ง กับตลาดสดบ้านปากปาด มีแม่น�้ำไหลมาบรรจบกัน www.dnp.go.th สอบถามข้อมูลได้ที่ ท่ีท�ำการ คอื แมน่ ำ�้ นา่ นทป่ี ลอ่ ยจากเขอ่ื นและแมน่ ำ�้ ปาดทไ่ี หล ลงมาจากชอ่ งเขาอีกดา้ นหนง่ึ เนือ่ งจากดนิ ฝงั่ อ�ำเภอ อุ ท ย า น ฯ โ ท ร . ๐ ๕ ๕ ๒ ๘ ๒ ๓ ๔ ๗ ห รื อ น�้ำปาดซึ่งส่วนใหญ่เป็นดินลูกรัง เวลาฝนตกก็จะ ๐๘ ๙๙๕๘ ๖๗๕๙ ชะล้างตะกอนแดงลงมาด้วย สอบถามข้อมูลได้ที่ การเดนิ ทาง แ ผ น ก ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ์ เข่ื อ น สิ ริ กิ ต์ิ โ ท ร . เส้นทางท่ี ๑ จากจังหวัดอุตรดิตถ์ไปอ�ำเภอน้�ำปาด ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๓๖ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๕ ระยะทาง ๖๘ กิโลเมตร จากท่ีท�ำการอ�ำเภอน้�ำปาด ใช้ทางหลวง พระใหญ่แห่งห้วยมุ่น ส�ำหรับนักท่องเท่ียวที่ใช ้ หมายเลข ๑๒๑๒ สายห้วยเดอ่ื -บา้ นเพยี ถึงบา้ นต้น เสน้ ทาง อำ� เภอบา้ นโคก-หว้ ยมนุ่ มาถงึ ทางโคง้ กอ่ นถงึ ขนนุ ระยะทางประมาณ ๒๓ กิโลเมตร ๓ แยกไปอำ� เภอนำ�้ ปาด จะเหน็ พระพทุ ธรปู องคใ์ หญ่ เส้นทางที่ ๒ ป่าคลองตรอนฝั่งซ้าย (ภูเมี่ยง) จาก อยูบ่ นเขา ชาวบ้านเรียกว่า “พระใหญ”่ อำ� เภอเมืองอตุ รดิตถ์ เดนิ ทางตามทางหลวงแผน่ ดิน อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว มีพ้ืนที่ครอบคลุมอยู่ใน หมายเลข ๑๑ (พิษณุโลก-เด่นชัย) ระหว่างหลัก ท้องที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้�ำปาด ท้องท่ีต�ำบลม่วง- กิโลเมตรท่ี ๑๐๗-๑๐๘ (สามแยกบา้ นปา่ ขนนุ ) แยก เจด็ ต้น ต�ำบลนาขุม ต�ำบลบา้ นโคก อ�ำเภอบ้านโคก ไปตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข ๑๐๔๗ ระหว่าง ตำ� บลหว้ ยมนุ่  อำ� เภอนำ�้ ปาด จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ตำ� บล หลักกิโลเมตรที่ ๓๖-๓๗ สามารถเที่ยวชมถ�้ำจัน บ่อภาค อ�ำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก  22 อตุ รดติ ถ์

เปน็ พนื้ ทที่ มี่ สี ภาพปา่ คอ่ นขา้ งสมบรู ณป์ กคลมุ ไปดว้ ย การเดินทาง ต้องเดินเท้าจากน้�ำตกภูสอยดาว ริม ป่าธรรมชาติทสี่ วยงาม เป็นแหลง่ ต้นน�ำ้ ลำ� ธาร ยอด เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒๖๘ ขึ้นสู่ยอด สูงสุดของภูสอยดาวสูงจากระดับน้�ำทะเล ๒,๑๐๒ ภูสอยดาวระยะทางประมาณ ๖.๕ กิโลเมตร ใชเ้ วลา เมตร ซึ่งสงู เปน็ อันดบั ๔ ของประเทศไทย อทุ ยาน เดนิ เทา้ ประมาณ ๔-๖ ชว่ั โมง ตอ้ งตดิ ตอ่ ขอเจา้ หนา้ ท่ี แห่งชาติภูสอยดาวมีเนื้อท่ี ๑๒๕,๑๑๐ ไร่ หรือ น�ำทางจากอุทยานฯ ซึ่งมีบริการลูกหาบช่วยขน ๒๐๐.๑๘ ตารางกิโลเมตร สมั ภาระ ทง้ั นท้ี างอุทยานฯ อนญุ าตใหข้ ้ึนภูไดต้ งั้ แต่ เวลา ๐๘.๐๐-๑๔.๐๐ น. สถานทที่ อ่ งเท่ียวภายในอุทยานฯ หลักเขตไทย-ลาว เป็นหลักเขตที่ปักปันเขตแดน น�้ำตกภูสอยดาว อยู่ริมเส้นทางหลวงแผ่นดิน ระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตย หมายเลข ๑๒๖๘ ใกล้กับท่ีท�ำการอุทยานแห่งชาต ิ ประชาชนลาว ท�ำขน้ึ หลังสงครามบา้ นร่มเกลา้ มีท้ังหมด ๕ ช้ัน แต่ละช้ันมีช่ือเรียกที่ไพเราะว่า ภูสอยดาว สกาวเดือน เหมือนฝัน กรรณิการ์ และ ส่งิ อ�ำนวยความสะดวก สภุ าภรณ์ มีนำ�้ ไหลตลอดปี ที่จอดรถ มที จ่ี อดรถใหบ้ รกิ ารแกน่ ักทอ่ งเท่ยี ว บริการอาหาร มีร้านอาหารไว้บริการนักท่องเที่ยว นำ�้ ตกสายทิพย์ เป็นน้�ำตก ๗ ชั้น ความสูงแต่ละช้นั เฉพาะทางข้ึนภ ู ประมาณ ๕-๑๐ เมตร สภาพป่าโดยรอบน้�ำตก ลานกางเตน็ ท์ อทุ ยานฯ มเี ตน็ ทแ์ ละสถานทก่ี างเตน็ ท์ มีความชุ่มชื้นมาก จึงมีมอสสีเขียวขึ้นปกคลุมท่ัวไป ไว้ให้บริการนักท่องเท่ียว สอบถามข้อมูล โทร. ตามกอ้ นหินรมิ น�้ำ ๐ ๕๕๔๓ ๖๐๐๑-๒ หรือ www.dnp.go.th ทงุ่ ดอกไมใ้ นปา่ สน  ชว่ งฤดฝู น ระหวา่ งเดอื นสงิ หาคม ศูนย์บริการนักท่องเท่ียว เปิดให้บริการข้อมูลทุกวัน ถึงเดือนกันยายนของทุกปี จะมีดอกไม้ดินชูช่อแย่ง ไม่เว้นวันหยุดราชการ ระหว่างเวลา ๐๘.๐๐ - กันออกดอกเป็นกลุ่มหนาแน่น เช่น ดอกหงอนนาค ๑๖.๓๐ น. ดอกสร้อยสุวรรณา และดอกหญ้ารากหอม ในฤดู การเดินทาง นักท่องเท่ียวสามารถเดินทางได้ ๓ หนาวจะมีดอกกระดุมเงิน กล้วยไม้รองเท้านารี- เสน้ ทาง คอื อินทนนท์ และต้นเมเปิลซ่ึงจะเปล่ียนเป็นสีแดง - จากจังหวัดพิษณุโลก ขับรถไปตามทางหลวง สวยงามมาก หมายเลข ประมาณ ๖๔ กิโลเมตร แลว้ เล้ยี วขวาไป ลานสนสามใบภูสอยดาว มีพ้ืนที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ตามทางหลวงหมายเลข ๑๒๔๖ ประมาณ ๑๒ กวา่ ไร่ เปน็ ทรี่ าบบนภเู ขา ตงั้ อยสู่ งู จากระดบั นำ�้ ทะเล กิโลเมตร ถึงบ้านแพะเลี้ยวขวาไปตามทางหลวง ประมาณ ๑,๖๓๓ เมตร สภาพพ้ืนที่ของลานสน- หมายเลข ๑๑๔๓ ประมาณ ๔๓ กิโลเมตร ถึงอำ� เภอ สามใบจะเปน็ เนนิ สงู ตำ�่ สลบั กนั ไป ชนั้ ลา่ งเปน็ ทงุ่ หญา้ ชาติตระการ แยกเข้าทางหลวงหมายเลข ๑๒๓๗ กวา้ งใหญ่ ทีส่ ุดในประเทศ บนลานสนยงั เปน็ จดุ ชม ประมาณ ๕๘ กโิ ลเมตร ผา่ นบ้านบอ่ ภาคไปบรรจบ พระอาทิตย์ตกทส่ี วยงาม แต่ไมม่ บี า้ นพักและอาหาร กับทางหลวงหมายเลข ๑๒๖๘ ประมาณ ๑๒ หากตอ้ งการพกั คา้ งแรมตอ้ งเตรยี มเตน็ ทแ์ ละอาหาร กิโลเมตร ถึงน�้ำตกภูสอยดาว และศูนย์บริการนัก ไปเอง ท่องเท่ียว ขับต่อไปอีกประมาณ ๑ กิโลเมตร 23อตุ รดิตถ์

จะพบกับท่ีท�ำการอุทยานแห่งชาติภูสอยดาว รวม เชื่อมโยง สวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้า พิษณุโลก ระยะทางประมาณ ๑๘๙ กโิ ลเมตร ในพระราชดำ� รไิ ด้ โดยภายในสวนฯ ไดม้ กี ารจดั แสดง - จากจงั หวดั อตุ รดติ ถ ์ ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๐๔๗ พรรณไม้ประจ�ำถิ่น ไม้หายากและใกล้สูญพันธุ์ (อุตรดิตถ์-น�้ำปาด) ระยะทาง ๗๑.๓ กิโลเมตร ถึง มีโรงเรือนรวบรวมกล้วยไม้ไทย ที่หาชมได้ยากกว่า อ�ำเภอนำ้� ปาด แลว้ เขา้ สทู่ างหลวงหมายเลข ๑๒๓๙ ๓๐๐ ชนดิ รวมถึงพันธ์ุไม้ทีค่ น้ พบชนิดใหมข่ องโลก ระยะทาง ๓๘.๖ กิโลเมตร เล้ียวขวาสู่ทางหลวง คือ สร้อยสยาม สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๕๕๓๑ หมายเลข ๑๒๖๘ อีก ๑๕.๕ กโิ ลเมตร จะถงึ น�้ำตก ๖๗๑๓-๕ ภสู อยดาว และศนู ยบ์ รกิ ารนกั ทอ่ งเทยี่ ว ขบั ตอ่ ไปอกี ประมาณ ๑ กิโลเมตร จะพบกับท่ีท�ำการอุทยาน อ�ำเภอบา้ นโคก แห่งชาติภูสอยดาว รวมระยะทางประมาณ ๑๓๓ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ต้ังอยู่ท่ีหมู่ ๒ ต�ำบลม่วง- กิโลเมตร เจ็ดต้น ประกาศเป็นจุดผ่านแดนถาวรเมื่อวันที่ - เดินทางโดยรถโดยสารประจ�ำทาง มีรถโดยสาร ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกใน ปรบั อากาศออกจากบรเิ วณหนา้ สถานรี ถไฟอตุ รดติ ถ์ การคมนาคมขนส่ง การพัฒนาเศรษฐกจิ การค้าและ หลังเก่า ไปอ�ำเภอน�้ำปาดทุกช่ัวโมง ตั้งแต่เวลา การทอ่ งเทย่ี ว เพอ่ื รองรบั การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. ใช้เวลาประมาณ ๒.๓๐ ชั่วโมง ใน ปี ๒๕๕๘ ท�ำใหส้ ามารถเดินทางจงั หวัดอตุ รดิตถ์ จากน้นั ลงรถทีห่ น้าโรงพยาบาลอ�ำเภอนำ�้ ปาด เหมา ไปยงั เมอื งหลวงพระบาง สปป.ลาวได้ โดยมรี ะยะทาง รถสองแถวไปภูสอยดาวใช้เวลาเดินทางอีกประมาณ ดงั น ้ี ๓ ชั่วโมง - จังหวัดอุตรดิตถ์-จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ระยะทาง ๑๖๐ กิโลเมตร ใช้เวลา ๒.๓๐ ชวั่ โมง สำ� หรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วทตี่ อ้ งการจะเดนิ ทางกลบั ไปทาง - จุดผ่านแดนถาวรภูดู่-เมืองปากลาย (สสป.ลาว) อำ� เภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ตอ้ งเหมารถไป ระยะทาง ๓๘ กิโลเมตร ใชเ้ วลา ๔๐ นาที ใชเ้ วลา ๒ ชัว่ โมง และตอ่ รถโดยสารทอ้ งถนิ่ เส้นทาง - เมืองปากลาย-แขวงไชยะบุลี ระยะทาง ๑๕๐ อำ� เภอชาตติ ระการ – นครไทย – พิษณโุ ลก ใช้เวลา กิโลเมตร ใช้เวลา ๓ ชว่ั โมง เดินทางประมาณ ๓ ช่ัวโมง บริการระหว่างเวลา - แขวงไชยะบุลี-หลวงพระบาง ระยะทาง ๑๑๐ ๐๕.๐๐-๑๗.๓๐ น. กโิ ลเมตร ใชเ้ วลา ๒ ชว่ั โมง หมายเหตุ หากนักท่องเที่ยวเดินทางไปถึงอุทยาน ดังนั้น การเดินทางจากจังหวัดอุตรดิตถ์ไปยังเมือง แหง่ ชาตภิ สู อยดาวแลว้ ไมส่ ามารถขน้ึ ยอดภสู อยดาว มรดกโลก หลวงพระบาง สปป.ลาว ระยะทาง ๔๕๘ ได้ทัน (ก่อนเวลา ๑๔.๐๐ น.) อทุ ยานแหง่ ชาติฯ ได้ กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ ๘ ชว่ั โมง การเปดิ จดั เตรยี มสถานทก่ี างเตน็ ทไ์ วบ้ รกิ าร บรเิ วณทท่ี ำ� การ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ท�ำให้การเดินทางสะดวกข้ึน อทุ ยานแหง่ ชาติ สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ี่ อทุ ยานแหง่ ชาติ เนื่องจากไม่ต้องขึ้นภูเขาที่ชันมาก และเป็นถนน ภสู อยดาว โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๖๐๐๑-๒ ลาดยางตลอดเส้นทาง นอกจากน้ี นักท่องเท่ียวยังสามารถเดินทางจาก นอกจากนี้ จุดผ่านแดนถาวรภดู ู่ สามารถเดนิ ทางไป อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว ไปยังแหล่งท่องเที่ยว 24 อุตรดิตถ์

จุดผา่ นแดนถาวรภูดู่ ยงั นครเวยี งจนั ทน์ สปป. ลาวเพียง ๒๓๐ กโิ ลเมตร ๑๖.๓๐ น. โดยข้ามแพขนานยนต์ที่เมืองปากลายไปยังเมือง - ค่าธรรมเนยี มท่ดี า่ นสากลพดู ู่ (ผาแกว้ ) สะมะคาม แขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ซ่ึงขณะน้ี - ค่าผ่านด่านคนละ ๔๐ บาท (พ.ศ. ๒๕๕๘) สะพานข้ามแม่น�้ำโขงท่ีเมอื งปากลาย - คา่ ธรรมเนียมรถยนต์ คนั ละ ๒๕๐ บาท รถยนตท์ กุ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยจะแล้วเสร็จและเปิดใช้ คันที่ผ่านด่านสากลพูดู่ (ผาแก้ว) จะต้องท�ำประกัน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ซง่ึ จะทำ� ใหก้ ารเดนิ ทางจากจงั หวดั รถยนต์ คันละ ๓๐๐ บาท ระยะเวลา ๗ วัน อุตรดิตถ์ไปนครเวียงจันทน์มีระยะทาง ๔๐๐ กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาเพียง ๖-๗ ชัว่ โมง การน�ำรถยนตเ์ ข้า สปป.ลาว (สะพานข้ามแม่น�้ำโขง-เวียงจันทน์ ๒๐๐ กิโลเมตร การขบั รถขา้ มแดนไปยงั สปป.ลาว เจา้ ของรถจะตอ้ ง เป็นเส้นทางภูเขาอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ๓๐ มีหลกั ฐาน ดังน ี้ กโิ ลเมตร พน้ื ทร่ี าบอยรู่ ะหวา่ งกอ่ สรา้ ง ๒๐ กโิ ลเมตร - หนงั สอื อนญุ าตรถระหวา่ งประเทศ หรอื พาสปอรต์ - และเป็นทางลาดยาง ๑๕๐ กโิ ลเมตร) รถ ซึ่งสามารถตดิ ต่อขอรับได้ ณ กรมการขนสง่ ทาง - จดุ ผา่ นแดนถาวรภูดู่ จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ เปิดท�ำการ บกจตุจักร หรือ ส�ำนักงานขนส่งจังหวัดทั่วประเทศ ทกุ วนั ตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐-๒๐.๐๐ น. เพียงน�ำรถเข้ารับการตรวจสภาพ พร้อมหลักฐาน - ด่านสากลพดู ู่ (ผาแกว้ ) เมอื งปากลาย แขวงไซยะบุ ได้แก่ ส�ำเนาสมุดคู่มือจดทะเบียน และส�ำเนาบัตร ลี สปป. ลาว เปดิ ทำ� การทกุ วนั ตัง้ แตเ่ วลา ๐๘.๓๐- ประจ�ำตวั ประชาชนมาแสดง โดยเจ้าของรถจะไดร้ บั พาสปอร์ตรถและสต๊ิกเกอร์แสดงประเทศ ส�ำหรับ 25อุตรดติ ถ์

น�ำไปติดไว้ทร่ี ถก่อนนำ� รถเข้า สปป.ลาว - ทะเบียนบา้ นผ้ถู ือกรรมสิทธิ์ - เอกสารของผู้ขับรถหรือผู้เดินทาง ประกอบด้วย กรณีผถู้ อื กรรมสิทธ์ิไม่มาเอง หนงั สอื เดนิ ทาง (พาสปอรต์ ) จากกรมการกงสลุ และ ๑. คูม่ ือจดทะเบียนรถยนต์ (ฉบับจริง) หนังสือผ่านแดน ซ่ึงสามารถติดต่อขอรับได้ ณ ๒. ใบมอบอ�ำนาจตัวจรงิ อากรแสตมป์ ๑๐ บาท ท่ีท�ำการ บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด ภายในสถานีขนส่ง ๓. สำ� เนาใบมอบอำ� นาจ ผู้โดยสารจังหวัดชายแดนไทย-ลาว โดยน�ำส�ำเนา ๔. สำ� เนาเอกสารหนา้ ผ้ถู อื กรรมสิทธ์ ิ บัตรประชาชน และรูปถ่ายขนาด ๑ น้ิว จ�ำนวน ๕. สำ� เนาหนา้ รายการเสยี ภาษ ี ๒ รปู ไปแสดง ๖. สำ� เนาบัตรประจำ� ตัวผู้มอบอำ� นาจ - สำ� หรบั ผขู้ บั รถทม่ี ใี บอนญุ าตขบั รถแบบเดมิ จะตอ้ ง ๗. สำ� เนาบตั รประชาชนผู้รับมอบอำ� นาจ น�ำใบอนุญาตขับรถ และส�ำเนาบัตรประชาชน ไป หมายเหตุ ค่าธรรมเนียมการขอพาสปอร์ตรถยนต ์ ติดต่อขอท�ำใบอนุญาตขับรถแบบใหม่เป็นภาษา ๕๕ บาท จะได้พาสปอร์ตเล่มม่วง ๑ เล่มและ องั กฤษ ณ กรมการขนสง่ ทางบก หรอื สำ� นกั งานขนสง่ สติ๊กเกอร์ ตวั T ๒ ใบ ทวั่ ประเทศ เอกสารการผา่ นแดน - ส�ำหรับผู้มีใบอนุญาตขับรถรูปแบบใหม่ซ่ึงถ่ายรูป ๑. หนังสือเดินทาง (พาสปอร์ต) สามารถเดินทาง เจา้ ของลงบนบัตรและมขี ้อความภาษาอังกฤษกำ� กบั ไปท่วั สปป. ลาว สามารถออกได้ทุกด่าน (ในขณะนี้ ข้อความภาษาไทย สามารถใช้ขับรถใน สปป.ลาว ดา่ นสากลพดู ู่ (ผาแกว้ ) ผา่ นเขา้ ออกได้ เฉพาะคนไทย และประเทศในกลุ่มอาเซียนได้โดยไม่ต้องน�ำไป และ สปป.ลาวเท่านัน้ ประเทศที่ ๓ ยงั ผ่านไม่ได้) แปลอกี ๒. เอกสารผ่านแดนชว่ั คราว มีก�ำหนด ๓ วนั ๒ คืน อยู่ได้เฉพาะในแขวงไชยะบุลีเท่าน้ัน สอบถามข้อมูล ท้ังน้ี ผู้ประสงค์เปลี่ยนใบอนุญาตขับรถเป็นแบบ ไดท้ ี่ สำ� นกั งานจงั หวดั อตุ รดติ ถ์ โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๑๙๗๗ พลาสตกิ สามารถดำ� เนินการได้ ณ ส�ำนกั งานขนส่ง ตอ่ ๒๒๓๓๔ หรอื อบต.ม่วงเจด็ ตน้ โทร. ๐ ๕๕๘๑ ทว่ั ประเทศเชน่ กนั เพยี งนำ� ใบอนญุ าตฉบบั เดมิ พรอ้ ม ๓๑๔๒ ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนมาแสดง เสียค่า ธรรมเนียมเปลี่ยนใบอนุญาตและค่าค�ำขอเปล่ียน ตลาดการค้าชายแดนไทย-ลาว (ตลาดนัดบ้าน จ�ำนวน ๑๐๕ บาท และค่าบริการถา่ ยรปู อีก จ�ำนวน บ่อเบี้ยหรือตลาดช่องมหาราช) ตั้งอยู่หมู่ ๑ ๑๐๐ บาท ต�ำบลบ่อเบ้ีย ถ้าผ่านชายแดนเข้าไปจะพบหมู่บ้าน ๓ แหง่ ไดแ้ ก่ บา้ นใหม่ บา้ นกลางและบ้านสว่าง ซงึ่ เอกสารประกอบการขอพาสปอร์ตรถยนต์ เคยเป็นสาเหตุสงครามไทย-ลาว เม่ือ ปี ๒๕๒๗ ปัจจุบันยังไม่เป็นท่ียุติว่าหมู่บ้านดังกล่าวเป็นของ กรณผี ้ถู อื กรรมสิทธมิ์ าเอง ประเทศใด ส่วนทางช่องมหาราชสามารถเข้าไปถึง - คมู่ อื จดทะเบยี นรถยนต์ (ฉบบั จริง) เมอื งทงุ่ มไี ซ สปป.ลาวได้ ซงึ่ ทกุ วนั อาทติ ยจ์ ะเปดิ เปน็ - สำ� เนาเอกสารหนา้ ผู้ถอื กรรมสทิ ธ ์ิ จุดค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าไทยกับ สปป. ลาว - สำ� เนารายการเสยี ภาษี ส อ บ ถ า ม ข ้ อ มู ล ไ ด ้ ที่ อ บ ต . บ ่ อ เ บ้ี ย โ ท ร . - สำ� เนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน 26 อุตรดติ ถ์ ๐ ๕๕๔๓ ๖๗๖๖

ตลาดการคา้ ชายแดนไทย-ลาว ตลาดผอ่ นปรนชอ่ ง หนา้ วดั มหาธาตุ เปน็ ศาลทส่ี รา้ งขน้ึ ใหม่ มขี นาดใหญ่ ห้วยต่าง เขตติดต่อหมู่ ๗ บ้านหนองไผ่ กับบ้าน และดูโดดเด่นเป็นสง่า มีรูปปั้นพระยาพิชัยดาบหัก ขอนแกน่  เมอื งบอ่ แตน เมอื งแกน่ ทา้ ว สปป.ลาว เปน็ น่ังอยู่บนแท่น มีเส้ือผ้าและอาวุธเก่าแก่เก็บรักษาไว้ ตลาดท่ีเปิดโอกาสให้ประชาชนของท้ังสองประเทศ รวมกบั สิ่งของทมี่ ผี ูน้ �ำมาถวาย ไดซ้ อื้ ขายแลกเปลยี่ นสนิ คา้ อปุ โภค บรโิ ภคและสนิ คา้ อ่นื ๆ เพ่อื กระตุ้นเศรษฐกจิ ในพ้ืนที่ชายแดน สำ� หรับ พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นเกดิ พระยาพชิ ยั ดาบหกั ตง้ั อยทู่ บี่ า้ น สินคา้ ท่ี สปป. ลาวนำ� มาขาย ได้แก่ เหลก็ เกา่ สินค้า หว้ ยคา ตำ� บลในเมอื ง หา่ งจากอ�ำเภอพชิ ยั ไปทางทิศ ทางการเกษตรตามฤดูกาล ถ่ัวชนิดต่างๆ สินค้า ตะวนั ออกประมาณ ๕ กโิ ลเมตร เปน็ สถานทเ่ี กดิ ของ พื้นบ้าน ไวน์ สินค้าท่ีระลึกมากมาย เปิดทุกวันพุธ พระยาพิชัยดาบหัก ตัวอาคารพิพิธภัณฑ์ตกแต่งไว้ ตัง้ แต่เวลา ๐๖.๐๐-๑๓.๐๐ น. สอบถามขอ้ มูลได้ที่ อย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะชีวประวัติท่ีน่าศึกษา และ เทศบาลต�ำบลบา้ นโคก โทร. ๐ ๕๕๔๘ ๖๐๘๗ วีรกรรมของท่านโดยละเอียด เพ่ือเป็นการระลึกถึง คณุ งามความดขี องทา่ น อกี ทง้ั ยงั มกี ารจำ� ลองวถิ ชี วี ติ อ�ำเภอพชิ ยั ชาวพชิ ยั ไวอ้ ยา่ งนา่ ชม มกี ารปรบั แตง่ ภมู ทิ ศั นท์ แ่ี สดง ศาลพระยาพิชัยดาบหัก ตั้งอยู่ริมแม่น้�ำน่าน ถนน ถึงวิถีชีวิตชุมชนชาวเมืองพิชัยท่ีเคยรุ่งเรืองในอดีต พิพธิ ภัณฑบ์ า้ นเกดิ พระยาพชิ ัยดาบหัก 27อุตรดติ ถ์

เพ่ือให้เด็กและเยาวชนตลอดจนประชาชนได้ศึกษา ต�ำนานระบุว่าสร้างโดยพระยาโคตรบอง เม่ือ พ.ศ. คน้ ควา้ เรยี นรดู้ า้ นศาสนา และศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ๑๔๗๐ และภายในวหิ ารยังเปน็ ทป่ี ระดิษฐาน “รอย พระพทุ ธบาทจ�ำลอง” ด้วย ในบริเวณวัดมพี ระเจดยี ์ วดั มหาธาตุ ตง้ั อยหู่ า่ งจากตวั เมอื งพชิ ยั ไปทางทศิ ใต้ ยอด ๕ องค์ สูง ๔๙ เมตร บรรจุ “พระบรม ประมาณ ๑ กิโลเมตร เป็นวดั ที่สมเด็จพระเจา้ บรม- สารีริกธาตุ” และจะมีการจัดงานประเพณีนมัสการ วงศเ์ ธอฯ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ ไดม้ าประทบั หลวงพ่อโตและของดีเมืองพิชัยในเดือนกุมภาพันธ์ เมื่อครั้งเสด็จตรวจราชการหัวเมืองฝ่ายเหนือท่ีเมือง ของทกุ ปี พิชัย หลักฐานทางโบราณคดีที่พบในวัดมหาธาตุ ได้แก่ เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง ใบเสมา และโบสถ์ซึ่ง พระนอนพรอ้ มสาวก ประดษิ ฐานอยทู่ โ่ี บสถพ์ ระนอน ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปสัมฤทธ์ิปางมารวิชัย ต�ำบลพิชัย เป็นศิลปะสมัยอยุธยา มีพุทธลักษณะ ขนาดหน้าตักกว้าง ๔๐ น้ิว ชายสังฆาฎิยาว ปลาย เป็นพระนอนปางพระเจ้าเข้านิพพานอยู่บนแท่น มี เป็นรปู เข้ียวตะขาบ มีรัศมรี ูปเปลว เมด็ พระศกใหญ่ พระสาวกลอ้ มรอบและแสดงอากปั กริ ยิ าตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ และเรียงตัวโค้งลงมาบรรจบกันท่ีกลางพระนลาฏ กศุ โลบาย จ�ำนวน ๙ รปู ซง่ึ ปัจจุบนั เหลอื เพยี งโบสถ์ เป็นศิลปะแบบสโุ ขทัย และพระนอนเทา่ นน้ั ทมี่ กี ารทนบุ ำ� รงุ หลายสมยั แตเ่ ดมิ พระนอนและพระพุทธสาวกมีองค์สีด�ำ แต่ภายหลัง กำ� แพงเมอื งพชิ ยั จากการสำ� รวจทางโบราณคดพี บวา่ ได้มกี ารลงรักปดิ ทองเพื่อความสวยงาม สภาพของกำ� แพงเมอื งดา้ นทศิ ตะวนั ออก จะเหน็ เปน็ แนวกำ� แพงเมือง เน่อื งจากบริเวณใกล้เคียงเปน็ พ้นื ที่ สะพานปรมนิ ทร์ ตง้ั อยู่หมู่ ๔ ตำ� บลดารา กอ่ สรา้ ง ทำ� การเกษตร จงึ ไมค่ อ่ ยมกี ารสรา้ งบา้ นเรอื นบนแนว ขนึ้ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๔๙ ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ เปน็ สะพาน ก�ำแพงเมืองท�ำให้พ้ืนที่ไม่ถูกรบกวนมากนัก ก�ำแพง รถไฟท่ีข้ามแม่น้�ำน่านก่อนถึงสถานีรถไฟชุมทาง เมืองพิชัยมีลักษณะเป็นเนินดินสูงประมาณ ๔-๕ บ้านดารา และเป็นสะพานรถไฟใหญ่ท่ีสุดของทาง เมตร กว้างประมาณ ๑๐ เมตร เริ่มตั้งแต่ทาง รถไฟสายเหนือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า- ทิศเหนือติดกับถนนสายพิชัย-ตรอน ยาวไปทาง เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ ไดท้ รงประกอบพระราชพธิ เี ปดิ ตะวันออก จากน้ันหักมุมลงไปทางทิศใต้ประมาณ เม่อื วันที่ ๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๕๒ และพระราชทาน ๘๐๐ เมตร แล้วหักมุมมาทางทิศตะวันตกจนสุด นามว่า “สะพานปรมินทร์” ต่อมาระหว่างปี พ.ศ. ถนนสายพิชัย-ตรอนอีกคร้ัง สันนิษฐานว่ามีการ ๒๔๘๕-๒๔๘๘ ประเทศไทยเข้าสู่ภาวะสงครามโลก กอ่ สรา้ งขนึ้ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถเมอ่ื ครง้ั ท่ี ๒ (สงครามมหาเอเชยี บรู พา) จากการทงิ้ ระเบดิ พ.ศ. ๒๐๓๓ ท�ำให้สะพานปรมินทร์พังเสียหาย ภายหลังสงคราม สนิ้ สดุ จงึ ไดบ้ รู ณะใหเ้ ปน็ สะพานเหลก็ แลว้ เสรจ็ เมอ่ื ปี วดั หน้าพระธาตุ ต้งั อย่รู ิมแม่นำ้� นา่ น หมู่ ๑ ต�ำบล พ.ศ. ๒๔๙๖ ในเมือง เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองพิชัยอายุราว ๑,๐๐๐ ปี ภายในบรเิ วณวดั มโี บราณวตั ถทุ สี่ ำ� คญั คอื อ�ำเภอฟากท่า “หลวงพ่อโต” เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ สุสานหอยล้านปี ต้ังอยู่ท่ีบ้านนาไร่เดียว หมู่ ๕  หน้าตักกว้าง ๓ วา ประดิษฐานอยู่ในวิหารแบบ ต�ำบลสองห้อง บริเวณที่พบสุสานห่างจากบ้านนาไร่ ปราสาทจัตุรมุข เน้ือท่ีภายใน ๙๙ ตารางวา ตาม เดียวประมาณ ๑ กิโลเมตร มีเน้ือที่ประมาณ ๒ ไร่ 28 อุตรดติ ถ์

สภาพพ้ืนที่เป็นเนินเขาที่อยู่ติดริมล�ำห้วยม่วง  หมายเลข ๑๐๔๑ อกี ๖ กโิ ลเมตร ถึงอำ� เภอลบั แล ลักษณะที่พบมีเปลือกหอยติดอยู่กับหินจ�ำนวนมาก สันนิษฐานว่า บริเวณดังกล่าวเคยเป็นทะเล หรือ อนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ อยู่บริเวณส่ีแยกตลาด หนองนำ้� ขนาดใหญ่ ลบั แล ทา่ นเกดิ ทเี่ มอื งลบั แล มชี อื่ เดมิ วา่ นายทองอนิ เป็นนายอากรสุราเชื้อสายจีน แต่ด้วยความรักใน พระพทุ ธรตั นญาณสงั วร หรอื “หลวงพอ่ โตทนั ใจ” บ้านเกิดและเป็นคนที่มีความคิดก้าวหน้า ท่านจึงได้ ประดษิ ฐานอยูท่ ่ีบ้านวังขวญั หมูท่ ่ี ๙ ต�ำบลฟากทา่ พัฒนาเมืองลับแลมาโดยตลอด เช่น ทางด้านการ เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร ขนาดหน้าตักกว้าง คมนาคมท่านได้วางผังเมืองลับแล ด้านชลประทาน ๕.๗๐ เมตร สูง ๙.๗๐ เมตร สร้างข้ึนจากความ มกี ารสรา้ งฝายหลวง ดา้ นการปกครองท่านเปน็ นาย เล่อื มใสศรทั ธาของประชาชน เพ่อื เป็นทีส่ ักการบชู า อ�ำเภอคนแรกท่ีใช้การปกครองแบบพ่อปกครองลูก ของชาวอ�ำเภอฟากท่า และเน่ืองในปีมหามงคลท่ี ดา้ นการศกึ ษาทา่ นไดต้ ง้ั โรงเรยี นราษฎรแ์ หง่ แรกของ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหา อ�ำเภอลับแลและต่อมาได้สร้างโรงเรียนพนมมาศ สงั ฆปริณายกเจรญิ พระชนมายุ ๑๐๐ พรรษา อกี ทั้ง พิทยากรอีกแห่งหนึ่ง ส่วนด้านอุตสาหกรรมท่านได้ ยังเป็นวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า- ริเร่ิมให้ชาวบ้านมีรายได้ด้วยการท�ำไม้กวาดจาก เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เสดจ็ ฯ เยือนจงั หวัดอุตรดิตถ์ ดอกตองกงจนเป็นสินค้าท่ีขึ้นช่ือ ผลงานของท่าน ครบรอบ ๑๑๒ ปี จึงจัดการทอดผ้าป่าสามัคคีข้ึน สร้างความเจริญให้แก่อ�ำเภอลับแลเป็นอย่างมาก เพ่อื สร้างพระพุทธรปู ณ บรเิ วณลานโคกธาตวุ ังขวัญ จึงเป็นที่เคารพนับถือของชาวลับแล ในสมัยรัชกาล ท่ี ๕ ท่านได้รับบรรดาศักด์ิเป็นขุนพิศาลจีนะกิจ อ�ำเภอลบั แล และต่อมาได้เลื่อนเป็นพระศรีพนมมาศ มียศเป็น อ�ำเภอลับแล อยู่ห่างจากตัวเมืองอุตรดิตถ์ ๙ อ�ำมาตย์ตรี ด�ำรงต�ำแหน่งเกษตรมณฑลพิษณุโลก กิโลเมตร เป็นเมืองโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. ๒๔๕๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เคย เสด็จมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ค�ำว่า “ลับแล” น้ัน ซุ้มประตูเมืองลับแล เป็นซุ้มประตูเมืองท่ีสร้างข้ึน สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพสันนิษฐานว่า ใหม่ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเมืองลับแล ลักษณะ ชาวเมืองแพร่และเมืองน่านได้หนีข้าศึกและความ สถาปัตยกรรมเป็นศิลปะประยุกต์แบบสุโขทัย มี เดือดร้อนมาต้ังชุมชนอยู่บริเวณน้ี เนื่องจาก ขนาดกว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๔๑ เมตร ออกแบบโดย ภูมิประเทศเป็นป่ารกและอยู่ในหุบเขาที่ซับซ้อน กรมศลิ ปากร ทด่ี า้ นขา้ งของซมุ้ ประตมู ปี ระตมิ ากรรม คนนอกเขา้ มาในพน้ื ทจี่ ะหลงทางไดง้ า่ ย อำ� เภอลบั แล รูปปนั้ หญงิ สาวยนื อ้มุ ลกู น้อยสีหนา้ เศร้าสรอ้ ย ข้างๆ นอกจากจะมโี บราณสถานทนี่ า่ สนใจมากมายแลว้ ยงั มสี ามนี ง่ั กม้ หนา้ ในมอื ถอื ถงุ ยา่ มใสข่ มนิ้ เตรยี มเดนิ ทาง เปน็ แหลง่ ผลติ สนิ คา้ หตั ถกรรมผา้ ตนี จก และไมก้ วาด ออกจากเมอื งลบั แล ตามตำ� นานของเมอื งลบั แลทเ่ี ลา่ ตองกงอกี ทงั้ ยงั เปน็ แหลง่ ปลกู ลางสาดซงึ่ เปน็ ผลไมท้ ่ี สบื ตอ่ กันมา ขน้ึ ชอื่ ของจงั หวดั ด้วย “มีชายหน่มุ ชาวท่งุ ยัง้ ได้หลงเข้าไปในเมืองลับแล ซง่ึ การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๐๒ ไปประมาณ ทง้ั เมอื งมแี ตผ่ หู้ ญงิ ทถ่ี อื ศลี หา้ มพดู ปดอยา่ งเครง่ ครดั ๓ กิโลเมตร ถึงทางแยกแล้วเล้ียวขวาไปทางหลวง 29อตุ รดิตถ์

ชายหนมุ่ ไดพ้ บรกั และแตง่ งานกบั หญงิ สาวในหมบู่ า้ น ทางกลับเข้าเมอื งลับแลไดอ้ ีก” และสญั ญาวา่ จะอยใู่ นศลี ธรรมไมพ่ ดู ปด อยมู่ าวนั หนง่ึ ภรรยาไมอ่ ยู่บา้ น ลกู นอ้ ยก็ร้องไหไ้ มย่ อมหยุด ทำ� ให้ พิพิธภัณฑ์เมืองลับแล เป็นศูนย์กลางเผยแพร่ ผเู้ ปน็ พอ่ ปลอบวา่ “แมม่ าแลว้ ๆ” เพอื่ ใหล้ กู หยดุ รอ้ ง ให้ความรู้เก่ียวกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ขนบ เม่ือแม่ยายได้ยินก็น�ำไปเล่าให้ลูกสาวฟัง ท�ำให ้ ธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวิถีชีวิต หญิงสาวเสียใจมากที่สามีไม่รักษาวาจาสัตย์ จึงไล่ ชุมชนของเมืองลับแลต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน รวมท้ัง สามีออกจากหมู่บ้าน พร้อมกับได้จัดย่ามใส่เสบียง ผลงานของพระศรีพนมมาศ มียศเป็นอ�ำมาตย์ตรี รวมท้ังหัวขม้ินจ�ำนวนหนึ่ง และก�ำชับไม่ให้เปิดย่าม ดำ� รงตำ� แหนง่ เกษตรมณฑลพษิ ณโุ ลก ซงึ่ ทา่ นไดส้ รา้ ง จนกว่าจะถึงบ้าน แต่ระหว่างเดินทางชายหนุ่มรู้สึก ความเจริญให้แก่อ�ำเภอลับแลเป็นอย่างมาก เช่น หนกั จงึ หยบิ ขมน้ิ ทงิ้ ไปเรอ่ื ยๆ พอกลบั ถงึ บา้ นจงึ หยบิ วางผงั เมอื งลับแล สรา้ งฝายหลวง พัฒนาการศกึ ษา ขมนิ้ ทเี่ หลอื ขนึ้ มา ปรากฏวา่ เปน็ ทองคำ� ชายหนมุ่ เกดิ และสง่ เสรมิ การเกษตร จงึ เปน็ ทเี่ คารพนบั ถอื ของชาว ความเสยี ดาย จงึ ยอ้ นกลับไปหาขมน้ิ ทท่ี ้งิ ไว้ แตข่ มน้ิ ลบั แลมาจนปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์ประกอบดว้ ย ไดง้ อกเปน็ ตน้ หมดแลว้ และชายหนมุ่ กไ็ มส่ ามารถหา ลานกจิ กรรม วฒั นธรรม ประเพณี อาคารพพิ ธิ ภณั ฑ์ บา้ นพระศรพี นมมาศ เรอื นจำ� ลองของเมอื งลับแลใน อดตี อาคารจ�ำหนา่ ยสินคา้ ศูนย์บริการนกั ท่องเทยี่ ว พพิ ิธภัณฑเ์ มืองลับแล 30 อุตรดติ ถ์

วดั พระบรมธาตุทงุ่ ยงั้ เชิงอนรุ ักษ์ สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๗๖ วิหารมีพระบรมธาตุทุ่งย้ัง ซึ่งเป็นเจดีย์เก่าบรรจุ พระบรมสารีริกธาตขุ องพระพุทธเจา้ เปน็ แบบลังกา ศนู ยก์ ารเรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ บา้ นครโู จ บา้ นคมุ้ - ทรงกลมฐานเปน็ รปู ส่ีเหล่ยี ม ๓ ชน้ั ฐานล่างมเี จดยี ์ นาทะเล เป็นศูนย์การเรียนรู้การทอผ้าซิ่นตีนจก องคเ์ ลก็ ๆ เปน็ บรวิ ารอยู่ ๔ มมุ ฐานชนั้ ที่ ๓ มซี มุ้ คหู า ไท-ยวนลบั แล โดยในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ครูโจ หรือคุณ ๔ ดา้ น สนั นษิ ฐานว่าไดร้ บั การบรู ณะขน้ึ ภายหลัง จงจรณู มะโนคำ� ไดร้ วมกลมุ่ ทอผา้ บา้ นคมุ้ ขน้ึ  เพอื่ เปน็ การอนุรักษ์การทอผ้าแบบโบราณ โดยผ้าซ่ินตีนจก การเดินทาง ออกจากตัวเมืองอุตรดิตถ์ใช้ทางหลวง ของสาวชาวลับแลน้ัน มีการออกแบบท่ีหลากหลาย หมายเลข ๑๐๒ ไปประมาณ ๓ กิโลเมตร จะเหน็ วัด ทงั้ ดา้ นลวดลาย สสี นั และมวี ธิ กี ารทอ โดยนำ� เสน้ ไหม อย่ทู างซา้ ยมือ แทม้ ายอ้ มสธี รรมชาตแิ ลว้ จกดว้ ยขนเมน่ แบบดง้ั เดมิ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล อยู่เลยวัดพระบรมธาตุ- วดั พระบรมธาตุทงุ่ ย้ัง หมู่ ๓ บ้านท่งุ ยั้ง ต�ำบลทุ่งยง้ั ทุ่งย้ัง ประมาณ ๕๐๐ เมตร วัดอยู่ทางซ้ายมือใกล้ วัดแห่งน้ีเดิมชื่อ วัดมหาธาตุ เป็นวัดเก่าแก่ ทางแยก ภายในมีมณฑปเป็นศิลปะเชียงแสนครอบ มตี ำ� นานเกย่ี วกบั การเสดจ็ มาของพระพทุ ธเจา้ ในวดั รอยพระพุทธบาทคู่ ท่ปี ระดิษฐานบนฐานดอกบัวสูง ประกอบดว้ ยวหิ ารแบบลา้ นนาซง่ึ อยดู่ า้ นหนา้ หลงั คา ประมาณ ๑.๕ เมตร ทว่ี ัดยังมี “หลวงพอ่ พุทธรงั ส”ี ซอ้ นกนั ๓ ชน้ั มพี ระประธานนาม “หลวงพอ่ ประธาน- เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อด้วยสัมฤทธิ์ เฒ่า” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยศิลปะเชียงแสน ศิลปะสุโขทยั ขนาดหน้าตกั กวา้ ง ๕๕ นวิ้ สูง ๖๖ น้วิ มจี ติ รกรรมฝาผนงั เกา่ แก่ เรอ่ื ง พระสงั ขท์ อง ดา้ นหลงั เดิมประดิษฐานอยู่ในมณฑปมีปูนพอกหุ้มไว้ท้ังองค์ 31อตุ รดิตถ์

วัดพระยนื พทุ ธบาทยคุ ล ตอ่ มาไดก้ ระเทาะปนู ออกและนำ� ไปประดษิ ฐานไวใ้ น ศิลาอาสนใ์ นวนั เพญ็ เดอื น ๓ ของทกุ ปี พระอโุ บสถท่ีสร้างใหม่ นอกจากน้ันยังมี พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ิน เป็นศาลา วดั พระแทน่ ศลิ าอาสน์ อยบู่ า้ นพระแทน่ ตำ� บลทงุ่ ยง้ั การเปรียญเก่าสร้างด้วยไม้ มี ๒ ชั้น แบบล้านนา เลยวัดพระยืนไปเล็กน้อย วัดแห่งน้ีมีพระแท่นศิลา- ก่อต้ังโดยนายเฉลิมศิลป์ ชยปาโล ด้านหน้าตกแต่ง อาสน์เป็น ศิลาแลงรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า กว้าง ๘ ฟุต ด้วยไม้ดอกและสวนสมุนไพร ชั้นล่าง เป็นการจัด ยาว ๑๐ ฟุต สงู ๓ ฟตุ ฐานของพระแท่นโดยรอบ แสดงเครอื่ งมอื จบั สตั วน์ ำ้� โบราณและเรอื พายโบราณ ประดับด้วยลายกลีบบัว สันนิษฐานว่า สร้างข้ึนใน สว่ นชน้ั บน เปน็ การจดั แสดงเกยี่ วกบั เรอื่ งราววถิ ชี วี ติ สมัยสโุ ขทยั ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๔๕๑ ได้เกิดไฟปา่ ไหม้ ชาววงั และชาวบา้ นสมยั กอ่ น เครอื่ งจกั สาน เครอ่ื งมอื มณฑปและวิหารจนเหลือแต่แท่นศิลาแลง รัชกาล ตเี หล็ก เคร่อื งมอื ปรงุ ยาสมุนไพรแผนโบราณ เครื่อง ที่ ๕ จงึ โปรดฯ ใหป้ ฏิสังขรณใ์ หม่ บานประตูวิหาร สงั คโลกสมยั สโุ ขทยั ธรรมาสนห์ ลวงซงึ่ เปน็ ธรรมาสน์ พระแท่นศลิ าอาสนท์ ่ีเปน็ ไมส้ ักแกะสลกั นน้ั เดมิ เคย โบราณฝีมือช่างสมัยอยุธยา พระพุทธรูปท่ีแกะจาก เปน็ บานประตวู หิ ารพระพทุ ธชนิ ราช วดั พระศรรี ตั น- ต้นโพธ์ิโบราณ และพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย-กรุง มหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลกมาก่อน ศรีอยุธยา รวมถึงศิลปะวัฒนธรรมของชาวเหนือ ภายในวิหารยังมีภาพวาดเก่ียวกับพระราชกรณียกิจ เปดิ ทกุ วนั ตง้ั แตเ่ วลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. สอบถาม ของราชวงศจ์ ักรี ส่วนใหญเ่ ก่ียวกับรัชกาลที่ ๕ และ ข้อมูล โทร. ๐ ๕๕๔๕ ๓๕๒๗ รชั กาลปจั จบุ นั ทางวดั จดั ใหม้ งี านนมสั การพระแทน่ - วัดพระนอนพุทธไสยาสน์ ตั้งอย่หู มู่ ๖ ตำ� บลทงุ่ ยง้ั 32 อุตรดิตถ์

ใกล้กับวัดพระแท่นศิลาอาสน์ และวัดพระยืนพุทธ บาทยุคล โดยมถี นนบรมอาสน์ (ทางหลวงหมายเลข ๑๐๒ อุตรดติ ถ-์ ศรสี ชั นาลัย) คัน่ อยูต่ รงกลาง ภายใน วัดมีพระวิหารจัตุรมุขหลังหน่ึง ภายในประดิษฐาน แทน่ ศลิ าขนาดใหญ่ ตามตำ� นานกลา่ ววา่ เปน็ พระแทน่ บรรทมขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ เมอื่ ครง้ั เสด็จท่ีเมอื งแหง่ นี ้ วดั พระแท่นศิลาอาสน์ หนองพระแล ตั้งอยู่ทบ่ี า้ นหนองพระแล ตำ� บลท่งุ ยง้ั วดั พระนอนพุทธไสยาสน์ เปน็ แหลง่ นำ้� ธรรมชาตขิ นาดใหญ่ บรเิ วณโดยรอบเปน็ สวนสาธารณะทชี่ าวเมอื งลบั แลนยิ มมาพกั ผอ่ นหยอ่ น ใจและออกกำ� ลงั กาย เวียงเจ้าเงาะ อยู่ท่ีต�ำบลทุ่งย้ัง ลักษณะเป็นที่ราบ พน้ื ดนิ ปนศลิ าแลง ดา้ นทศิ เหนอื ตดิ กบั หนองพระแล การเดินทาง ตามเส้นทางหลวงหมายเลข ๑๐๔๑ และหนองพระทัย เป็นท่ีลุ่มซ่ึงกรมศิลปากรได้ขึ้น หา่ งจากตัวจงั หวัด ๑๓ กิโลเมตร อยู่ระหว่างทางไป ทะเบียนเป็นโบราณสถาน อ้างอิงถึงวรรณคดีเร่ือง วดั พระแท่นศิลาอาสน์ สังข์ทอง เจ้าเงาะได้พานางรจนามาอยู่ท่ีกระท่อม วดั พระแท่นศิลาอาสน์ 33อตุ รดิตถ์

วัดเจดยี ค์ ีรวี ิหาร (วดั ป่าแกว้ ) ปลายนาแหง่ น้ี เม่อื ครัง้ ถกู ท้าวสามลและนางมณฑา จากอ�ำเภอเมอื งประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร เนรเทศออกจากวัง จึงเรียกว่า เวียงเจ้าเงาะ นัก โบราณคดสี นั นิษฐานว่า เวยี งเจา้ เงาะแตเ่ ดมิ เคยเป็น วดั ทอ้ งลบั แล ตง้ั อยทู่ ต่ี ำ� บลฝายหลวง เปน็ วดั เกา่ แก่ เมอื งเกา่ มากอ่ น เพราะไดม้ กี ารขดุ คน้ พบโบราณวตั ถ ุ ส่ิงทนี่ า่ สนใจ คือ “ภาพสะทอ้ นหวั กลับ” ของศาลา เช่น พร้าสัมฤทธ์ิ ก�ำไลหินโครงกระดูก แหวนหิน การเปรยี ญฝง่ั ตรงขา้ มทปี่ รากฏบนผนงั ในพระอโุ บสถ กลองมโหระทึก เปน็ ต้น โดยพระสมชายทม่ี าบวชท่ีวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็น ผู้พบภาพดังกล่าวขณะท่ีเข้าไปท�ำวัตรภายในโบสถ ์ วัดเจดีย์คีรีวิหาร (วัดป่าแก้ว) หมู่ ๑ บ้านวัดป่า ทปี่ ดิ ประตแู ละหนา้ ตา่ ง ชว่ งเวลาทจี่ ะชมภาพหวั กลบั ต�ำบลฝายหลวง ตามต�ำนานเช่ือกันว่าเจ้าฟ้าฮ่าม- ได้อย่างชัดเจนคือ วันท่ีมีแสงแดดจัด ช่วงเวลา กมุ ารทรงสรา้ งวดั นข้ี นึ้ มาเมอ่ื ประมาณปี พ.ศ. ๑๕๑๙ ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. ภายในโบสถ์ยังมีภาพจิตรกรรม พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ ไปเฝา้ พระเจา้ เรอื งธริ าช กษตั รยิ แ์ หง่ ฝาผนังเปน็ เร่ืองต�ำนานและวถิ ีชวี ติ ของชาวลบั แล โยนกนคร เพ่ือกราบทูลขอแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ดอยตุง และอัญเชญิ มาบรรจทุ ่เี จดยี ว์ ัดปา่ แกว้ แหง่ น้ี มีเรื่องเล่าว่า หมอภูมินทร์ ซึ่งเป็นทันตแพทย์ชาว เจดีย์องค์น้ีถือเป็นเจดีย์แห่งแรกของอ�ำเภอลับแล จังหวัดเชียงใหม่ ได้ฝันเห็นเจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร ปฐม ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ภายใน รูปทรงเจดีย ์ กษตั รยิ แ์ หง่ นครลบั แลมาบอกวา่ มผี พู้ บภาพหวั กลบั เปน็ สถาปตั ยกรรมแบบล้านนา ผสมไทล้ือ ภายในโบสถ์ คุณหมอจึงไดเ้ ดนิ ทางมาพิสจู น์ และได้ เห็นภาพปรากฏขึ้นจริงตามท่ีเจ้าฟ้าฮ่ามมาเข้าฝัน การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๐๔๓ วดั อยหู่ า่ ง จงึ เกดิ ความศรทั ธาและสรา้ งเจดยี แ์ กว้ ขน้ึ บรเิ วณขา้ ง 34 อุตรดิตถ์

พระอุโบสถ แหง่ หน่ึงของอ�ำเภอลบั แล สร้างข้นึ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๙๑ มีพระธาตุและอุโบสถแบบล้านนาท่ีได้รับรางวัล นอกจากน้ียังมีหอไตรโบราณกลางน้�ำอายุหลายร้อย สถาปัตยกรรมดีเด่น ท้ังยังได้รับพระราชทาน ปี สนั นษิ ฐานวา่ สร้างมาต้งั แตส่ มยั กรุงศรีอยธุ ยา วิสุงคามสมี า เมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๙ (ท่ดี ินพระราชทาน วดั ไผ่ล้อม ตัง้ อยทู่ ตี่ ำ� บลไผ่ล้อม เป็นวดั เกา่ แกอ่ กี วดั เพอ่ื ให้สรา้ งเป็นอโุ บสถ) หนึ่งของอ�ำเภอลับแล สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๐๑๙ อนุสาวรีย์เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร ต้ังอยู่หมู่ ๗ บ้าน เป็นวัดที่ค้นพบหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปคู่บ้าน ท้องทับแล ต�ำบลฝายหลวง เป็นอนุสาวรีย์ของ คเู่ มอื งของจังหวดั อุตรดิตถ์ ปฐมกษัตริย์ผู้ครองเมืองลับแล พระองค์ทรงเป็น วัดดงสระแก้ว ต้ังอยู่บ้านดงสระแก้ว ต�ำบลไผ่ล้อม พระราชบุตรในพระเจ้าเรอื งไทธริ าช กษตั รยิ ์วงคส์ งิ - สรา้ งเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ สำ� หรบั พระอุโบสถสรา้ งข้นึ หนวัติแห่งอาณาจักรโยนกนาคนครเชียงแสน พระ เม่อื พ.ศ. ๒๔๘๔ ดว้ ยไมส้ กั ทองทง้ั หลงั และมีใต้ถนุ ราชบิดาส่งมาครองเมืองลับแล เม่ือ พ.ศ. ๑๕๑๓ สูง ๖๐ เซนตเิ มตร เพอ่ื ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชนไดล้ อดใต้ ทรงท�ำนุบ�ำรุงบ้านเมืองจนเจริญก้าวหน้าราษฎรอยู่ ฐานพระอุโบสถตามความเช่ือ พระธรรมกิจโกศล ดว้ ยความรม่ เยน็ เปน็ สขุ เมอ่ื เสดจ็ สวรรคต ประชาชน เจา้ อาวาสองคแ์ รกไดร้ บั พระพทุ ธรปู จากวดั ราชบรู ณะ จึงนำ� อฐั ิพระองคม์ าบรรจไุ ว้ ณ ม่อนอารกั ษ์ซง่ึ เป็นที่ กรุงเทพฯ มาโดยวิธีจับสลากเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๕ สักการะของประชาชนท่ัวไป และได้จัดประเพณ ี ท่านจับได้พระปูนที่มีพระเศียรโต รูปร่างไม่งดงาม แห่น�้ำขึ้นโฮง (เป็นประเพณีท่ีน�ำน้�ำอบน้�ำปรุงมา และได้อัญเชิญมาเป็นพระประธานในพระอุโบสถ ต่อมาเม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๘ มีการซ่อมแซมหลังคา พระอุโบสถ แผ่นกระเบื้องหล่นลงมาโดนหัวไหล ่ ข้างซ้ายของพระปูน ทำ� ใหป้ นู ทห่ี มุ้ อยแู่ ตก เมอื่ ชว่ ย กนั กระเทาะปนู ออกมา จงึ เหน็ เปน็ พระพทุ ธรปู ทองคำ� ปางมารวิชัยสมัยอู่ทอง เรียกว่า “หลวงพ่ออู่ทอง” ประมาณ พ.ศ.๒๕๒๐ หลวงพอ่ อทู่ องได้ถูกโจรกรรม ไป ชาวดงสระแกว้ เสยี ใจเปน็ อนั มาก พยายามตดิ ตาม หาอยหู่ ลายปี กไ็ มส่ ามารถไดอ้ งคห์ ลวงพอ่ อทู่ องกลบั คืนมา ดงั นนั้ ในวันท่ี ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ พระครู ปภากรสิทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดหัวดงสระแก้ว และ ชาวบา้ นไดช้ ว่ ยกนั หลอ่ หลวงพอ่ อทู่ ององคใ์ หมข่ น้ึ มา แทน โดยมขี นาดเท่าองคเ์ ดิม ทำ� พิธพี ทุ ธาภิเษกแล้ว นำ� ไปประดิษฐานทอ่ี ุโบสถ เพอื่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได ้ สักการบชู า วัดผักราก ตั้งอยู่ที่ต�ำบลแม่พูล เป็นวัดเก่าแก่อีก อนุสาวรยี เ์ จ้าฟ้าฮ่ามกุมาร 35อุตรดิตถ์

เข้าร่วมขบวนแห่ โดยมีขบวนแห่ตุง คานหาบ ท่ีดีที่สุดแห่งหน่ึงของลับแล สามารถมองเห็นภูเขา ขบวนแห่วัฒนธรรม พร้อมเคร่ืองถวาย และน�ำไป และป่าไม้ที่ยังอุดมสมบูรณ์ ท้องนาสีเขียวอ่อนเป็น สักการะดวงวิญญาณเจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร) สืบทอดมา ตารางสี่เหลี่ยมเล็กๆ และเห็นหมู่บ้านที่โอบล้อมไว้ จนถึงปัจจุบัน บนเนินเขาด้านหลังอนุสาวรีย์ยังมี ดว้ ยภเู ขา นอกจากนย้ี งั เปน็ สถานทค่ี น้ พบวตั ถโุ บราณ ทางข้ึนไปยังจุดชมวิวสามารถมองเห็นภูมิทัศน์ของ อายุประมาณสองพันปี ได้แก่ ขวานสัมฤทธ์ิ เคร่ือง เมอื งลบั แลได้ ดนิ เผา เครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ และเครอ่ื งประดบั การเดินทาง จากแยกตลาดลับแล ใช้ทางหลวง วดั ดอนสกั อยบู่ า้ นตน้ มว่ ง ตำ� บลฝายหลวง หา่ งจาก หมายเลข ๑๐๔๓ เสน้ ทางไปนำ้� ตกแมพ่ ลู จะพบวัด ท่ีว่าการอ�ำเภอประมาณ ๑ กิโลเมตร ท่ีได้ช่ือว่า ใหม่อยู่ขวามือ เล้ียวซ้ายเข้าซอยฝั่งตรงข้ามวัดใหม่ วัดดอนสักเพราะต้ังอยู่บนเนินดิน ท่ีแต่เดิมมีต้นสัก ประมาณ ๘๐๐ เมตร รวมระยะทางจากตวั จงั หวดั ถงึ ข้ึนอยู่มากมาย เช่ือว่าสร้างข้ึนในสมัยกรุงอยุธยา อนสุ าวรยี ฯ์ ๑๒ กโิ ลเมตร ตอนปลาย เคยถกู ไฟไหมม้ าครง้ั หนง่ึ จงึ ทำ� ใหโ้ บราณ- วัตถุเสียหายเป็นจ�ำนวนมาก เหลือแต่วิหารซึ่งสร้าง ศูนย์ปฏิบัติธรรมม่อนอารักษ์ ต้ังอยู่บนเนินเขาสูง หนั หนา้ ไปทางทศิ ตะวันออก หลังคามุงกระเบอ้ื งดิน ตดิ กบั อนสุ าวรียเ์ จา้ ฟา้ ฮ่ามกุมาร เปน็ จุดชมทวิ ทศั น์ วดั ดอนสัก 36 อตุ รดิตถ์

เผาลดหลั่นลงเป็น ๓ ช้ัน ด้านนอกส่วนหน้าบัน ประดับด้วยไมแ้ กะสลักลวดลาย ทีบ่ านประตูไมส้ ลัก ลวดลายกนก รูปหงส์และรูปนก ก้านขดไขว้ลาย เทพพนมและภาพยักษ์ คันทวยเชิงชายก็สลักไม ้ เปน็ รปู พญานาคงดงามเชน่ กนั เสาแปดเหลยี่ มกอ่ อฐิ ฉาบปูน บัวหัวเสาเป็นบัวโถกลีบซ้อน บนฝาผนัง ด้านในและที่เสามีภาพชาดกต่างๆ และมีธรรมาสน์ เก่าแกส่ ลักลายติดกระจกสงี ดงาม วัดห้องสูง ตั้งอยู่ที่บ้านห้องสูง ต�ำบลชัยชุมพล สร้างด้วยสถาปัตยกรรมงดงาม เช่น หอระฆัง และ พระอุโบสถ โดยเฉพาะพระอุโบสถ ก่อสร้างเป็นรูป เรือสพุ รรณหงส์ เสาไฟฟา้ ภายในวัดทุกต้นสรา้ งเป็น แบบเสาหงส์คาบโคมไฟ เช่นเดียวกับถนนอักษะ จังหวัดนครปฐม แต่ท่ีพิเศษสุดของวัด คือ ห้องน�้ำ ทีม่ ชี ือ่ ว่า “สขุ ารวมใจ” มีเนื้อทก่ี ว้างถึง ๓๙๖ ตาราง เมตร เพราะนอกจากจะตกแต่งสวยงามแล้ว ยังมี ห้องน�้ำแยกหญิง-ชาย ห้องน�้ำคนพิการ ซึ่งทุกห้อง นำ้� ตกแม่พลู ตดิ ตัง้ โทรทศั นแ์ ละพดั ลมไว้บรกิ ารดว้ ย ๑๐๔๓ อีกประมาณ ๑๒ กิโลเมตร ตลาดเทศบาลต�ำบลหัวดง เป็นตลาดผลไม้ที่ใหญ่ ดอยโจโก้เก๊าแก ตงั้ อยู่ทต่ี ำ� บลแม่พลู เป็นยอดดอย ทส่ี ดุ ของอำ� เภอลบั แล จำ� หนา่ ยผลไมต้ ามฤดกู าล เชน่ ทเ่ี ปน็ รอยต่อ ๓ จังหวัดคอื อตุ รดติ ถ์ แพร่ สโุ ขทยั ทเุ รยี น ลางสาด ลองกอง ลางกอง มงั คุด และเงาะ ซงึ่ เปน็ จดุ กางเตน้ ทพ์ กั แรมในชว่ งฤดหู นาว ทส่ี ามารถ เป็นต้น ในช่วงหน้าผลไม้จะมีการจัดงานเทศกาล เห็นทิวทศั น์ทส่ี วยงามของจังหวัดอตุ รดิตถไ์ ด้ ทเุ รยี นหลงหลนิ ลบั แล รวมทง้ั อาหารพน้ื บา้ นทขี่ นึ้ ชอ่ื ได้แก่ ข้าวแคบ หม่ีพัน และข้าวพันผัก มอ่ นลบั แล ตง้ั อยบู่ นเสน้ ทางไปนำ้� ตกแมพ่ ลู หา่ งจาก แยกศรีพนมมาศ ๑ กิโลเมตร ภายในมีร้านอาหาร นำ้� ตกแม่พูล อยหู่ มู่ที่ ๔ บา้ นต้นเกลือ ตำ� บลแมพ่ ูล บรรยากาศร่มรื่น เรือนทอผ้าม่อนลับแล เป็นท่ี เป็นน้�ำตกที่เกิดจากการตกแต่งธารน�้ำให้คล้ายกับ รวบรวมผ้าทอพ้ืนเมืองลับแลท่ีทอข้ึนในอดีตและท่ี น้�ำตกธรรมชาติ โดยการเทปูนให้ลดหลั่นลงมา มี ความสูงประมาณ ๒๐ เมตร บริเวณโดยรอบน�้ำตก ทอในปัจจุบัน บ้านของฝากม่อนลับแล เป็นร้าน มีความร่มรืน่ มรี า้ นจำ� หนา่ ยของท่ีระลึก รา้ นอาหาร จ�ำหน่ายสินค้าหัตถกรรมพ้ืนเมือง ผ้าทอพื้นเมือง และลานจอดรถไว้บรกิ าร สินค้าท่ีข้ึนชื่อเมืองลับแล ผลไม้ตามฤดูกาล และ เคร่ืองด่ืมเพ่ือสุขภาพ เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา การเดนิ ทาง จากอำ� เภอเมอื งอตุ รดติ ถถ์ งึ อำ� เภอลบั แล ๑๐.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. สอบถามขอ้ มูล โทร. ๐ ๕๕๔๓ ระยะทาง ๘ กโิ ลเมตร จากนัน้ ใช้ทางหลวงหมายเลข 37อุตรดติ ถ์

๑๔๓๙, ๐๘ ๑๗๘๕ ๒๔๗๗ จะผา่ นสแี่ ยก ผา่ นสถปู บรรจพุ ระอฐั พิ ระศรพี นมมาศ ผ่านร้านก๋วยเตี๋ยวรักไอติม วัดป่ายาง ถนนคนเดิน บ้านผ้าจก ๒๐๐ ปี ตั้งอยู่ที่ถนนศรีดอนไชย เป็น แวะชิมอาหารพ้ืนเมือง ชมซุ้มประตูลับแล แล้ววก สถานที่จัดแสดงผ้าซิ่นตีนจกลับแลที่มีอายุนับร้อยปี กลับจุดเดิม ก่อต้ังโดยอาจารย์สมชาย ซึ่งเป็นเจ้าของบ้าน เพื่อ เส้นทางท่ี ๒ จากม่อนจ�ำศีล เลย้ี วซา้ ยที่ม่อนลบั แล เก็บรกั ษาผา้ พืน้ เมอื งที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวลบั แล ผ่านสถานีอนามัย เล้ียวซ้ายผ่านวัดท้องหลวง ผ่าน เช่น ผ้าจกยุคแรก ซิ่นดอกเคียะ ซิ่นกาฝากเขียว วัดใหม่ วดั เจดยี ค์ ีรีวหิ าร วดั ท่งุ เอยี้ ง ป้ัมปตท. มอ่ น- ซ่ินกาฝากแดง และพญาผา้ เป็นตน้ รวมท้ังข้าวของ จ�ำศีล เครือ่ งใช้สมัยโบราณอีกดว้ ย เส้นทางที่ ๓ เร่ิมจากตลาดผลไม้ ผา่ นเทศบาลต�ำบล ย่านถนนคนกิน ต้ังอยู่ที่ถนนราษฏร์อุทิศ มีร้าน ศรีพนมมาศ วัดดอนค่า วัดดอนแก้ว เฮือนลับแล อาหารพื้นเมืองตลอดเส้นทาง เช่น ร้านก๋วยเตี๋ยว- สวนผลไม้ น�้ำตกแม่พูล (ระยะทางไปน้�ำตกแม่พูล รักไอติม ร้านข้าวพันผักอินดี้ ร้านขนมจีนน้�ำเงี้ยว คอ่ นข้างไกล) ข้าวแคบ ข้าวควบ หม่พี นั ปา้ หวา่ ง ข้าวพนั ผักป้าตอ ร้านเจน๊ ีย์ของทอด ฯลฯ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลศรีพนมมาศ อ�ำเภอลับแล มีบริการรถจักรยานให้นักท่องเที่ยวยืมโดยไม่เสีย เส้นทางผลไม้ และวิธีการขนส่งผลไม้ ด้วยรถ ค่าใช้จ่าย และยังมีรถรางน�ำชมเมืองลับแลด้วย จักรยานยนต์ วิถีชีวิตและอาชีพของชาวลับแล สอบถามข้อมูลได้ที่เทศบาลต�ำบลศรีพนมมาศ โทร. ส่วนใหญ่ คอื การทำ� สวนผลไมท้ ่ีมเี อกลกั ษณ์ เพราะ ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๗๖ ชาวลับแลท�ำสวนผลไม้ได้ท้ังในท่ีราบและบนภูเขา ซึ่งท�ำมาต้ังแต่บรรพบุรุษ มีผลไม้ให้ผลผลิตตลอดปี เทศกาลงานประเพณี ทงั้ ลองกอง ลางสาด ทเุ รยี นและมงั คดุ ชาวลบั แลปลกู งานพระยาพิชัยดาบหักและงานกาชาด จัดข้ึนใน ทเุ รยี นบนภเู ขาดว้ ยการใชห้ นงั สตก๊ิ ยงิ สง่ เมลด็ ทเุ รยี น ระหว่างวันท่ี ๗-๑๖ เดือนมกราคมของทุกปี ณ พันธุ์ดีขึ้นไปตกบนภูเขา ให้เมล็ดเจริญเติบโตตาม บริเวณสนามกฬี าพระยาพชิ ัยดาบหัก เปน็ งานรำ� ลกึ ธรรมชาติ เจ้าของสวนใส่ปุ๋ยบ้างตามวาระ จากนั้น ถึงวีรกรรมของพระยาพิชัยดาบหัก มีการออกร้าน ทุเรียนจะผลิดอกออกผล ชาวสวนเก็บผลผลิตด้วย ของเหล่ากาชาดจังหวัด การแสดงศิลปะวัฒนธรรม การใช้ลวดสลิงข้ามเขาและใช้การชักรอกเข่งบรรทุก กิจกรรมร่ืนเริงต่างๆ และพิธีบวงสรวงพระยาพิชัย- ทุเรียนจากเขาลูกหน่ึงมายังอีกลูกหน่ึง จากน้ันก็ใช้ ดาบหกั มอเตอร์ไซต์เป็นพาหนะในการขนทุเรียนลงจากเขา ทเุ รยี นที่สรา้ งชือ่ เสียงใหก้ ับอำ� เภอลับแล คือ ทุเรียน งานประเพณีบุญกองข้าวใหญ่ที่บ้านโคก จัดขึ้น พนั ธุ์หลง-หลิน ระหว่างวันท่ี ๑๙-๒๒ มกราคมของทุกปี ท่ีบริเวณ สนามกีฬาภูเวียง ณ ท่ีว่าการอ�ำเภอบ้านโคก เพื่อ เสน้ ทางจักรยาน มเี สน้ ทางแนะนำ� ดงั นี้ เปน็ การสง่ เสรมิ ประเพณี โดยในงานจะมกี ารกอ่ เจดยี ์ เส้นทางที่ ๑ จากอนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ ผ่าน บุญกองข้าวใหญ่ ถือเป็นการรวมตัวของเกษตรกร ตลาดศรพี นมมาศ เลยี้ วซา้ ยไปวดั ศรีดอนสัก ตรงไป ในพนื้ ที่ หลงั เกบ็ เกย่ี วขา้ วในนาจะนำ� ขา้ วเปลอื กหรอื 38 อุตรดิตถ์

ข้าวสารจากทุกหลังคาเรือนมาร่วมท�ำบุญ อีกทั้ง หมู่บ้านต่างๆ อัญเชิญน�้ำมนต์และเครื่องสักการะ ภายในงานยงั จดั ใหม้ นี ทิ รรศการ การออกรา้ นคา้ ของ ไปรอบเมือง สักการะอนุสาวรีย์พระศรีพนมมาศ ชุมชน การประกวดอาหารพื้นบ้าน ได้แก่ ข้าวโขป สรงน้�ำพระเถระผู้ใหญ่ในวัดเจดีย์ศรีวิหาร สักการะ ขา้ วจี่ ข้าวหลาม การแขง่ ขันกีฬาเซปกั ตะกร้อ และ ดวงวิญญาณบริเวณอนุสาวรีย์เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร การ เปตอง แสดงถวายหน้าอนุสาวรียแ์ ละการฟอ้ นร�ำ งานนมสั การพระแทน่ ศลิ าอาสน์ พระพทุ ธบาทยคุ ล งานเทศกาลกินปลา อ�ำเภอท่าปลา จัดข้ึนในเดือน และพระนอนพุทธไสยาสน์ จัดขึ้นในชว่ งข้นึ ๘ ค่�ำ เมษายนของทุกปี เพื่อเป็นการส่งเสริมด้านการ ถึง ๑๕ คำ�่ เดอื น ๓ ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ตรงกับเป็น ทอ่ งเทยี่ วและสรา้ งรายไดใ้ หป้ ระชาชนภายในทอ้ งถน่ิ วันมาฆบูชาของทุกปี ณ วัดพระแท่นศิลาอาสน ์ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล และวัดพระนอนพุทธ- ประเพณีถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระ ไสยาสน์ ต�ำบลทุ่งยั้ง อ�ำเภอลับแล มีการจัดงาน สัมมาสัมพทุ ธเจ้า (ประเพณอี ฐั มบี ชู า) จัดขน้ึ ในวนั สมโภช งานมหรสพ และการออกรา้ นสนิ คา้ พนื้ เมอื ง แรม ๘ ค่�ำ เดอื น ๖ ณ วัดพระบรมธาตทุ ุง่ ยงั้ อำ� เภอ สอบถามข้อมูลได้ท่ี เทศบาลต�ำบลทุ่งย้ัง โทร. ๐ ลับแล เป็นการน้อมจิตร�ำลึกถึงองค์พระสัมมาสัม- ๕๕๘๑ ๖๕๙๔-๖ และอ�ำเภอลับแล โทร. ๐ ๕๕๔๓ พุทธเจ้า ตลอดจนพระธรรมค�ำส่ังสอนของพระองค์ ๑๐๘๙ ในงานมีการจ�ำลองพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีการตกแต่งวัดอย่าง งานนมัสการหลวงพ่อโตและมหกรรมของดีเมือง สวยงาม พรอ้ มการปฏิบตั ิธรรมและฟังเทศนาธรรม พิชัย จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นงาน นมัสการหลวงพ่อโต พระพุทธรูปปูนปั้นขนาดใหญ่ เทศกาลทุเรียน และผลไม้เมืองลับแล (มหัศจรรย์ บริเวณวัดพระธาตุ ภายในงานมีการจัดมหรสพ ทุเรียนหลง–หลินเมืองลับแล) จัดขึ้นประมาณ มากมาย มถิ นุ ายนหรอื กรกฎาคมของทกุ ปขี น้ึ อยกู่ บั ชว่ งเวลาท่ี ผลผลิตออก ณ ตลาดกลางผลไม้ (OTOP) เทศบาล งานเทศกาลวันกระเทียม จัดช่วงต้นเดือนมีนาคม ต�ำบลหัวดง ต�ำบลแม่พลู อำ� เภอลับแล เพื่อเป็นการ ณ บริเวณสนามกีฬาอ�ำเภอน้�ำปาด มีการออกร้าน ส่งเสริมและเผยแพร่ช่ือเสียงทุเรียนเมืองลับแล จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกระเทียม ประกวดธิดา ภายในงานมีกิจกรรมที่น่าสนใจมากมาย มีการ กระเทียม ขบวนแห่การละเล่นท้องถิ่นและมหรสพ ประกวดกระเช้าผลไม้ การประกวดสินค้าพื้นเมือง ต่างๆ สอบถามข้อมูลได้ที่อ�ำเภอน�้ำปาด โทร. ๐ ลับแล เชน่ ขา้ วพันผัก การแข่งขนั สม้ ต�ำทุเรยี นลลี า ๕๕๔๘ ๑๐๔๕, ๐ ๕๕๔๘ ๑๐๓๒ ทเุ รยี นทอด การแขง่ ขนั ชกมวยไทย เปน็ ตน้ สอบถาม ขอ้ มลู ไดท้ เ่ี ทศบาลตำ� บลหวั ดง โทร. ๐ ๕๕๔๒ ๗๒๒๒ ประเพณีแห่น�้ำข้ึนโฮง จัดข้ึนในวันที่ ๑๔ เดือน หรือ ททท. ส�ำนักงานแพร่ โทร. ๐ ๕๔๕๒ ๑๑๒๗ เมษายนของทกุ ปี บรเิ วณเชงิ ดอยมอ่ นอารกั ษ์ อำ� เภอ ลบั แล มีการกรวดน�ำ้ รดน้�ำให้แกบ่ รรพบรุ ุษที่ล่วงลบั งานเทศกาลลางสาดหวานและมหกรรมของดเี มอื ง ไปแล้ว ด้วยการน�ำน้�ำอบและน�้ำหอมไปสรงตาม อุตรดิตถ์ จัดข้ึนประมาณปลายเดือนกันยายนของ ศาลเจ้า ซึ่งเป็นที่นบั ถือในหม่ทู ่ีบ้าน มขี บวนพธิ จี าก ทกุ ปี ณ บรเิ วณสนามกฬี าพระยาพชิ ยั ดาบหัก หน้า 39อตุ รดิตถ์

ศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ ซ่ึงเป็นช่วงท่ีลางสาด พืชพันธุ์ธัญญาหารและสายน้�ำ มีการแสดง แสง สี อันเป็นผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัดและผลไม้อีกหลาก เสยี ง และสอ่ื ผสมเกย่ี วกบั ถน่ิ ฐานชวี ติ ชาวอำ� ภอตรอน หลายชนิดก�ำลังออกผล ในงานมีการออกร้านผลไม้ การแสดงทางวัฒนธรรม และการจ�ำหน่ายสินค้า นทิ รรศการทางวชิ าการเกยี่ วกบั ลางสาด การประกวด OTOP ลางสาด การประกวดธิดาชาวสวน การประกวดรถ ผลไม้ ขบวนแหร่ ถผลไม้ และการออกรา้ นสนิ คา้ ของดี สนิ ค้าพนื้ เมืองและของท่รี ะลกึ จากทุกอำ� เภอ ข้าวแคบ เป็นของกินพื้นเมืองของชาวลับแล ลักษณะจะคล้ายแผ่นโรตีสายไหม มีรสชาติเค็ม พิธีย้อนร�ำลึกเส้นทางประวัติศาสตร์รัชกาลท่ี ๕ ซึ่งท�ำจากแป้งข้าวจ้าวที่ผ่านการหมักตามสูตรของ เสดจ็ เมอื งตรอนตรสี ินธ์ุ ก�ำหนดจดั ขน้ึ ทกุ วันที่ ๒๒ ชาวบ้าน น�ำมานึ่งคล้ายการท�ำข้าวเกรียบปากหม้อ ตลุ าคม ของทุกปี ณ วัดหาดสองแคว อำ� เภอตรอน จากนั้นก็นำ� ไปตากแดดให้แหง้ มีรสชาตเิ ปรยี้ วและ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นการร�ำลึกและเทิดพระเกียรติ เคม็ ผสมกนั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพ่ือให้ เยาวชนและประชาชนได้ทราบถึงพระราชประวัติ หมี่พัน คือ ข้าวแคบท่ีท�ำมาจากข้าวเหนียวท่ีแช ่ และพระราชกรณียกิจของพระองค์ท่าน รวมถึง ค้างคืน แล้วน�ำมาโม่เป็นแป้งผสมงาด�ำและเกลือ วัฒนธรรมประเพณีของชุมชนในอดีต และยังเป็น จะได้แผ่นข้าวแคบแล้วน�ำมาห่อเส้นหมี่ท่ีคลุกเคล้า การประชาสัมพนั ธก์ ารท่องเท่ียวในท้องถิน่ เครอ่ื งปรงุ รสดว้ ยถว่ั งอก นำ�้ ปลา มะนาวและพรกิ ปน่ สืบสานงานวัฒนธรรมประเพณีและของดีอ�ำเภอ ขา้ วพนั ผกั วธิ กี ารทำ� เหมอื นการทำ� ขา้ วแคบ จะใสไ่ ข่ ท่าปลา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ณ สนามกลาง ด้วยกไ็ ด้ต่อจากน้ันใส่ผักตา่ งๆ เช่น คะน้า ผักบุ้งจีน อำ� เภอทา่ ปลา มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กะหล�ำ่ ปลี แครอท วุ้นเส้น โรยหนา้ ด้วยหมูสบั และ ของประชาชนอ�ำเภอท่าปลา ในพ้ืนท่ีรอบโรงไฟฟ้า เต้าหู้ทอด ปรุงรสด้วยพริกขี้หนูสดต�ำละเอียดผสม เขอื่ นสริ กิ ติ ิ์ ใหไ้ ดร้ บั การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื และยงั เปน็ นำ้� ปลา ซอสพรกิ ซอสถ่วั เหลือง พรกิ ปน่ และน�ำ้ ตาล การส่งเสรมิ การท่องเทีย่ วของอำ� เภอท่าปลาอกี ด้วย ขา้ วพันไม้ ใช้แปง้ ชนดิ เดยี วกันกับข้าวพันผกั โดยที่ ข้าวพันไม้ไม่ต้องใส่ผัก เมือ่ แป้งสุกก็น�ำไม้มาพนั แปง้ งานดอกฝ้ายบานที่บ้านโคก จัดข้ึนเพ่ือเผยแพร่ เพอื่ นำ� ออกจากเตา รับประทานพรอ้ มน้�ำจ้มิ ผลผลิตฝ้าย ในช่วงกลางเดือนธันวาคมของทุกปี ณ ลอดชอ่ งเคม็ เปน็ อาหารพน้ื เมอื งลบั แล ลอดชอ่ งเคม็ สนามกีฬาอ�ำเภอบ้านโคก มีการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ใช้เส้นลอดช่องโรยหน้าด้วยปลาป่นหรือกุ้งแห้งป่น จากฝา้ ย สาธติ การทอผา้ ขบวนแห่ ประกวดธดิ าฝา้ ย และต้นหอมกับผักชีหนามซอย ปรุงรสเปร้ียวด้วย และการละเล่นพื้นบ้านของชาวบ้านโคก สอบถาม มะปราง น้�ำปลา พริกป่น รสชาตเิ ค็มเล็กน้อย ขอ้ มลู ได้ที่อ�ำเภอบ้านโคก โทร. ๐ ๕๕๔๘ ๖๑๒๔ งานประเพณีไหลแพไฟเฉลิมพระเกียรติ จัดขึ้น ข้าวเกรยี บวา่ ว เปน็ อาหารพ้นื บา้ นประเภทขบเคยี้ ว ประมาณเดือนธนั วาคมของทกุ ปี ณ บริเวณท่านำ�้ วดั ข้าวเกรียบว่าวหรือข้าวควบ ท�ำในช่วงฤดูร้อน หาดสองแคว อ�ำเภอตรอน เพื่อเป็นการขอบคุณ เนื่องจากต้องอาศัยแสงแดดจัดท�ำให้ข้าวเกรียบ แหง้ สนทิ ไมเ่ ป็นเช้ือรา 40 อตุ รดิตถ์

ทเุ รียนหลงลับแล ทุเรียนหลงลับแล เจ้าของเดิมคือนายลม-นางหลง ไปจากพนั ธุ์ดัง้ เดิม มีรสชาติหวานอรอ่ ย เน้ือหนาน่ิม อุประ เป็นทุเรียนท่ีได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากการ สีเหลืองอมน�้ำผึ้ง รสชาติหวานฉ่�ำ ตาไม่ลึกท�ำให้มี ประกวดทุเรียนท่ีปลูกจากเมล็ด ซ่ึงร่วมด�ำเนินการ ส่วนของเน้ือมาก ผลค่อนข้างเล็ก รับประทานแล้ว จัดประกวดระหว่างกรมวิชาการการเกษตร ทรงผล ไม่ระคายคอ กลมมีขนาดเล็กถึงปานกลาง รสชาติหอมหวานมัน กลิน่ อ่อน เมล็ดลีบ ลางสาดและลองกอง เป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงของ จังหวัดอุตรดิตถ์เพราะรสชาติที่หอมหวาน ลางสาด ทเุ รยี นหลนิ ลบั แล ตน้ เดมิ ปลกู โดยนายหลนิ ปนั ดาล และลองกองทป่ี ลกู ในอำ� เภอลบั แล จะออกผลในชว่ ง ท่ีบา้ นผามบู ตำ� บลแมพ่ ลู อำ� เภอลบั แล โดยนำ� เมลด็ เดอื นสงิ หาคม-ตลุ าคม ทุเรียนมาปลูกแล้วเกิดการกลายพันธุ์ มีลักษณะที่ แปลกกวา่ ทเุ รยี นพนั ธอ์ุ นื่ ๆ จงึ สง่ เขา้ ประกวดประเภท ทุเรียนที่ปลูกจากเมล็ด ลักษณะผลมีขนาดเล็ก ผล เปน็ ทรงกระบอก หนามผลโคง้ แหลมคม เนอื้ ละเอยี ด สเี หลืองออ่ น รสชาตหิ วานมนั กลน่ิ ออ่ น เมล็ดลีบ สับปะรดห้วยมุ่น ของดีจากต�ำบลห้วยมุ่น อ�ำเภอ น�้ำปาด สับปะรดปัตตาเวียท่ีน�ำเข้าไปปลูกในต�ำบล ห้วยมุ่นจนกลายเปน็ พันธ์ทุ ้องถนิ่ มลี ักษณะแตกต่าง ทุเรียนหลินลบั แล 41อุตรดติ ถ์

ลูกตาวเชือ่ ม ตาว ตา๋ ว หรือ ลกู ชดิ เปน็ ปาลม์ ชนดิ “ลายนาค” เป็นลายด้ังเดิมของชาว ไท-ยวน ที่ตั้ง หนึ่งเป็นไม้ป่า มีชื่อต่างกันไปตามแต่ละท้องถ่ิน ถิ่นฐานที่อ�ำเภอลับแล มีความอ่อนช้อยสวยงาม ลักษณะคลา้ ยตน้ จาก และมีความหมายในทาง “มีอ�ำนาจวาสนา” ผ้าซิ่น ตนี จกลบั แลมีลายหลักทง้ั หมด ๑๖ ลาย แตล่ ะลาย ขนมเทยี นเสวย เปน็ ขนมไทยโบราณทคี่ ดิ คน้ ขนึ้ โดย จะอยตู่ รงกลางผนื ผา้ ประกบดว้ ยลายเครอ่ื งหรอื ลาย ชาวอุตรดิตถ์ เพ่ือเป็นอาหารรับรองข้าราชบริพาร ประกอบทั้งขา้ งบนและขา้ งลา่ ง ที่มาเยือนเมืองอุตรดิตถ์ในสมัยก่อน โดยส่วนผสม ของขนมเทียนเสวยนั้นมีเพียงแป้งข้าวเหนียวโม่สด ไมก้ วาดตองกง เปน็ ไมก้ วาดทท่ี ำ� ขนึ้ จากดอกตองกง กะทิ งาขาว น้�ำตาลทรายแดง และน้ำ� ผึ้ง มคี วามคงทนเปน็ พเิ ศษ พระศรพี นมมาศ อำ� มาตยต์ รี ดำ� รงตำ� แหนง่ เกษตรมณฑลพษิ ณโุ ลก เปน็ ผรู้ เิ รมิ่ และ หัวผักกาดเค็ม มีช่ือเสียงมากในด้านคุณภาพ และ ชักชวนใหช้ าวบ้านท�ำขึน้ โดยทา่ นจะเปน็ ผู้รับซือ้ เอง ราคายตุ ิธรรม และนำ� ไปเปน็ ของฝาก ไดม้ กี ารนำ� ผา้ สแี ดงมาตดั เปน็ กล้วยกวน เร่ิมจากน�ำกล้วยสุกมาปอกเปลือกออก ช้นิ เลก็ ๆ แลว้ นำ� มาสอดเขา้ ท่ปี ลายของไม้กวาด จน ให้หมด น�ำไปบดให้ละเอียด น�ำกะทิไปต้ังไฟให้ กลายเป็นสญั ลักษณ์ของไมก้ วาดเมืองลบั แล แตกมนั หลังจากน้ันน�ำกล้วยทบ่ี ดลงกวนให้เป็นเน้ือ ผลิตภัณฑ์ดาบเหล็กน้�ำพ้ี เป็นผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจาก เดยี วกนั เตมิ นำ้� ตาล แบะแซ นม กวนจนเปลยี่ นสแี ละ แรเ่ หลก็ นำ้� พ้ีทม่ี คี วามแกร่ง เหนยี วและเกดิ สนมิ ยาก เหนียวจับเป็นก้อน จึงยกลงจากเตาแบ่งบรรจุภัณฑ์ จากต�ำราพชิ ยั สงครามได้กล่าวไวว้ ่า “เหล็กน้�ำพ้เี ปน็ ตามขนาดที่ตอ้ งการ โลหะมหศั จรรยม์ อี านภุ าพ มพี ลงั ในตวั มสี งิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ผลิตภัณฑ์เม็ดมะม่วงหินพานต์ อ�ำเภอท่าปลา สถิตอยู่ทุกๆ อณู สามารถป้องกันคุณไสยและสิ่ง มีท้ังแบบทอดเค็ม อบเนย และแบบกรอบแก้ว เลวร้ายท่ีมองไม่เห็นด้วยตาด�ำได้” ปัจจุบันแร่เหล็ก เม็ดมะม่วงหิมพานต์เป็นแหล่งของวิตามินบีที่ช่วย น้�ำพี้ถือว่าเป็นวัตถุมงคล โดยเช่ือกันว่าเหล็กน้�ำพ้ีอยู่ รักษาเส้นประสาทและเนื้อเย่ือกล้ามเน้ือ ตลอดจน ในตระกูลเดยี วกันกับเหลก็ ไหล เสริมความต้านทานต่อความเครียด รวมทั้งมีสาร ผลิตภัณฑ์ผักตบชวา เป็นงานหัตถกรรมของกลุ่ม ต้านอนุมูลอิสระที่จ�ำเป็นต่อร่างกาย และช่วยลด แม่บ้านท่ีบ้านท่าร่วมกันผลิตขึ้นจากผักตบชวา เป็น คอเลสเตอรอลอีกดว้ ย งานฝีมือท่ีมีความปราณีตและมีรูปแบบที่ทันสมัย ปลาซิวแก้ว อ�ำเภอท่าปลา เป็นปลาอีกชนิดหน่ึง เหมาะท่ีจะซื้อมาเป็นของฝากหรือของตกแต่งบ้าน ที่มีมากในอ่างเก็บน้�ำเขื่อนสิริกิต์ิ ชาวท่าเรือได้ เช่น โคมไฟ แจกนั กระเป๋า ตะกร้า รองเทา้  เปน็ ตน้ ประกอบอาชพี โดยทำ� แพยอ  เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๖ จงึ ได้ ข้าวกล้องไรซ์เบอร์ร่ี ได้มาจากการผสมข้ามพันธุ์ จัดต้ังกลุ่มปลาซิวแก้ว น�ำมาแปรรูปเพ่ือใช้ประกอบ ระหว่างข้าวเจ้าหอมนิลกับข้าวขาวดอกมะลิ ๑๐๕ อาหาร โดยน�ำมาท�ำปลาซิวแก้วตากแห้ง มีโปรตีน จากการพัฒนาพันธขุ์ ้าวพิเศษ โดยศนู ยว์ ิทยาศาสตร์ และแคลเซ่ียมท่ีสูง ขา้ วฯ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เพอื่ ใหไ้ ดเ้ มลด็ พนั ธ์ุ ซ่ินตีนจก คือ ผ้านุ่งท่ีมีโครงสร้าง ๓ ส่วน ส่วนหัว ท่ีมีคุณภาพดีและให้ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้บริโภค ส่วนกลาง สว่ นตีน (เชิงผ้า) และมีลวดลายต่างๆ เช่น มจี �ำหน่ายที่ร้านขายของฝากทว่ั ไป 42 อุตรดิตถ์

ไม้กวาดตองกง รา้ นขายของทรี่ ะลกึ ลูกตาวเชื่อมกระป๋องท้ังขายปลีกและขายส่ง โทร. อ�ำเภอเมอื งอุตรดติ ถ์ ๐ ๕๕๔๑ ๑๒๙๔ กนกมณี ๑๖๕/๒ ถนนบรมอาสน์ รับส่ังท�ำและ จ�ำหนา่ ยขนมเทยี นเสวย โทร. ๐ ๕๕๘๓ ๒๘๔๕ อ�ำเภอทองแสนขนั กลุ่มผลิตภัณฑ์ดาบเหล็กน้�ำพี้ ๔๖/๑ หมู่ ๑ บ้าน- กลุ่มหัตถกรรมผลิตภัณฑ์ผักตบชวา หมู่ ๕ ต�ำบล นำ้� พ้ี ตำ� บลนำ้� พ้ี โทร. ๐๘ ๙๕๖๘ ๑๙๗๐ หาดกรวด โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๕๓๕๔ อำ� เภอทา่ ปลา โครงการศูนย์การเรียนรู้อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านหาดไก่ต้อย ศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์และชีวภาพชาววัง หมู่ ๓ ตำ� บลหาดลา้ โทร. ๐๘ ๙๙๖๐ ๑๓๘๘ ๑๐๙/๑ หม ู่ ๔ ตำ� บลวงั กะพี้ โทร. ๐๘ ๗๘๔๒ ๖๖๐๘ อำ� เภอพชิ ัย บา้ นเทียนหอม ๑๔/๗ หมู่ ๕ (ติดถนน) ต�ำบลปา่ เซ่า กลุ่มแม่บ้านเกษตรบ้านป่ากะพี้ ๑๙๙/๒ หมู่ ๔ จ�ำหน่ายขนม เครื่องหนัง และสินค้าท่ีระลึก โทร. ต�ำบลท่ามะเฟือง จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์กล้วยกวน ๐ ๕๕๔๑ ๒๗๓๐ โทร. ๐๘ ๑๖๘๘ ๐๙๓๕ ลมเย็น เลขท่ี ๑๗๓ หมู่ ๕ ถนนหลวงสาย ๑๑ อำ� เภอลบั แล พิษณุโลก-เด่นชัย ก.ม.๑๐๐ ต�ำบลป่าเซา่ จ�ำหนา่ ย กลุ่มแม่บ้านน้�ำท่วมร่วมใจ ๓๔/๒ ต�ำบลฝายหลวง สินคา้ ทีร่ ะลึก โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๔๖๑๑ จำ� หนา่ ยขา้ วแคบ “ศรลี บั แล ขา้ วแคบปรงุ รส OTOP” เล่าซุ่นเส็ง ๒๘๖ ถนนอินใจมี ขายหน่อไม้และ โทร. ๐ ๕๕๔๕ ๐๕๐๐, ๐๘ ๓๘๗๐ ๔๗๖๑ 43อตุ รดติ ถ์

เฉลิมการค้า ตลาดบ้านคุ้ม จ�ำหน่ายผ้าพ้ืนเมือง กจิ กรรมทน่ี า่ สนใจ โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๖๕ ท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ตะวันฉาย ๑๕๑ หมู่ ๑ ต�ำบลแม่พูล จ�ำหน่าย สวนผลไม้อ�ำเภอลับแล สัมผัสความเป็นอยู่ของ ผลิตภณั ฑข์ องเมืองลบั แล โทร. ๐๘ ๗๕๒๑ ๒๔๓๒ ชาวสวน การปลูกผลไม้แบบผสมผสานสลับฟันปลา บนพ้ืนที่สูงปลูกไม้ทนแล้ง เช่น มะปราง มะไฟและ บ้านบนดอย ๗๗ หมู่ ๒ ต�ำบลแม่พูล (อยู่ขวามือ กระท้อน ด้านลา่ งปลกู ไมท้ ่ชี อบน้�ำ เชน่ มังคดุ และ ก่อนถึงส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลหัวดง ๑๕๐ เมตร) กลางสันเขาปลูกลางสาดและทุเรียน วิธีเก็บผลไม ้ โทร. ๐ ๕๕๔๕ ๗๒๗๐ ของท่ีนี่ คอื ใช้รถมอเตอร์ไซคว์ ิง่ ตามสันเขาทต่ี อ้ งใช้ บุญถึง อยู่ในตลาดลับแล จ�ำหน่ายผ้าพ้ืนเมือง ความสามารถในการขับขี่อย่างช�ำนาญ และการใช้ ผ้าซ่ินตีนจก ผ้าซิ่นลับแล ซิ่นมุกลับแลและผ้าห่ม สลงิ ชกั รอกตระกรา้ ผลไมจ้ ากภเู ขาลกู หนงึ่ ไปยงั ภเู ขา โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๒๐ อกี ลกู หนงึ่ นอกจากนนั้ นกั ทอ่ งเทย่ี วยงั มโี อกาสไดช้ มิ ทุเรียนท้องถ่ินพันธุ์หลงลับแลและหลินลับแล ซึ่งมี พนื้ เมอื ง ๑๔๘ ถนนอินใจมี (เขา้ ซมุ้ ประตูเมืองลบั แล รสชาติหวานมันและมีกล่นิ หอม ตดิ ต่อเกษตรอำ� เภอ จะอยูซ่ ้ายมือ) โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๔๒ ลบั แล โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๔๐ คณุ ธรี ะพล ๐๘ ๑๕๓๓ ม่อนลับแล ๙๘ หมู่ ๖ ต�ำบลฝายหลวง จ�ำหน่าย ๕๒๗๘ สนิ ค้าทร่ี ะลึก โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๔๓๙ ลับแลโภชนา ๘๑๙ บ้านคอกช้าง ถนนเขาน้�ำตก ตัวอย่างรายการนำ� เท่ียว จำ� หน่ายสินค้าที่ระลึก เปดิ เวลา ๐๗.๓๐-๑๙.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๒๘ วันทหี่ นึ่ง วิสาหกจิ ชมุ ชนรอ่ งยางนางเหลยี ว (เรณูผา้ ทอลบั แล) เช้า - ออกเดินทางจากตัวอำ� เภอเมือง จงั หวัด ๑๕๕/๙ ติดกับโรงพยาบาลลับแล หมู่ ๑๑ ต�ำบล อุตรดิตถ์ ชยั จมุ พล โทร. ๐ ๕๕๔๕ ๐๓๕๐ - ชมพพิ ธิ ภณั ฑบ์ อ่ เหลก็ นำ้� พี้ และตกเหลก็ บ่อน้�ำพ่ี แหล่งแร่เหล็กท่ีมีความแข็งแกร่ง และเหนยี วทส่ี ุด ท่ีอ�ำเภอทองแสนขนั ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ศิลปะหัตถกรรมทางด้านการ - แวะอุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อ�ำเภอ ทอผ้า (กลุ่มทอผ้าซ่ินตีนจกบ้านคุ้ม-นาทะเล) ๓๑ น�้ำปาด ศึกษาระบบนิเวศของธรรมชาต ิ หมู่ ๔ ต�ำบลชัยจุมพล โทร. ๐๘ ๗๑๙๘ ๗๓๕๓ และชมตน้ สกั ทม่ี ขี นาดใหญอ่ ายุ ๑,๕๐๐ ปี ศูนย์ฝึกอาชีพและจ�ำหน่ายสินค้าพ้ืนเมือง ใกล้กับ บ่าย - เดินทางไปอ�ำเภอท่าปลา ชมเข่ือนสิริกิต ์ิ อนุสาวรีย์ศรีพนมมาศ เทศบาลต�ำบลศรีพนมมาศ กิจการโรงผลิตกระแสไฟฟ้า ทิวทัศน์ทะเล จ�ำหน่ายผ้าพ้ืนเมือง เส้ือผ้าทอ ผ้าถุงลับแล ผ้าซิ่น สาบเหนอื เข่อื นสิรกิ ติ ิ์ - รบั ประทานอาหารทรี่ า้ นอาหารเหนอื เขอ่ื น ตนี จก เปดิ เวลา ๐๘.๐๐-๑๖.๐๐ น. สิริกติ ์ิ - ล่องทะเลสาบเหนือเข่ือน (ทะเลสาบ อรวรรณ ๓๖๘ (ข้างตลาดลับแล) ถนนเขาน�้ำตก สุริยันต-์ จันทรา) จำ� หนา่ ยผ้าซิน่ ตีนจก โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๑๐๕๙ 44 อตุ รดติ ถ์

(พักค้างบนแพหรือเรือ ๑ คืน พร้อมรับ สักการะพระแท่นศลิ าอาสน ์ ประทานอาหารเย็น-เช้า) - เดนิ ทางไปอำ� เภอตรอน - สมั ผสั วถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมชมุ ชนลาวเวยี ง วันทสี่ อง ทบี่ ้านหาดสองแคว เชา้ - เดนิ ทางจากออกจากอำ� เภอทา่ ปลากลบั เขา้ - เขา้ พักทโี่ ฮมสเตย์ ตวั เมอื ง - สกั การะอนสุ าวรยี พ์ ระยาพชิ ยั ดาบหกั หนา้ วันท่สี อง เช้า - ชมการตกั บาตรหาบจงั หนั ทบี่ า้ นหาดสอง- ศาลากลางจงั หวดั แคว ชมพิพธิ ภัณฑพ์ น้ื บ้าน - พพิ ธิ ภณั ฑด์ าบเหลก็ นำ�้ พ้ี พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ระยา พชิ ัยดาบหัก - ชมแมน่ ำ้� สองสี ชมผลติ ภณั ฑอ์ าหารแปรรปู หรือ ตามรอยเส้นทางเสด็จประพาสต้น - นมสั การหลวงพ่อเพชร วัดทา่ ถนน (รัชกาลที่ ๕) ในแม่น้�ำน่าน ซ้ือสินค้า - ชมจิตรกรรมฝาผนังวัดกลางสมัยอยุธยา ตอนปลาย ถึงรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ หตั ถกรรมผา้ ทอน�้ำอา่ ง - ชิมอาหารพ้ืนบา้ น - รับประทานอาหารกลางวนั บา่ ย - แวะวัดคลึงคราช เป็นวัดทมี่ ีอายกุ วา่ บ่าย - เดินทางไปอำ� เภอลับแล แวะตลาดผลไม้ ๑๐๐ ปี ชมวตั ถโุ บราณ - เดินทางไปนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ - ชมการเล้ยี งจ้ิงหรีด กบ เปด็ และหมูหลุม ณ วดั พระแทน่ ศลิ าอาสนแ์ ละชมพพิ ิธภณั ฑ ์ การเพาะเหด็ นางฟา้ การปลกู ผักปลอด ในวัดพระแท่นศิลาอาสน์ และกิจกรรมปั่น สารพษิ และการทำ� นาวางตน้ เดยี ว ทศี่ นู ยฝ์ กึ จกั รยาน และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน - เข้าทีพ่ กั อตุ รดติ ถ์ โปรแกรมพกั โฮมสเตย์ สัมผัสวถิ ชี มุ ชน - เดินทางกลบั ตัวเมืองอตุ รดติ ถ ์ พร้อมแวะ วันแรก ซือ้ ของฝาก เชา้ - ออกเดินทางจากตัวเมืองไปสักการะ โปรแกรมเยย่ี มชมเมอื งมรดกโลกหลวงพระบาง อนุสาวรียพ์ ระยาพิชยั ดาบหกั วนั แรก - เดนิ ทางไปอ�ำเภอลบั แล แวะพิพิธภณั ฑ์ เช้า - เดนิ ทางออกจากจังหวดั อุตรดติ ถ ์ เมืองลบั แล ซมุ้ ประตูเมอื งลับแล - ผ่านพิธีตรวจลงตรา ณ ด่านภูดู่ อ�ำเภอ - เทยี่ วชมสวนผลไมอ้ ำ� เภอลบั แล ชมวธิ เี กบ็ บ้านโคก ผลไม้ท่ีใช้รถมอเตอร์ไซค์วิ่งตามสันเขา - เดนิ ทางเข้าสเู่ มืองปากลาย ชมวถิ ีชีวิตของ ชิม ทเุ รยี นพนั ธ์หุ ลงลับแลและหลินลบั แล ชาวเมืองปากลาย หรอื ทอ่ งเทย่ี วเสน้ ทางจกั รยาน ๓ เสน้ ทาง - รบั ประทานอาหารพื้นบา้ นเมืองลบั แล บา่ ย - เข้าสแู่ ขวงไชยะบรุ ี แวะชมตลาดสด บ่าย - แวะไหวอ้ นุสาวรยี พ์ ระศรีพนมมาศ บา้ นน้�ำปยุ 45อุตรดิตถ์

- เขา้ สู่เมืองมรดกโลกหลวงพระบาง กู๊ดไทม์ บูติก ๒๙๐/๑๐ ถนนส�ำราญรื่น ต�ำบล ท่าอิฐ จ�ำนวน ๕๐ ห้อง ราคา ๕๐๐-๖๐๐ บาท วนั ที่สอง โทร. ๐๘ ๖๙๒๖ ๔๕๔๕, ๐ ๕๕๔๑ ๑๕๕๔ เชา้ - เที่ยวชมตลาดเช้า เมืองมรดกหลวงโลก www.uttaradithotel.com. หลวงพระบาง - ชมพิพธิ ภณั ฑแ์ ห่งชาต ิ แกรนด์วนา ๒๐๘ ถนนบรมอาสน์ ต�ำบลท่าอิฐ - ตลาดดารา จ�ำนวน ๑๖ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๐ บ่าย - เย่ยี มชมวัดเชยี งของ วัดพระบาง และวดั ๓๘๘๓-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๔๔ ๔๗๕๗ พระธาตพุ สู ี ขุนฝางคลับเฮาส์ รีสอร์ท ๔๑/๑-๔ ต�ำบลขุนฝาง - แวะซ้ือสินค้าท่ีพ้ืนเมือง ณ ตลาดมืด (แยกวังสีสูบ ทางไปเขื่อนสิริกิติ์) จ�ำนวน ๑๖ ห้อง หลวงพระบาง ราคา ๕๐๐-๒,๐๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๐๖๘๖ ๘๙๑๙ วันทส่ี าม ชบา รีสอร์ท ๕/๑ ต�ำบลท่าเสา (ซอยหนองหิน เช้า - ทำ� บุญใส่บาตรข้าวเหนียว ตรงข้ามโรงเรยี นวดั อรัญญิการาม) จำ� นวน ๔๐ ห้อง - เดินทางส่แู ขวงไชยะบุรี ราคา ๓๕๐-๔๕๐ บาท สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๕๕๔๔ - เดินทางถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ ๐๔๔๐ ชัชวาลรีสอร์ท ๒๘๔ หมู่ ๕ ต�ำบลท่าเสา (หลัง ตลาดสดเทศบาล ๕ ริมคลอง) จ�ำนวน ๓๕ ห้อง ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ราคา ๔๐๐-๕๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๑๔๕๕, ๐๘ ๑๗๐๗ ๓๑๐๓, ๐๘ ๑๙๖๒ ๒๒๙๘ สถานทพี่ ัก www.chatchawanresort.com (ข้อมูลห้องพักในเอกสารน้ี มีการเปลี่ยนแปลงได้ เดอะเพลส ๓๗๔/๒๑ ถนนย่านศิลาอาสน์ ต�ำบล โปรดสอบถามจากโรงแรมกอ่ นเขา้ พกั ) ท่าอิฐ จ�ำนวน ๓๒ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. อ�ำเภอเมอื งอตุ รดติ ถ ์ ๐๘ ๙๙๖๐ ๕๕๙๗, ๐๙ ๑๘๓๙ ๓๕๑๕ กรีน ววิ ๕๐/๕ หมู่ ๔ บา้ นแม่พรอ่ ง ตำ� บลบ้านเกาะ เดอะรูม ๑๗/๑ ถนนเจษฎาบดินทร์เหนือ (เกาะ- จ�ำนวน ๒๖ ห้อง ราคา ๕๕๐-๙๕๐ บาท โทร. กลาง) ต�ำบลท่าอิฐ จ�ำนวน ๓๖ ห้อง ราคา ๐ ๕๕๔๐ ๗๘๘๘, ๐๘ ๑๓๗๙ ๗๘๘๑ ๓๐๐-๘๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๓๔๕๖ กัลปพฤกษ์ ๒๕๐/๒ ตำ� บลทา่ เสา จ�ำนวน ๔๐ หอ้ ง เดอะรูม อุตรดิตถ์ ๑๗/๑ ถนนเจษฎาบดินทร ์ ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๐๗๘๖-๗ ตำ� บลทา่ อฐิ จำ� นวน ๓๔ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๘๐๐ บาท กิ่งทอง รีสอร์ท ๑๒๓/๑๙ หมู่ ๕ ถนนศรีชาววัง ต�ำบลบ้านกะ จ�ำนวน ๖๒ ห้อง ราคา ๕๐๐-๗๕๐ โทร. ๐ ๕๕๔๐ ๗๓๔๙, ๐๘ ๓๖๒๓ ๗๑๑๗ โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๓๔๕๖ 46 อตุ รดติ ถ์

ต้นกลา้ แฮบป้ี โฮม ๘/๘ ซอย ๑๔ ถนนบรมอาสน์ โทร. ๐๘ ๙๙๖๐ ๕๕๙๗, ๐๙ ๑๘๓๙ ๓๕๑๕ จ�ำนวน ๒๑ ห้อง ราคา ๓๕๐-๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๐๔๖๕ บ้านริมน�้ำ รีสอร์ท ๓๒๘/๑๔ ตรงข้าม ซอย ๘ ถนนส�ำราญรื่น จ�ำนวน ๖ ห้อง ราคา ๑,๐๐๐- ต้นทอง รีสอร์ท ๑๒๓/๙ หมู่ ๕ ถนนศรีชาววัง ๑,๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๒๙๐๐ ต�ำบลบ้านเกาะ จำ� นวน ๕๔ ห้อง ราคา ๔๐๐-๔๙๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๓๒๐๔, ๐๘ ๓๖๒๓ ๗๑๑๗ พิณธนา ริมน่าน ๗๗ ถนนท่าอิฐล่าง ต�ำบลท่าอิฐ จ�ำนวน ๑๐ ห้อง ราคา ๔๕๐-๖๕๐ บาท โทร. ตักเงิน รีสอร์ท ๖๗/๒ ๖๗/๑๐ หมู่ ๕ ต�ำบล ๐ ๕๕๔๑ ๒๑๘๓ บา้ นเกาะ จำ� นวน ๕ หอ้ ง ราคา ๔๙๐- ๕๙๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๑๓๕๔ พี เอน็ เฮ้าท์ รสี อร์ท & เรสเตอรอง เลขท่ี ๒๑๘/๒ หมู่ ๔ ต�ำบลทา่ เสา สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐๙๗ ๐๙๖ ไทธนา รีสอร์ท ๒/๙๐ ถนนพาดวารี ต�ำบลท่าอิฐ ๓๕๐๕, ๐๘๙ ๘๕๘๘๒๔๑, ๐๘๑ ๖๘๐ ๐๙๕๑ จ�ำนวน ๔๓ ห้อง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๓๒๒๒ โทรสาร ๐ ๕๕๔๐ ๓๖๗๙ ฟรายเดย์ ๑๗๒ ถนนบรมอาสน์ ต�ำบลท่าอิฐ จ�ำนวน ๑๒๒ ห้อง ราคา ๘๕๐-๓,๕๐๐ บาท โทร. ไทธนา อพาร์ตเมนท์ ๗๔/๑๘ ซอย ๓ ถนนบรม- ๐ ๕๕๔๔ ๐๒๙๒, ๐ ๕๕๘๓ ๒๗๗๕-๙ โทรสาร อาสน์ ต�ำบลท่าอิฐ จ�ำนวน ๖๐ ห้อง ราคา ๓๕๐ ๐ ๕๕๔๔ ๐๒๙๕ บาท/วัน โทร. ๐ ๕๕๘๓ ๒๓๘๙, ๐ ๕๕๘๓ ๒๒๒๗ โทรสาร ๐ ๕๕๔๑ ๗๗๗๒ ฟาเธอร์ เฮ้าส์ ๒๐๘/๔ หมู่ ๔ ถนนบรมอาสน์ ตำ� บลบ้านเกาะ จ�ำนวน ๑๓ ห้อง ราคา ๓๕๐-๖๐๐ ไทยมติ ร อพารท์ เม้นท์ ๒๘/๑ หมู่ ๔ ถนนอินใจมี บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๒๒๓๗, ๐๘ ๔๖๑๘ ๖๗๔๑ ตำ� บลทา่ เสา จำ� นวน ๒๐ หอ้ ง ราคา ๓๘๐-๔๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๑๓๕๔ ร่มไทร ๒๗ ซอย ๙ ถนนอินใจมี ต�ำบลทา่ อฐิ จ�ำนวน ๒๐ ห้อง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๐๒๖๔ ธนากร การ์เดน ๑๓/๒๗ ถนนอินใจมี ซอย ๑ ต�ำบลท่าอิฐ จ�ำนวน ๓๓ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท เรือนต้นสัก ๒๗ ถนนอินใจมี ต�ำบลท่าอิฐ จ�ำนวน โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๑๑๑๘-๒๐ ๒๔ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๐๓๙๔ นร-กมล แมนชนั่ ๑๕๙/๕ หมู่ ๔ ต�ำบลบา้ นเกาะ วี.ไอ.พี. ๑๕๙ หมู่ ๔ ต�ำบลบ้านเกาะ จ�ำนวน จำ� นวน ๒๐ หอ้ ง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๑๖ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๑๙๗๐ ๓๒๐๒ สีหราช ๑๖๓ ถนนบรมอาสน์ ตำ� บลท่าอิฐ จำ� นวน บัวทิพย์ ๒๓๖ หมู่ ๓ ถนนเจษฎาบดินทร์เหนือ ๑๕๒ ห้อง ราคา ๘๐๐-๓,๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๘๓ ต�ำบลทา่ อิฐ จ�ำนวน ๔๙ ห้อง ราคา ๓๕๐-๖๐๐ บาท ๒๗๙๐-๙๗, ๐ ๕๕๘๓ ๒๗๘๐-๘๔ โทรสาร ๐ ๕๕๔๑ โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๖๐๗๗, ๐๘ ๘๒๙๐ ๕๗๖๖ ๒๑๗๒ บา้ นทพิ ย์ ซอย ๓ หนา้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อตุ รดติ ถ์ สุนีย์ บูติค โฮเทล จ�ำนวน ๓๐ ห้อง ๖๘/๖ ถนน ถนนอนิ ใจมี จำ� นวน ๑๐ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท บรมอาสน์ ต�ำบลท่าอิฐ ๕๓๐๐๐ ราคาห้องละ ๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๘๓ ๒๒๓๔, ๐๘ ๘๒๘๐ ๘๐๘๑ 47อตุ รดติ ถ์

อารย เทอเรซ รีสอรท์ ๒๗๔ หมู่ ๓ ตำ� บลคงุ้ ตะเภา ร่วมจิต จ�ำนวน ๘ ห้อง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท จ�ำนวน ๔๐ หอ้ ง ราคา ๕๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ โทร. ๐๘ ๑๙๗๒ ๑๖๘๐ ๘๗๗๑, ๐ ๕๕๔๒ ๙๕๕๕ โทรสาร ๐ ๕๕๔๒ ๙๕๕๕ www.arayahotel.com แพเกษิณี ทวั ร์ ๘๐ หมู่ ๙ บ้านท่าเรือ ตำ� บลท่าปลา จ�ำนวน ๑๒ หลงั ราคา ๒,๕๐๐-๔,๕๐๐ บาท โทร. อารีน่า รีสอร์ท ๑๑๙/๕ ถนนสุขเกษม ตำ� บลท่าอฐิ ๐๘ ๕๗๓๒ ๐๙๒๕, ๐๘ ๕๗๒๗ ๖๔๙๖, ๐๘ ๑๙๕๓ จ�ำนวน ๕๗ ห้อง ราคา ๔๐๐-๗๐๐ บาท โทร. ๙๔๔๐, ๐๘ ๑๖๐๕ ๖๒๑๑ ๐ ๕๕๔๑ ๔๙๓๙, ๐ ๕๕๔๑ ๔๙๐๒ โทรสาร ๐ ๕๕๔๑ ๔๙๕๔ แพท่าปลาปัญญาทัวร์ (แพลุงแจ้ง) ๒๔ หมู่ ๙ บ้านท่าเรือ ต�ำบลท่าปลา จ�ำนวน ๘ หลัง ราคา โอ ยู เอ็ม ๙๓ ถนนสมานมิตร ต�ำบลทา่ อิฐ จำ� นวน ๓,๕๐๐-๕,๐๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๗๒๐๔ ๒๗๓๙, ๔๒ หอ้ ง ราคา ๖๖๐-๒,๕๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๘๓ ๐๘ ๑๗๔๐ ๖๘๔๑, ๐๘ ๑๙๗๑ ๒๕๒๗ ๒๒๘๘ แพวโิ รจน์ ฟิชชิง่ ทัวร์ ๙๒ หมู่ ๙ บ้านทา่ เรอื ตำ� บล อำ� เภอตรอน ทา่ ปลา จ�ำนวน ๔ หลัง ราคา ๒,๕๐๐-๔,๕๐๐ บาท วัน ทรู ทรี โฮเตล็ ๒/๗ หมู่ ๙ ต�ำบลน�้ำอา่ ง จ�ำนวน โทร. ๐๘ ๑๙๗๑ ๗๘๔๕, ๐๘ ๕๖๙๙ ๙๗๔๑ หอ้ ง ๑๑ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๕ ๔๑๒๐ เรอื นแฝดสีทอง ๑๙๔ หมู่ ๒ ตำ� บลร่วมจติ จำ� นวน โฮมสเตย์หาดสองแคว ต�ำบลหาดสองแคว จำ� นวน ๙ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๙๒๖๙ ๕๖๓๔, ๑๐ หอ้ ง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๙ ๖๐๙๘, ๐๘ ๔๘๑๖ ๗๖๗๔ ๐๘ ๔๕๐๕ ๔๖๗๒ www.hardsongkaew.go.th เรือนริมน่าน ๔๐ หมู่ ๑๐ ต�ำบลผาเลือด จ�ำนวน อ�ำเภอท่าปลา ๕ หลงั ราคา ๑,๕๐๐-๓,๐๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๖ ท่านา เก็ตเฮ้าส์ ต�ำบลผาเลือด จ�ำนวน ๔ ห้อง ๑๑๓๔, ๐๘ ๙๙๖๑ ๖๕๗๓ ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๘๘๗ ๖๙๕๔ ไร่กล่ินแก้ว ๑๑๓ หมู่ ๔ ถนนเขื่อนดินท่าปลา บ้านพักรับรองเขื่อนสิริกิติ์ ๔๐ หมู่ ๑๐ ต�ำบล ตำ� บลท่าปลา จำ� นวน ๙ ห้อง ราคา ๓๐๐-๓๕๐ บาท ผาเลือด จำ� นวน ๕๗ หอ้ ง ๘ หลงั ๓๒ ยูนิต ราคา โทร. ๐ ๕๕๔๙ ๙๓๘๙, ๐๘ ๑๒๗๙ ๙๐๘๓ ๖๐๐-๒,๐๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๓๔, ๐ ๕๕๔๖ ๑๑๔๐-๓, ๐๘ ๙๙๖๑ ๖๕๗๓ วนดิ า รสี อรท์ ๑๔ หมู่ ๒ ตำ� บลจรมิ จำ� นวน ๑๐ หอ้ ง www.sirikitdam.egat.com ราคา ๖๐๐-๑,๐๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๘๑ ๘๐๕๘, ๐๘ ๐๑๒๕ ๒๖๑๖ บ้านพักอทุ ยานแหง่ ชาติล�ำน้�ำนา่ น หมู่ ๘ ต�ำบลผา เลือด จ�ำนวน ๓ หลัง ราคา ๑,๘๐๐ บาท โทร. สงิ หท์ อง รีสอรท์ จำ� นวน ๑๙ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท ๐ ๕๕๔๓ ๖๗๕๑ โทร. ๐๘ ๗๘๔๒ ๖๗๕๑ บ้านหมอนอุ่น ๙๙/๙ หมู่ ๓ ถนนเขอื่ นสิรกิ ิต์ิ ตำ� บล โฮมสเตย์บ้านน�้ำหมัน-น�้ำรี ต�ำบลน้�ำหมัน โทร. ๐๘ ๗๘๔๒ ๗๓๔๙, ๐๘ ๒๘๘๘ ๖๔๖๓ 48 อุตรดิตถ์

อ�ำเภอน�้ำปาด ภูดู่@Home หมู่ ๒ ต�ำบล ม่วงเจ็ดต้น จ�ำนวน ตากะยายรีสอร์ท ๓๓๔/๑๔ ต�ำบลแสนตอ จ�ำนวน ๔ ห้อง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๓๗๙ ๑๒ หอ้ ง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๓๙๔ ๒๘๕๔, ๓๙๙๗, ๐๙ ๑๒๙๐ ๒๓๓๔ ๐๘ ๙๗๕๗ ๔๘๒๓ สตางค์รีสอร์ท หมู่ ๒ ต�ำบลม่วงเจ็ดต้น จ�ำนวน น�้ำปาด รีสอร์ท ๓๕๐/๑๐ หมู่ ๔ ต�ำบลแสนตอ ๗ หอ้ ง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐๘ ๗๙๔๓ ๔๓๑๙ จำ� นวน ๗ ห้อง ราคา ๕๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๗๘๓๑ ๓๔๖๖ MK รสี อร์ท บา้ นโคก ๓๖๑ หมู่ ๓ ตำ� บลบา้ นโคก จ�ำนวน ๕ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๘ บา้ นวิวฒั น์รสี อรท์ ๓๓๕/๒๓ หมู่ ๔ ถนนนำ�้ ปาด- ๖๐๓๔, ๐๘ ๙๘๕๘ ๗๙๕๘ ฟากท่า ต�ำบลแสนตอ จ�ำนวน ๒๐ ห้อง ราคา ๓๕๐-๖๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๘ ๑๒๗๘, ๐๘ ๗๑๙๘ อ่ิมดีวัลเล่ย์ ๑๙๙ หมู่ ๓ ต�ำบลบ้านโคก จ�ำนวน ๖๐๖๐ ๑๑ ห้อง ราคา ๔๐๐-๘๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๘ ๖๒๓๑, ๐๘ ๖๒๐๙ ๕๘๐๐, ๐๙ ๐๔๕๙ ๒๑๖๒ อ�ำนวยสุขรีสอร์ท น�้ำปาด ตรงข้ามขนส่งน�้ำปาด จ�ำนวน ๒ ห้อง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๐๓๖ อ�ำเภอพิชยั ๕๕๒๗, ๐๘ ๑๙๘๗ ๔๖๐๔ ชายเอกรีสอร์ท ๑๔๗ หมู่ ๕ บ้านท่าเด่ือ ต�ำบล คอรุม จ�ำนวน ๑๖ ห้องราคา ๔๐๐ บาท โทร. อ�ำเภอบา้ นโคก ๐๙ ๐๐๖๑ ๐๗๖๕ กอข้าว กอกลา้ รสี อรท์ (Happy Home) หมู่ ๒ ต�ำบลม่วงเจด็ ต้น จำ� นวน ๗ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ ฮอลิเดย์ ๑๘๖/๑ หมู่ ๑ ต�ำบลในเมือง จ�ำนวน บาท โทร. ๐๘ ๑๓๗๙ ๓๙๙๗, ๐๘ ๖๒๑๗ ๐๔๑๘ ๙ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๒ ๑๑๘๖ เชิงดอยรีสอร์ท หมู่ ๑ ต�ำบลม่วงเจ็ดต้น จ�ำนวน โฮมสเตย์คอรุม ต�ำบลคอรุม จ�ำนวน ๒๕ ห้อง ๔ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๐๐๒๘ ๓๙๗๖ ราคา ๓๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๕๗๓๐ ๒๓๒๕ บ้านโคกรีสอร์ท ๑๑๗ หมู่ ๓ ต�ำบลบ้านโคก อำ� เภอฟากทา่ จำ� นวน ๗ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๘ บ้านเพลงรีสอร์ท ๒ ๕๙ หมู่ ๑ ต�ำบลฟากท่า ๖๔๒๔, ๐๘ ๖๙๒๖ ๙๐๗๐, ๐๘ ๓๑๖๑ ๐๑๗๒ จ�ำนวน ๑๐ ห้อง ราคา ๓๐๐-๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๘ ๙๒๗๑, ๐๙ ๓๖๗๕ ๓๙๑๑ บ้านเพลง รีสอร์ท ๑๑๔/๔ หมู่ ๓ ต�ำบลบ้านโคก จ�ำนวน ๑๔ ห้อง ราคา ๓๕๐-๔๐๐ บาท โทร. เป็นหนึง่ แมนชนั่ ๑๑๗ หมู่ ๑ ตำ� บลฟากท่า จำ� นวน ๐๘ ๒๘๘๗ ๔๓๙๘ ๑๔ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๑๗๒๗ ๐๑๗๙ บา้ นเชงิ ดอย หมู่ ๑ ตำ� บลมว่ งเจด็ ตน้ จำ� นวน ๔ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๕๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๐๐๒๘ ๓๙๗๖ อ�ำเภอลับแล กลุ่มโฮมสเตย์หัวดง ๒๒๓ หมู่ ๒ ต�ำบลแม่พูล เบงิ่ ภรู สี อรท์  หมู่ ๗ ตำ� บลมว่ งเจด็ ตน้ จำ� นวน ๕ หอ้ ง โทร. ๐ ๕๕๔๒ ๗๒๒๒ ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐๘ ๙๒๗๐ ๐๒๑๘ 49อตุ รดติ ถ์

ก ลุ ่ ม โ ฮ ม ส เ ต ย ์ เ มื อ ง ลั บ แ ล ต� ำ บ ล แ ม ่ พู ล โฮมสเตยพ์ ลอย พนา ลับแล กาแฟสดริมนำ�้ ต�ำบล โทร. ๐๘ ๗๙๐๐ ๕๖๙๒, ๐๘ ๗๕๒๑ ๒๔๓๒ แม่พูล (ห่างจากน�้ำตกแม่พูล ๕๐๐ เมตร) จ�ำนวน www.facebook.com/HomestayLablae ๒ หลัง ราคา ๕๐๐บาท โทร. ๐๙ ๓๒๕๗ ๕๕๕๓ ณ ลับแล รีสอร์ท ๑๔๗ ถนนอินใจมี ต�ำบลศรี- โฮมสเตย์ศรีพนมมาศ ต�ำบลศรีพนมมาศ โทร. พนมมาศ จ�ำนวน ๕ ห้อง ราคา ๕๐๐-๕๙๐ บาท ๐๘ ๔๑๘๐ ๓๒๕๕ โทร. ๐ ๕๕๕๓ ๑๑๓๗, ๐๘ ๒๖๖๑ ๐๘๘๑ www.facebook.com/nalablae ร้านอาหาร อ�ำเภอเมอื งอตุ รดติ ถ ์ เนนิ ทอง ๑๕๖/๑ หมู่ ๑๑ ตำ� บลชัยจมุ พล ‎จำ� นวน กะ๊ ดาว ๕๓/๑ หมู่ ๓ บา้ นปา่ ขนุน (ถนนสายเอเชีย) ๒๔ ห้อง ราคา ๓๕๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ ๔๗๐๐ ก่อนถึงสีแ่ ยกป่าขนนุ บ้านชา้ ง รสี อรท์ ๙๒/๑ หมู่ ๑๑ ถนนผามูบ-บอ่ แตร ก๋วยเตี๋ยวไก่ป้านาค ๒๗/๓ ถนนส�ำราญร่ืน ต�ำบล ต�ำบลแม่พูล จำ� นวน ๓ หลัง ราคา ๑,๕๐๐-๓,๐๐๐ ทา่ อฐิ โทร. ๐๘ ๕๒๗๐ ๕๒๖๙ บาท โทร. ๐๘ ๖๒๐๗ ๓๒๑๘ ก๋วยเตี๋ยวชามเซียน ถนนส�ำราญรื่น ต�ำบลท่าอิฐ บา้ นปล้มื รกั & The Terminal Café เลขท่ี ๑๒๙ เปิดเวลา ๐๕.๐๐-๑๕.๓๐ น. โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๓๑๘๙ หมู่ ๓ ต�ำบลทงุ่ ย้ัง จำ� นวน ๙ ห้อง ราคา ๕๐๐-๗๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) กว๋ ยเตย๋ี วตม้ ยำ� ไข่ โบราณ ๓/๑ ถนนสำ� ราญรน่ื ซอย สำ� ราญรน่ื ชมุ ชนคอวงั เปดิ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๐๐ น. บา้ นสวนแสงตะวนั รสี อรท์ ๑๒/๓ หมู่ ๑๐ ถนนเสน้ โทร. ๐๘ ๗๐๕๓ ๗๐๕๓ แยกหนองผา-ประกันสังคม ต�ำบลชัยชุมพล จำ� นวน ๙ ห้อง ราคา ๕๐๐-๖๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๔๑๗๙ ก๋วยเตี๋ยวเรือเป่าปากชามกะลา (แม่จวน) แยก ๕๐๓๔, ๐๘ ๓๑๖๑ ๕๗๓๕ หนองผา ถนนเจษฎาบดินทร์ ต�ำบลท่าอิฐ โทร. ๐๘ ๕๘๗๘ ๐๕๒๒ พีรภัทร ๒๐๖/๒ ถนนอินใจมี ต�ำบลชัยจุมพล จำ� นวน ๒๗ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๔๔ กุ๊กป๋อง ๓/๕ ถนนเจษฎาบดินทร์ ตำ� บลทา่ อฐิ โทร. ๐๓๐๐, ๐๘ ๗๑๙๔ ๖๖๑๕ ๐ ๕๕๔๑ ๖๐๐๔ ฝนท็อป เพลส โทร. ๐๘ ๘๑๗๓ ๕๓๓๙, ๐๘ ๖๙๓ ข้าวมันไก่ศรีวัย (เกาะกลาง) ๑๖๑/๒ ถนนบรม ๒๖๕๘๘ อาสน์ ติดกบั โรงแรมสีหราช โทร. ๐ ๕๕๘๓ ๒๖๒๒, ๐ ๕๕๔๑ ๑๗๔๒, ๐๘ ๑๕๓๒ ๐๔๔๑ เปิดเวลา ภตู ะวันโฮมสเตย์ (ตดิ ต่อต�ำบลแม่พลู ) ตำ� บลแมพ่ ลู ๐๕.๐๐-๑๖.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๔๕ ๗๓๕๙ คนเมืองลงุ ๖๑/๖ ถนนเจษฎาบดนิ ทรเ์ หนือ ต�ำบล สวนโชติรักษารีสอร์ท ๔๕/๙ หมู่ ๕ ต�ำบลแม่พูล ทา่ อิฐ โทร. ๐๘ ๖๙๓๑ ๒๑๑๓ จ�ำนวน ๓ หลัง ราคา ๑,๕๐๐-๒,๐๐๐ บาท โทร. ๐๘ ๕๔๐๗ ๔๘๒๙, ๐๘ ๙๒๗๐ ๘๗๐๘ คริสตัลปาลม์ ในโรงแรมสีหราช เปดิ เวลา ๒๐.๐๐- ๐๒.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๔๑ ๔๑๘๕, ๐ ๕๕๔๑ ๔๑๘๕ 50 อตุ รดิตถ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook