Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทร31001

ทร31001

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-06-17 00:30:00

Description: ทร31001

Search

Read the Text Version



ข เอกสารสรุปเนื้อหาท่ีตองรู รายวิชาสังคมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รหสั สค31001 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ หา มจําหนาย หนังสือเรยี นน้จี ัดพมิ พดว ยเงินงบประมาณแผนดนิ เพอื่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธเ์ิ ปนของสํานกั งาน กศน.สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั ง คํานํา หนา สารบัญ บทที่ 1 ภมู ิศาสตรท างกายภาพทวีปเอเชีย 1 กิจกรรมทายบทท่ี 1 12 บทท่ี 2 ประวตั ศิ าสตรทวปี เอเชยี 14 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 21 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร 22 กิจกรรมทายบทที่ 3 34 บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง 36 กิจกรรมทา ยบทท่ี 4 41 คณะทาํ งาน 43

1 บทที่ 1 สภาพภูมิศาสตรกายภาพ สภาพแวดลอมทางกายภาพของประเทศไทย ประเทศไทยต้ังอยใู นภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตและมีท่ตี ัง้ อยูบริเวณตอนกลางของ คาบสมทุ รอนิ โดจนี จากการที่ประเทศไทยมที ตี่ ั้งเปนคาบสมุทร จงึ ไดรับอทิ ธิพลจากทะเลอันดา มันและทะเลจีนใต ภายในแผนดินมีลักษณะภูมิประเทศแตกตางกันไปตามภาค เชน ที่ราบ ภูเขาชายทะเล และจากการมีท่ีตั้งในเขตภูมิอากาศแบบรอนช้ืน มีลมมรสุมพัดผาน จึงทําใหมี พืชพรรณธรรมชาติและส่ิงแวดลอมหลากหลายเอ้ือตอการต้ังถิ่นฐานและการดํารงชีวิตของ มนุษย ประเทศไทย แบง เปน 6 ภาค 1. ภาคเหนอื 2. ภาคกลาง 3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ภาคตะวนั ตก 5. ภาคตะวันออก 6. ภาคใต ประเทศไทยมลี ักษณะภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศและพืชพนั ธธุ รรมชาตติ ามลกั ษณะของภมู ิภาค หรอื ทองถน่ิ สามารถจาํ แนกลักษณะภูมปิ ระเทศออกเปน 6 เขต ดังน้ี 1. ทิวเขาและหุบเขาภาคเหนอื 2. ท่รี าบลมุ น้ําภาคกลาง 3. ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 4. ทวิ เขาภาคตะวนั ตก 5. ชายฝง ภาคตะวันออก 6. คาบสมทุ รภาคใต ลกั ษณะภมู อิ ากาศ - ความรอน - ความหนาว - ความชมุ ชื้น - ความแหงแลง

2 สภาพแวดลอมทางกายภาพของทวีปเอเชยี ทวีปเอเชีย เปนดินแดนท่ีอยูทางซีกโลกตะวันออกและไดชื่อวาเปนทวีปท่ีมีส่ิงตรงกัน ขามและส่ิงท่ีเปนที่สุดของโลกอยูหลาย ๆ อยาง เชน เปนทวีปท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดคือมีเนื้อท่ี ประมาณ 44,648,953 ตารางกโิ ลเมตร และมีพ้ืนท่สี ูงทสี่ ดุ ในโลก คือ ยอดเขาเอเวอเรสต ซ่ึง มีความสูงประมาณ 8,850 เมตรหรือ 29,028 ฟุต มีทองทะเลที่ลึกที่สุดอยูในมหาสมุทร แปซฟิ ก และยงั เปน ทวีปทมี่ ปี ระชากรมากท่สี ุดในโลกอีกดวย อาณาเขตตดิ ตอ ทวปี เอเชียมอี าณาเขตติดตอ ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ตอกบั มหาสมุทรอารกติก ทิศใต ติดตอ กบั มหาสมทุ รอนิ เดยี ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกบั มหาสมทุ รแปซิฟก ในเขตทะเลแบรงิ ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ กับทะเลแดง คลองสเุ อซ ลักษณะภูมิประเทศ ทวีปเอเชยี มลี กั ษณะภมู ิประเทศแตกตางกนั มาก โดยในสวนท่ีเปนภาคพ้ืนทวีปแบง ออกเปน เขตตาง ๆ ได 6 เขต ดังน้ี 1. เขตที่ราบตํ่าตอนเหนอื 2. เขตที่ราบลมุ แมน้าํ 3. เขตเทอื กเขาสงู เปนเขตเทือกเขาหนิ ใหมต อนกลาง 4. เขตทร่ี าบสูงตอนกลางทวปี 5. เขตท่รี าบสูงตอนใตและตะวนั ตกเฉียงใต 6. เขตหมเู กาะภเู ขาไฟ ลกั ษณะภมู ิอากาศของทวปี เอเชีย สามารถแบง เขตภมู อิ ากาศได 10 เขตดังนี้ 1. ภูมอิ ากาศแบบรอ นชน้ื หรือแบบปา ดบิ ชืน้ 2. ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอนหรอื รอนช้ืนแถบมรสมุ 3. ภมู อิ ากาศแบบทุง หญา สะวนั นาหรือทงุ หญาเมอื ง 4. ภมู ิอากาศแบบอบอนุ ชน้ื มลี ักษณะคลา ยเขตภมู อิ ากาศแบบเมดิเตอรเ รเนยี น 5. ภูมอิ ากาศแบบอบอุนช้นื ภาคพืน้ ทวีป 6. ภมู ิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนยี น 7. ภูมอิ ากาศแบบช้นื ภาคพน้ื ทวปี 8. ภูมอิ ากาศแบบทะเลทรายเขตรอ น 9. ภมู อิ ากาศแบบข้วั โลกหรอื แบบทุนดรา 10. ภูมิอากาศแบบท่สี ูง

3 สภาพแวดลอ มทางกายภาพทวปี ยุโรป ขนาดทีต่ ้ังและอาณาเขตตดิ ตอ ทิศเหนือ ติดตอ กบั มหาสมทุ รอารกตกิ และข้วั โลกเหนอื ทศิ ใต ตดิ ตอ กับทะเลเมดเิ ตอรเรเนียน จดุ ใตสุดอยทู ่ีเกาะครตี ประเทศกรชี ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกบั ทวีปเอเชีย โดยมีเทือกเขาอรู าลเปน แนวเขตแบง ทวีป ทศิ ตะวนั ตก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนตกิ ลักษณะภมู ิประเทศ แบง ออกเปน 4 เขต ไดแก 1. เขตเทอื กเขาตอนเหนอื 2. เขตที่ราบสงู ตอนกลาง 3. เขตที่ราบตอนกลาง 4. เขตเทือกเขาตอนใต แมนํา้ ทส่ี ําคัญในทวปี ยโุ รป มีดงั นี้ - แมน ้าํ โวลกา - แมนาํ้ ดานบู - แมนาํ้ ไรน ลักษณะภูมิอากาศของทวปี ยโุ รป สามารถแบงเขตภูมิอากาศได 7 เขต ดังน้ี 1. ภูมิอากาศแบบทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี น 2. ภมู ิอากาศแบบทุงหญา กึง่ ทะเลทราย 3. ภูมิอากาศแบบพนื้ สมทุ ร 4. ภมู ิอากาศแบบอบอุนชน้ื 5. ภูมอิ ากาศแบบอบอุนชนื้ ภาคพืน้ ทวปี 6. ภูมอิ ากาศแบบไทกา 7. ภมู ิอากาศแบบข้วั โลกหรอื ภมู ิอากาศแบบทุนดรา ลักษณะเศรษฐกิจ และสภาพแวดลอ มทางสงั คมวัฒนธรรมในทวปี ยโุ รป มีความเจรญิ ทงั้ ในดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดยมีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ดงั น้ี - การทาํ เกษตรกรรม - การปา ไม - การประมง - การเหมอื งแร - การอตุ สาหกรรม

4 ประวัติศาสตร แบง ได 3 สมยั คอื 1. สมยั โบราณ 2. กรกี 3. โรมนั สภาพแวดลอ มทางกายภาพทวปี อเมรกิ าใต ทวปี อเมริกาใตเปน ทวปี ท่ใี หญเปนอันดบั 4 ของโลก รองจากทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาเหนอื อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ กับทวีปอเมริกาเหนอื ทศิ ใต ติดตอ กับทวีปแอนตารก ติกา มชี องแคบเดรกเปน เสน ก้นั เขตแดน ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอกบั มหาสมุทรแอตแลนตกิ จดุ ตะวนั ออกสดุ อยทู แี่ หลมโคเคอรูสใน ประเทศบราซลิ ทิศตะวนั ตก ติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟก จุดตะวันตกสุดอยูท่ีแหลมปารีนเยสใน ประเทศเปรู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของทวปี อเมรกิ าใต สามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะดังน้ี 1. เขตเทอื กเขาตะวันตก ไดแ ก บริเวณเทือกเขาแอนดสี 2. เขตทรี่ าบสูงตะวนั ออก 3. เขตที่ราบลุมแมนํ้าอยูบริเวณตอนกลางของทวีป เปนที่ราบดินตะกอนท่ีมีความ อุดมสมบูรณ และกวา ง ลักษณะภูมอิ ากาศ ปจจัยที่มีอทิ ธพิ ลตอ ภมู ิอากาศของทวปี อเมริกาใต 1. ละติจูด พ้ืนท่ีสวนใหญของทวีปครอบคลุมเขตอากาศรอน และประมาณ 1 ใน 3 ของพื้นที่เปน อากาศ 2. ลมประจํา ไดแก 2.1 ลมสนิ คาตะวันออกเฉยี งเหนอื 2.2 ลมสนิ คา ตะวันออกเฉยี งใต 2.3 ลมตะวนั ตกเฉยี งเหนอื 3. ทิศทางของเทอื กเขา ทวปี อเมริกาใตม ีเทือกเขาสงู อยูทางตะวนั ตกของทวปี 4. กระแสนํา้ 3 สายทีส่ าํ คัญ คอื 4.1 กระแสน้ําอนุ บราซิล ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซิล 4.2 กระแสนาํ้ เย็นฟอลก แลนดไ หลเลยี บชายฝง ประเทศอารเจนตินา 4.3 กระแสน้าํ เย็นเปรู (ฮมั โบลด) ไหลเลยี บชายฝง ประเทศเปรูและชลิ ี

5 เขตภมู ิอากาศ แบง ออกไดเ ปน 8 เขต ดงั นี้ 1. ภูมอิ ากาศแบบปา ดิบชืน้ ไดแก บริเวณที่ราบลุมแมน ้าํ แอมะซอน 2. ภูมอิ ากาศแบบทุงหญาเขตรอน ไดแก บริเวณตอนเหนือและใตของลุมแมนํ้าแอมะ ซอน 3. ภมู อิ ากาศแบบทะเลทราย ไดแ ก ภาคใตของเปรูและภาคเหนือของชิลีเปนบริเวณท่ี รอนและแหง แลงมาก 4. ภมู ิอากาศแบบทงุ หญากงึ่ ทะเลทราย ไดแก ทางตะวนั ออกของประเทศอารเจนตินา จนถงึ ท่ีราบสูงปาตาโกเนีย 5. ภูมิอากาศแบบเมดเิ ตอริเรเนยี ไดแ ก บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซฟิ ก 6. ภมู อิ ากาศแบบอบอนุ ชืน้ ไดแ ก บริเวณตะวันตกเฉียงใตข องทวีป 7. ภมู ิอากาศแบบภาคพ้ืนสมุทร ไดแก บริเวณชายฝง ทะเลอากาศหนาวจัด 8. ภมู อิ ากาศแบบท่สี งู ไดแ ก บริเวณเทอื กเขาแอนดสี ลักษณะเศรษฐกจิ และสภาพแวดลอมทางสังคมวฒั นธรรม - การทําเกษตรกรรม - การเลยี้ งสตั ว - การประมง - การปาไม - การทําเหมืองแร - อุตสาหกรรม สภาพแวดลอ มทางกายภาพทวปี อเมรกิ าเหนือ ทวปี อเมริกาเหนือ เปนทวีปท่ีมีขนาดกวางใหญ โดยมีขนาดใหญเปนอันดับที่ 3 ของ โลกรองจากทวีปเอเชยี และทวปี แอฟรกิ ามพี นื้ ท่ปี ระมาณ 24 ลานตารางกิ โลเมตร รูปรางของ ทวีปอเมริกาเหนือมีลักษณะคลายสามเหลี่ยมหัวกลับ มีฐานกวางอยูทางทิศเหนือ สวนยอด สามเหล่ียมอยทู างทศิ ใต อาณาเขตติดตอ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ กบั ทะเลโบฟอรต มหาสมุทรอารกติกและขั้วโลกเหนือ ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั ทวปี อเมริกาใต (มีคลองปานามาเปน เสน แบง ทวปี ) ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกับมหาสมุทรแอตแลนติก จุดตะวันออกสุดของทวีปอยูท่ี คาบสมุทรลาบราดอร ประเทศแคนาดา ทิศตะวันตก ติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟก จุดตะวันตกสุดของทวีปอยูท่ีแหลม ปรินซออฟเวล รัฐอะลาสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

6 ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวปี อเมริกาเหนือ สามารถแบงออกได 3 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. เขตเทือกเขาภาคตะวันออกเร่ิมตั้งแตเกาะนิวฟนดแลนดทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของแคนาดาจนถงึ ตะวันออกเฉียงใตของสหรฐั อเมรกิ า 2. เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก ไดแก พ้ืนท่ีชายฝงตะวันตกดานมหาสมุทรแปซิฟก ตง้ั แตเทอื กเขาตอนเหนือสุดบริเวณชอ งแคบแบริง ทอดตวั ยาวทางใตของทวีป 3. เขตที่ราบภาคกลาง เปนที่ราบขนาดกวางใหญ อยูระหวางเทือกเขาตะวันออกและ ตะวันตก เรมิ่ ตง้ั แตช ายฝงมหาสมุทรอารต ิกจนถึงชายฝงอา วเม็กซโิ ก แมน าํ้ ทสี่ ําคญั ในทวีปอเมรกิ าเหนือ มีดงั นี้ - แมน้ํามิสซิสซิปป - แมน าํ้ เซนตล อวเรนซ - แมน ํา้ ริโอแกรนด ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ปจ จัยทมี่ ีอทิ ธิพลตอ ภมู อิ ากาศของทวีปอเมรกิ าเหนอื 1. ละติจูด ทวีปอเมริกาเหนือต้ังอยูระหวางละติจูด 7 องศา 15 ลิปดาเหนือ ถึง 83 องศา 38 ลิปดาเหนือใกลข ้ัวโลกเหนอื จึงทําใหม ีเขตภูมอิ ากาศทุกประเภทต้ังแตอากาศรอนไป จนถงึ อากาศหนาวเยน็ แบบขว้ั โลก 2. ลมประจํา ลมประจําท่ีพัดผานทวีปอเมริกาเหนือ มีความแตกตางกันตามชวง ละติจูด 3. ความใกล ไกลทะเล จากลักษณะรูปรางของทวปี อเมริกาเหนือ ซึ่งตอนบนจะกวาง ใหญ และคอ ยๆ เรียวแคบลงมาทางตอนใต ทาํ ใหตอนบนของทวีปไดรับอิทธิพลจากมหาสมุทร นอ ย ทาํ ใหพ นื้ ทตี่ อนบนมอี ากาศคอ นขางแหง แลง 4. ทศิ ทางของเทอื กเขา ทิศทางการวางตัวของเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนือเปนสวน สาํ คญั ในการทําใหพนื้ ทที่ างตอนใตของทวีปมอี ากาศคอ นขางแหงแลง 5. กระแสน้าํ ทวปี อเมริกาเหนอื มีกระแสนา้ํ 4 สาย 5.1 กระแสนา้ํ อุนกลั ฟส ตรมี 5.2 กระแสน้าํ เย็นแลบราดอร 5.3 กระแสน้ําอนุ อลาสกา 5.4 กระแสน้ําเย็นแคลฟิ อรเนีย เขตภูมอิ ากาศ แบง ออกไดเปน 12 เขต ไดแ ก 1. ภูมิอากาศแบบรอ นชน้ื 2. ภมู ิอากาศแบบทะเลทราย 3. ภูมอิ ากาศแบบทงุ หญา เขตรอน 4. ภมู ิอากาศแบบทงุ หญาก่ึงทะเลทราย

7 5. ภูมอิ ากาศแบบเมดิเตอรเรเนยี น 6. ภูมิอากาศแบบอบอนุ ชน้ื 7. ภูมิอากาศแบบภาคพ้นื สมทุ รชายฝง ตะวันตก 8. ภมู อิ ากาศแบบชน้ื ภาคพ้นื ทวปี 9. ภูมอิ ากาศแบบไทกา 10. ภมู ิอากาศแบบทุนดรา 11. ภูมิอากาศแบบขั้วโลก 12. ภมู อิ ากาศแบบบริเวณภเู ขาสงู สภาพแวดลอมทางกายภาพของทวปี ออสเตรเลยี และโอเซยี เนีย อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ตดิ ตอกับทะเลเมดเิ ตอรเรเนยี นในมหาสมุทรแปซิฟก ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ กบั ทะเลคอรลั และทะเลแทสมนั ในมหาสมุทรแปซฟิ ก ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั มหาสมุทรอินเดีย ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ กบั มหาสมทุ รอนิ เดยี ลกั ษณะภมู อิ ากาศของทวปี ออสเตรเลียและโอเซยี เนีย แบงเขตภมู ิอากาศเป 6 ประเภท คือ 1. ภมู ิอากาศทุงหญา เขตรอ น 2. ภมู ิอากาศทุง หญาก่งึ ทะเลทราย 3. ภมู ิอากาศทะเลทราย 4. ภูมอิ ากาศเมดิเตอรเ รเนยี น 5. ภูมอิ ากาศอบอนุ ชืน้ 6. ภูมอิ ากาศภาคพนื้ สมทุ รชายฝง ตะวันตก สาเหตุ และลกั ษณะการเกดิ ปรากฏการณทางธรรมชาติทีส่ าํ คญั และการปอ งกนั อนั ตราย ปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีสําคัญ มีดังน้ี 1. พายุ 2. นา้ํ ทว ม 3. แผน ดนิ ไหว 4. ปรากฏการณเ รือนกระจก 5. ภาวะโลกรอ น 6. ภเู ขาไฟระเบิด

8 วิธีการปอ งกันอนั ตรายเมื่อเกดิ ปรากฏการณทางธรรมชาติ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศฟงคําเตือนจากกรมอตุ นุ ิยมวิทยาสม่าํ เสมอ 2. สอบถามแจง สภาวะอากาศรอนแกกรมอุตุนิยมวทิ ยา 3. ฝกซอ มการปอ งกนั ภยั พิบัตเิ ตรียมพรอมรับมือ และวางแผนอพยพหากจําเปน 4. เตรยี มพรอมอพยพเมื่อไดร ับแจงใหอ พยพ การปองกันน้ําทวมปฏิบตั ไิ ด ดงั นี้ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศฟงคําเตอื นจากกรมอุตุนิยมวทิ ยา 2. ฝก ซอมการปอ งกนั ภัยพบิ ัตเิ ตรยี มพรอมรับมอื และวางแผนอพยพหากจําเปน 3. เตรียมนํ้าด่ืม เคร่ืองอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเปาหิ้วเพ่ือติดตาม ขา วสาร 4. ซอ มแซมอาคารใหแข็งแรงเตรยี มปองกนั ภัยใหสัตวเลยี้ งและพชื ผลการเกษตร 5. เตรียมพรอมเสมอเมื่อไดรับแจงใหอพยพไปที่สูง เมื่ออยูในพื้นที่เส่ียงภัยและฝนตกหนัก ตอ เน่อื ง 6. ไมลงเลนน้ํา ไมขับรถผานน้ําหลากเม่ืออยูบนถนนถาอยูใกลนํ้า เตรียมเรือเพื่อการ คมนาคม การปฏบิ ตั ปิ อ งกันตัวเองจากการเกดิ แผน ดนิ ไหว 1. ควรมีไฟฉายพรอ มถา นไฟฉายและกระเปายาเตรียมไวในบาน 2. ศึกษาการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน 3. ควรมเี ครอ่ื งมอื ดบั เพลงิ ไวในบาน เชน เคร่ืองดบั เพลงิ ถุงทราย เปน ตน 4. ควรทราบตําแหนงของวาลวปดน้ํา วาลวปดกาซ สะพานไฟฟาสําหรับตัด กระแสไฟฟา มาตรการปองกันผลกระทบจากการเกิดปรากฎการณเรอื นกระจก 1. สงเสริมการสงวนและการใชพลงั งานอยางมปี ระสิทธภิ าพสูงสุด 2. หามาตรการในการลดปรมิ าณคารบอนไดออกไซด 3. เลกิ การผลิตและการใชค ลอโรฟลูออโรคารบ อน 4. หันมาใชเ ช้ือเพลงิ ท่กี อใหเกิดคารบอนไดออกไซด ในปริมาณท่ีนอย 5. การวิจัยเกยี่ วกับแหลงพลังงานทดแทนอื่น 6. หยุดย้ังการทําลายปาไม และสนับสนนุ การปลกู ปาทดแทน วธิ กี ารลดภาวะโลกรอ น มี 7 วธิ ี ดงั น้ี 1. ลดการใชพลงั งานทไ่ี มจ ําเปนจากเครื่องใชไฟฟา 2. เลือกใชร ะบบขนสงมวลชน 3. ชว ยกันปลูกตน ไม

9 4. การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาตภิ ายนอก 5. เวลาซือ้ ของพยายามไมร บั ภาชนะที่เปน โฟม 6. ใชกระดาษดวยความประหยดั 7. ไมสนับสนุนกจิ การใด ๆ ทีส่ น้ิ เปลอื งทรัพยากรของโลกเรา การใชเคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร แผนท่ี (Map) หมายถึง การแสดงลักษณะพื้นผิวโลกลงบนแผนราบโดยการยอสวน และการใชสัญลักษณไมวาเคร่ืองหมายหรือสีแทนสิ่งตาง ๆ บนพื้นผิวโลก แผนที่จึงตางจาก ลูกโลกและแผนผัง ความสําคญั ของแผนที่ 1. ทําใหทราบลกั ษณะทางธรรมชาติของพื้นผิวโลก 2. ทาํ ใหท ราบขอมลู สถติ ิตาง ๆ ประโยชนของแผนท่ี 1. ในการศึกษาลักษณะภูมิประเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพื้นท่ีใดมีลักษณะ ภูมปิ ระเทศแบบใดบา ง 2. ตอ การศึกษาธรณวี ิทยา 3. ดา นสมทุ รศาสตรแ ละการประมง เพื่อใหทราบสภาพแวดลอมชายฝงทะเลธรณวี ิทยา 4. ดา นทรพั ยากรน้ํารขู อมูลเกี่ยวกับแมน ํ้าและการไหล 5. ดา นปา ไมเ พื่อใหทราบคณุ ลักษณะของปาไมแ ละการเปลย่ี นแปลงพนื้ ท่ปี า องคป ระกอบของแผนที่ 1. ชื่อแผน 2. ขอบระวาง 3. ทศิ ทาง 4. สญั ลกั ษณ 5. มาตราสวน องคป ระกอบของลูกโลก ประกอบไปดวย 1. เสน เมรเิ ดียนหรือเสนแวง 2. เสนขนานหรอื เสน รุง

10 ปญ หาการทําลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม ผลการจัดลําดบั ความสาํ คญั ของปญ หาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม 1. การสญู เสียทรัพยากรปาไม 2. อทุ กภยั และภยั แลง 3. ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดนิ และการใชทีด่ ิน 4. มลพิษจากขยะ 5. มลพิษทางอากาศ ประเภทของปาไมในประเทศไทย 1. ปาดงดิบ 2. ปา สนเขา 3. ปาชายเลน 4. ปา พรหุ รอื ปาบึงน้ําจดื 5. ปาชายหาด ประโยชนข องทรัพยากรปา ไม 1. การนําไมม าสรา งอาคารบา นเรือนและผลิตภัณฑตาง ๆ 2. ใชเ ปนอาหารจากสวนตา ง ๆ ของพชื ทะเล 3. ใชเสน ใยทไี่ ดจ ากเปลือกไมแ ละเถาวัลยมาถกั ทอเปนเครอ่ื งนุง หม เชอื กและอืน่ ๆ 4. ใชทํายารกั ษาโรคตา งๆ สาเหตุสาํ คญั ของวิกฤตการณปา ไมในประเทศไทย 1. การลักลอบตดั ไมทาํ ลายปา 2. การบุกรกุ พน้ื ที่ปาไมเพือ่ เขาครอบครองทดี่ นิ 3. การสง เสรมิ การปลูกพืชหรอื เลี้ยงสตั ว เศรษฐกิจเพ่ือการสง ออก 4. การกาํ หนดแนวเขตพ้นื ท่ปี า กระทาํ ไมช ดั เจนหรอื ไมกระทาํ เลยในหลาย ๆ พื้นท่ี 5. การจดั สรา งสาธารณปู โภคของรฐั 6. ไฟไหมป า มกั จะเกิดขน้ึ ในชวงฤดแู ลง 7. การทําเหมืองแร ปญ หาเกีย่ วกับทรพั ยากรนาํ้ 1. การขาดแคลนน้ําหรอื ภยั แลง 2. การเกดิ น้าํ ทวม 3. การท้ิงสิง่ ของและการระบายนํา้ ท้ิงลงสแู หลง นาํ้ 4. ปญ หาการใชทรพั ยากรน้าํ อยางไมเ หมาะสม

11 5. ปญ หาความเปล่ียนแปลงของลมฟาอากาศ ทรพั ยากรดิน ปญ หาการใชที่ดนิ ไมเ หมาะสมไดแก 1. การใชท ่ีดนิ เพือ่ การเกษตรกรรมอยางไมถ ูกหลกั วิชาการ 2. ขาดการบาํ รุงรกั ษาดนิ 3. การปลอ ยใหผ ิวดนิ ปราศจากพืชปกคลุม ทําใหสูญเสียความชมุ ชืน้ ในดนิ 4. การเพาะปลูกท่ีทาํ ใหดินเสยี 5. การใชป ุยเคมีและยากาํ จัดศตั รูพืชเพอ่ื เรงผลติ ผล สาเหตปุ ญหาของทรัพยากรสัตวปา 1. การทําลายที่อยูอาศัย การขยายพ้นื ท่ีเพาะปลกู 2. สภาพธรรมชาตกิ ารลดลงหรอื สูญพนั ธุไปตามธรรมชาติของสัตวป า 3. การลาโดยตรง โดยสตั วป า ดว ยกนั เอง 4. การนําสตั วจ ากถนิ่ อืน่ เขา มา มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ เปนปญหาสําคัญปญหาหนึ่งที่เกิดข้ึนในเขตเมือง โดยเฉพาะ กรุงเทพมหานคร เนือ่ งจากมลพษิ ทางอากาศกอใหเกิดผลกระทบดานสุขภาพอนามัย ไมวาจะ เปนดานกล่ิน ความรําคาญ ตลอดจนผลกระทบตอสุขภาพที่เกี่ยวกับระบบการหายใจ หัวใจ และปอด แนวทางการแกไขมลพิษทางอากาศ 1. จัดหาและพฒั นาระบบการตรวจคณุ ภาพในอากาศ 2. หาทางลดปริมาณสารมลพิษทางอากาศจากแหลง กาํ เนิด 3. กระตุนใหผใู ชรถยนตใหความสาํ คัญในการดแู ลรักษาเครอ่ื งยนตใ หอยใู นสภาพดีเพือ่ ลด ควันดาํ 4. ออกมาตรการตรวจสอบและตรวจจับรถยนตท ม่ี คี วนั ดํา 5. รณรงคใหผขู ับขีร่ ถยนตมวี ินัยและเคารพในกฎจราจร

12 กิจกรรมทายบทที่ 1 1. ปจ จัยท่ีมอี ทิ ธิพลตอ ภูมอิ ากาศของทวีปอเมริกาใต มีอะไรบา ง แนวตอบ 1. ละตจิ ูด 2. ลมประจาํ 3. ทิศทางของเทือกเขา 4. กระแสน้าํ 2. การปอ งกันภัยจากนาํ้ ทวมปฏบิ ตั ไิ ดอ ยางไรบา ง แนวตอบ 1. ติดตามสภาวะอากาศฟง คําเตือนจากกรมอุตนุ ิยมวทิ ยา 2. ฝกซอมการปอ งกนั ภยั พิบัตเิ ตรยี มพรอมรบั มอื และวางแผนอพยพหากจําเปน 3. เตรยี มน้าํ ดม่ื เคร่ืองอปุ โภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเปาหิ้วเพ่ือติดตาม ขา วสาร 4. ซอมแซมอาคารใหแ ข็งแรงเตรียมปอ งกันภัยใหสัตวเ ลยี้ งและพชื ผลการเกษตร 5. เตรยี มพรอ มเสมอเมอื่ ไดรบั แจง ใหอพยพไปทสี่ งู เมอ่ื อยใู นพ้ืนที่เสี่ยงภัยและฝนตก หนักตอ เนื่อง 6. ไมล งเลนนา้ํ ไมขบั รถผานนํา้ หลากเมอื่ อยบู นถนนถาอยูใกลน้ํา เตรียมเรือเพ่ือการ คมนาคม 3. ในฐานะที่ทานเปน สว นหนงึ่ ของประชากรโลก ทา นสามารถจะชวยปองกันและแกไขปญหา ภาวะโลกรอ นไดอยางไร บอกมา 5 วิธี แนวตอบ1. ลดการใชพลงั งานทไี่ มจ ําเปนจากเคร่ืองใชไ ฟฟา 2. เลอื กใชร ะบบขนสงมวลชน 3. ชว ยกนั ปลูกตน ไม 4. การชวนกันออกไปเทย่ี วธรรมชาตภิ ายนอก 5. เวลาซื้อของพยายามไมร ับภาชนะทเี่ ปน โฟม 4. จงบอกประโยชนของการใชแผนที่มา 5 ขอ แนวตอบ1. ในการศกึ ษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ แผนที่จะทําใหผูศึกษาทราบวาพ้ืนท่ีใดมีลักษณะ ภูมปิ ระเทศแบบใดบา ง 2. ดานการศึกษาธรณีวิทยา 3. ดานสมุทรศาสตรและการประมง เพื่อใหทราบสภาพแวดลอมชายฝงทะเล ธรณวี ทิ ยา

13 4. ดา นทรพั ยากรน้าํ รูขอ มลู เก่ียวกบั แมน้ําและการไหล 5. ดานปา ไมเพอื่ ใหทราบคณุ ลักษณะของปา ไมแ ละการเปลยี่ นแปลงพื้นท่ปี า 5. องคป ระกอบหลกั ของลูกโลก ประกอบไปดว ยส่งิ ใดบา ง แนวตอบ 1. เสน เมรเิ ดยี นหรือเสน แวง 2. เสน ขนานหรือเสน รุง

14 บทที่ 2 ประวัติศาสตร การแบง ชวงเวลา และยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร ยุคสมัยประวัติศาสตรมีความสําคัญตอการศึกษาประวัติศาสตรเนื่องจากเปนการแบง ชวงเวลาในอดีตอยางเปนระบบโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เหลืออยูในปจจุบัน ซ่ึงจะนําไปสู การวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางมีเหตุผล โดยตระหนักถึงความสําคัญของความตอเน่ือง ของชว งเวลา จะทําใหก ารลาํ ดบั เปรยี บเทียบเร่อื งราวทางประวัติศาสตรมี ความชัดเจนข้ึนตาม เกณฑด ังตอไปน้ี การแบง ชวงเวลา มีพ้นื ฐานมาจากยคุ สมัยทางศาสนา แบงออกเปน 1. การแบง ชวงเวลาตามประวตั ิศาสตรไ ทย 2. การแบงชว งเวลาตามประวตั ศิ าสตรส ากล การแบงยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรโดยการใชหลักเกณฑการพิจารณารูปแบบและ ลักษณะของหลกั ฐานทเี่ ปนลายลกั ษณอักษรและไมเ ปนลายลักษณอักษร สามารถแบงยุคสมัย ทางประวัตศิ าสตรเปนยคุ ตาง ๆ ไดดังนี้ 1. ยคุ กอนประวัตศิ าสตร 2. ยคุ หิน เปนยคุ ทม่ี นษุ ยร ูจ ักนําหินมาดดั แปลงเปนเคร่อื งมือเครอ่ื งใช โดยมวี ิวัฒนาการ ดังน้ี 1. ยคุ หนิ เกา 2. ยคุ หนิ กลาง 3. ยคุ หินใหม 3. ยคุ โลหะ ในยุคนี้มนษุ ยเ ริ่มทาํ เครือ่ งมือเครอ่ื งใชจ ากโลหะแทนหินและกระดูกสัตว ยุคโลหะ สามารถแบงยอ ยไปไดอกี 2 ยุค ตามลกั ษณะโลหะที่ใช คือ 1. ยุคสาํ ริด 2. ยคุ เหล็ก 4. ยคุ ประวตั ิศาสตร เปน ชว งเวลาท่ีมนุษยรูจักประดิษฐตัวอักษรและบันทึกไวบนวัสดุตาง ๆ เชน แผนหนิ แผนดินเหนียว แผน ผา ยคุ ประวตั ศิ าสตรแบง ออกเปนยคุ สมยั ตา ง ๆ ดงั น้ี 1. สมัยโบราณ 2. สมัยกลาง 3. สมยั ใหมหรอื ยุคฟนฟูศิลปะวทิ ยาการ 4. สมยั ปจจบุ ัน

15 หลกั เกณฑก ารแบง ยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร มีดงั นี้ การแบง ยุคสมยั ทางประวัติศาสตรสากล 1. แบงตามความเจริญทางอารยธรรมมนุษย 2. แบงตามการเรม่ิ ตนของเหตุการณส ําคญั 3. แบงตามชอื่ จักรวรรดิหรอื อาณาจกั รท่ีสาํ คัญที่เคยรงุ เรือง 4. แบงตามราชวงศท ่ปี กครองประเทศ 5. แบงตามการต้งั เมอื งหลวง การแบง ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรไทย 1. สมยั โบราณหรอื สมยั กอ นสโุ ขทัย 2. สมยั สุโขทัย 3. สมยั อยุธยา 4. สมัยธนบุรี 5. สมัยรตั นโกสนิ ทร แหลง อารยธรรมโลก อารยธรรมของมนษุ ยยุคประวตั ศิ าสตร แบง ออกเปน 2 สวน คอื สวนท่ี 1 อารยธรรมของโลกตะวันออก สวนใหญมีรากฐานมาจากแหลงอารยธรรมที่เกาแก ของโลก คอื จีนและอินเดยี อารยธรรมจนี ประเทศจีน เปนประเทศทมี่ ีอารยธรรมยาวนานท่ีสุดประเทศหน่ึง วัฒนธรรมของ อารยธรรมจีนสมยั กอนประวัติศาสตรม ีแหลง อารยธรรมทีส่ ําคัญ 2 แหลง คือ - ลุมแมน าํ้ ฮวงโห พบความเจรญิ ท่ี เรยี กวา วฒั นธรรมหยางเซา พบหลักฐานท่ีเปน เครอ่ื งปน ดนิ เผามลี กั ษณะสาํ คัญคอื เครือ่ งปน ดินเผาเปน ลายเขยี นสี - ลมุ น้ําแยงซี (Yangtze) บรเิ วณมณฑลซานตงุ พบ วัฒนธรรมหลงซาน พบหลักฐานที่เปนเคร่ืองปนดินเผามีลักษณะสําคัญ คือ เคร่ืองปนดินเผามีเนื้อละเอียดสีดําขัด มนั เงา อารยธรรมอนิ เดีย อินเดียเปนแหลงอารยธรรมที่เกาแกแหงหน่ีงของโลกบางทีเรียกวา แหลงอารย ธรรม ลมุ แมน า้ํ สนิ ธอุ าจแบง ยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรข องอินเดยี ได ดงั นี้ - สมัยกอนประวัตศิ าสตร พบหลักฐานเปนซากเมืองโบราณ 2 แหงในบริเวณลุม แมน าํ้ สนิ ธุ คอื เมืองโมเฮนโจดาโร ทางตอนใตของประเทศปากีสถานเมืองอารับปาในแควนปน จาป ประเทศปากสี ถานในปจจุบัน

16 - สมัยประวัติศาสตร เร่ิมเม่ือมีการประดิษฐ ตัวอักษรขึ้นใชโดยชนเผาอินโด – อารยัน ซึ่งตัง้ ถน่ิ ฐานบรเิ วณแมน ํ้าคงคา แบง ได 3 ยคุ 1. ประวตั ศิ าสตรสมยั โบราณ 2. ประวตั ิศาสตรส มยั กลาง 3. ประวัตศิ าสตรสมัยใหม การแพรขยายและการถายทอดอารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย แพรขยายออกไปสูภูมิภาคตาง ๆ ท่ัวทวีปเอเชียโดยผานทาง การคา ศาสนา การเมือง การทหารและไดผสมผสานเขากับอารยธรรมของแตละประเทศจน กลายเปนสวนหนึ่งของอารยธรรมสังคมนน้ั ๆ ในเอเชยี ตะวันออก ภมู ิภาคเอเชยี กลาง ภูมิภาคท่ี ปรากฏอิทธิพลของอินเดยี มากทส่ี ุดคอื เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต สวนที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตก หมายถึง ดนิ แดนแถบตะวนั ตกของทวปี เอเชยี รวมเอเชียไมเนอรแ ละทวีปแอฟริกา อยี ปิ ต เมโสโปเตเมีย กรกี และโรมนั อารยธรรมอียปิ ต อียิปตโบราณหรือไอยคุปตเปนหนึ่งในอารยธรรมท่ีเกาแกสุดในโลกแหงหนึ่ง ต้ังอยู ทางตะวันออกเฉยี งเหนอื ของทวปี แอฟรกิ า อารยธรรมอยี ิปตโบราณเรม่ิ ข้ึนประมาณ 3,150 ป อารยธรรมอยี ปิ ตพฒั นาการมาจากสภาพของลมุ แมน ํ้าไนล อารยธรรมเมโสโปเตเมยี กําเนดิ ข้ึนในบริเวณลุมแมนํ้า 2 สาย คือ แมนํ้าไทกรีสและแมน้ํายูเฟรตีส ปจจุบัน อยูในประเทศอิรัก คนกลุมแรกที่สรางอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น คือ สุเมเรีย ผูคิดประดิษฐ ตัวอกั ษรข้นึ เปน ครั้งแรกของโลก อารยธรรมกรกี อารยธรรมกรกี โบราณ ไดแก อารยธรรมนครรฐั กรีก คําวา กรีก เปนคําที่พวกโรมัน ใชเปนคร้ังแรก ชาวกรีกเรียกตัวเองวา เฮลีนส (Hellenes) เรียกบานเมืองของตนวา เฮลัส (Hellas) และเรียกอารยธรรมของตนวา อารยธรรมเฮเลนิค (Hellenic Civilization) อารย ธรรมกรีก รูจักกันในนามของอารยธรรมคลาสสิก สถาปตยกรรมท่ีเดนคือ วิหารพาเธนอน ประติมากรรมท่ีเดนท่ีสุด คือ รูปปนเทพซีอุส วรรณกรรมดีเดนคือ อีเลียดและ โอดิสต (I liad and Oelyssay) ของโอเมอร อารยธรรมโรมัน อารยธรรมโรมันเปนอารยธรรมที่ไดรับการถายทอดมาจากกรีก สถาปตยกรรม ท่เี ดน ไดแ ก วหิ ารพาเธนอน หลังคารูปโมในกรุงโรม โคลอสเซียม อัฒจันทรสําหรับดูกีฬาซึ่งจุ ผดู ูไดถ งึ 4,500 คน วรรณกรรมทเี่ ดน ทส่ี ุดคอื เรือ่ งอเี นยี ด (Aeneid) ของเวอรว ลิ

17 ประวตั ิศาสตรชาตไิ ทย ความเปนมาของดินแดนประเทศไทยในสมัยโบราณสวนใหญมาจากหลักฐานดาน โบราณคดีและเอกสารประวัติศาสตรจีนโบราณและภาพถายทางอากาศและเห็นถึงที่ต้ังและ สภาพของแหลง ชมุ ชนโบราณในประเทศไทย ดินแดนในประเทศไทยมที ั้งพฒั นามาจากอาณาจกั รเดิมและมีการอพยพยายเขามาของ กลุมคนพูดภาษาไทย – ลาวจากถ่ินบรรพบุรุษ ซึ่งอยูตอนใตของประเทศจีนเดิม เขามายัง ดนิ แดนเอเชียตะวันออกเฉยี งใต ราวครสิ ต ศตวรรษที่ 10 รัฐของชาวไทยมี ความสําคัญตามยุค สมยั ไดแก อาณาจักรโยนกเชียงแสน อาณาจักรลานนา อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรอยุธยา และไดพ ัฒนามาเปนสมยั กรุงรัตนโกสินทรน บั ตั้งแต พ.ศ. 2325 เปน ตน มา กรุงธนบุรี พ.ศ. 2310 – 2325 หลงั จากพระเจาตากสินไดกอบกูกรุงศรีอยุธยากลับคืนจากพมาไดแลวพระองคจึงยาย เมืองหลวงมาอยูท่ีกรุงธนบุรีแลวปราบดาภิเษกข้ึนเปนกษัตริยทรงพระนามวา “พระบรม ราชาธิราชท่ี 4” ครองกรงุ ธนบุรี 15 ป ดา นการปกครอง หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียใหแกพมา เม่ือ พ.ศ. 2310 บานเมืองอยูในสภาพ ไมเรียบรอย มีการปลนสะดมกันบอย ผูคนจึงหาผู คุมครองโดยรวมตัวกันเปนกลุมเรียกวา ชุมนมุ สมเด็จพระเจาตากสินทรงใชเวลาภายใน 3 ป ยกกองทัพไปปราบชมชนตาง ๆ พระองค ทรงยึดถอื และปฏิบัติตามระเบียบการปกครองแบบสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายตามท่ีสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบยี บไว ลกั ษณะการปกครอง ในสว นกลางมตี าํ แหนง อคั รมหาเสนาบดี 2 ตาํ แหนง ไดแก 1. สมุหนายก ควบคุมดแู ลหัวเมอื งฝายเหนอื 2. สมหุ กลาโหม ควบคุมดแู ลหวั เมืองฝายใต สวนภูมภิ าค แบงเปน หัวเมืองชัน้ ใน คอื เมอื งทร่ี ายรอบพระนคร และหัวเมืองช้ันนอก คอื เมืองทอี่ ยูไ กลพระนคร กรุงรตั นโกสนิ ทร พ.ศ. 2325 – ปจจุบนั หลังจากปราบดาภเิ ษกขึ้นเปนพระมหากษัตรยิ ในป พ.ศ. 2325 แลวสมเด็จเจาพระยา มหากษตั รยิ ศ กึ ทรงใชพระนามวา “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก”และไดยายราช ธานี จากกรุงธนบุรีขามแมน้ําเจาพระยามายังฝงตรงขาม และตั้งช่ือราชธานีใหมน้ีวา “กรุงเทพมหานคร” พรอม ๆ กับการสถาปนาราชวงศจักรีขึ้นมา โดยกําหนดในวันท่ี 6 เมษายน ของทุกปเปนวันจักรี

18 สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพภูมิประเทศของกรุงรัตนโกสินทรน้ันตั้งอยูบริเวณแหลมยื่นลงไปในแมนํ้า เจาพระยาฝง ตะวนั ออกมีแมน้ําเจา พระยาไหลผา นลงมาจากทางเหนือผานทางตะวันตกและใต กอนที่จะมุงลงใตสูอาวไทยทําใหดูคลายกับกรุงศรีอยุธยา รัชกาลท่ี 1 โปรดเกลาใหขุดคูพระ นครตั้งแตบางลําพูไปถงึ วดั เลยี บ การเปล่ยี นแปลงการปกครอง สภาพการณโดยทั่วไปของบา นเมืองกอนเกดิ การเปลีย่ นแปลงการปกครอง สังคมไทยกาํ ลงั อยูในชวงเวลาของการเปลย่ี นแปลงเขาสคู วามทันสมัยตามแบบตะวันตก ในทุกๆ ดานอันเปนผลสืบเนื่องมาจากการปฏิรูปแผนดินเขาสูความทันสมัยในรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453) สมัยรัชกาลที่ 6 สมยั รัชกาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 – 2475) สาเหตุการเปลีย่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 1. ความเสอ่ื มของระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย 2. การไดร บั การศกึ ษาตามแนวความคดิ ตะวนั ตกของบรรดาชนชนั้ นําในสังคมไทย 3. ความเคลอ่ื นไหวของบรรดาสื่อมวลชน 4. ความขัดแยงทางความคิดเกี่ยวกบั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย 5. สถานการณค ลงั ของประเทศและการแกปญ หา บุคคลสาํ คญั ของไทย และของโลกในดานประวัตศิ าสตร บคุ คลสําคญั ของไทยและของโลก สมยั กรงุ สโุ ขทยั 1. พอขนุ รามคํารามคําแหงมหาราช 2. พระมหาธรรมราชาที่ 1 สมยั กรุงศรีอยุธยา 1. สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ 2. สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี 2 3. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมัยกรงุ ธนบรุ ี 1. สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช

19 สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร 1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก 2. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยหู ัว 3. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั 4. สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ 5. สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ 6. ขรัวอนิ โขง 7. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 8. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี 9) 9. พระยากลั ยาณไมตรี (ดร.ฟรานซิส บี แซร) 10. หมอบรัดเลย เหตกุ ารณส ําคญั ของโลกที่มผี ลตอปจจุบนั เหตุการณสาํ คญั ทม่ี ีผลกระทบตอการเปลย่ี นแปลงของโลกน้ันหมายถึงเหตุการณสําคัญ ทที่ ําใหโ ลกเกดิ การเปลีย่ นแปลงภายหลังสงครามส้ินสุด ซึ่งพบวาสหประชาชาติสามารถยับยั้ง การทาํ สงครามอาวธุ ไดในระดบั หนึง่ แตเมอื่ สงครามอาวุธผานไปเหตกุ ารณปจ จบุ นั จะกลายเปน สงครามเศรษฐกิจ ชวี ติ ความเปนอยู วัฒนธรรม จารีตประเพณี รวมถึงการเมืองการปกครองใน ปจ จบุ ัน ซ่งึ เหตุการณสาํ คัญในอดตี ท่ีสงผลตอปจจบุ นั มี ดังน้ี 1. สงครามโลกครัง้ ที่ 1 และ 2 2. สงครามเย็น 3. สงครามเศรษฐกจิ 4. เหตกุ ารณโลกปจ จบุ นั บทบาทของสถาบนั พระมหากษตั ริยในการพฒั นาชาติไทย 1. บทบาทและหนา ที่ของพระมหากษัตรยิ  ดา นการเมือง สถาบันพระมหากษัตริยไดมีบทบาทเก่ียวกับการเมืองการปกครอง การรวมชาติ การสรางเอกราช การวางรากฐานการเมืองการปกครอง การสรางเสถยี รภาพทางการเมืองการ ปกครอง การปฏิรูปการปกครองแผนดินตั้งแตอดีตสืบตอมาตลอดปจจุบันบทบาทของ พระมหากษัตริย มีสวนชวยสรางเอกภาพของประเทศเปนอยางมาก คนไทยทุกกลุมไมวา ศาสนาใดมีขนบธรรมเนียมแตกตางกันอยางไรก็มีความรูสึกรวมในการมีพระมหากษัตริยองค เดยี วกนั

20 2. บทบาทและหนา ทข่ี องพระมหากษตั ริย ดานการปกครอง บทบาทของพระมหากษัตริยม สี วนชว ยเปนอยา งมากท่ีทําใหประชาชนเกิดความเชื่อม่ัน ในระบอบประชาธิปไตย เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นใน สถาบันพระมหากษัตริย จึงมีผลสงใหประชาชนเกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย เ ป น ป ร ะ มุ ข ด ว ย เ นื่ อ ง จ า ก เ ห็ น ว า เ ป น ร ะ บ อ บ ท่ี เ ชิ ด ชู ส ถ า บั น พระมหากษัตริย อนั เปนทเี่ คารพสกั การะของประชาชนนั่นเอง 3. บทบาทและหนา ท่ีของพระมหากษตั รยิ  ดานการสง เสรมิ ดา นเศรษฐกิจ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ท ร ง บํ า เ พ็ ญ พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ท้ั ง ป ว ง เ พ่ื อ ใ ห เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น สุ ข และความเจริญแกสังคม ไดทรงริเริ่มโครงการตาง ๆ ทําใหเกิดการพัฒนาขึ้นทั้งในดาน เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พระราชดาํ รแิ ละโครงการทีท่ รงริเรมิ่ มมี ากซ่ึงลวนแตเปนรากฐาน ในการพัฒนาชาติทั้งสิ้น โครงการของพระมหากษัตริยองคปจจุบันท่ีสําคัญ ไดแก โครงการ อสี านเขียว โครงการฝนหลวง โครงการปลูกปาโครงการขุดคลองระบายน้ํา โครงการปรับปรุง แหลง ชมุ ชนแออัดในเมอื งใหญ โครงการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม และอื่น ๆ ทรงทําเปน แบบอยางที่ดี ประชาชนและหนวยราชการนําไปปฏิบัติกอใหเกิดประโยชนในทางการพัฒนา ชาติขึ้นมาก นอกจากน้ีทรงทําใหเกิดความคิดในการดํารงชีวิตแบบใหม เชน การประกอบ อาชีพ การใชวิทยาการมาชวยทาํ ใหส งั คมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดขี ึ้น 4. บทบาทและหนา ท่ีของพระมหากษัตรยิ  ดา นการทํานบุ ํารุงสงเสริมศิลปวฒั นธรรม การพัฒนาและการปฏิรูปท่ีสําคัญ ๆ ของชาติสวนใหญพระมหากษัตริยทรงเปนผูนํา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงปูพ้ืนฐานประชาธิปไตยโดยการจัดต้ังกระทรวง ตาง ๆ ทรงสงเสริมการศึกษาและเลิกทาส ปจจุบันพระมหากษัตริยทรงเกื้อหนุนวิทยาการ สาขาตาง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนาธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเปนการ แกปญหาหลักทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยจะเห็นวาโครงการตามพระราชดําริ สวนใหญม ุงแกปญ หาหลักทางเกษตรกรรม เพ่ือชาวนาชาวไรและประชาชนผูยากไรและดอย โอกาสอันเปนชนสวนใหญของประเทศ เชน โครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนา ท่ีดนิ พัฒนาชาวเขา เปนตน

21 กจิ กรรมทายบทที่ 2 คําชี้แจง : ใหตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. อารยธรรม หมายถึงอะไร แนวตอบ สภาพประวัติศาสตร 2. อารยธรรมของโลกตะวันออก มีรากฐานมาจากแหลง อารยธรรมประเทศอะไร แนวตอบ จีนและอนี เดีย 3. สาเหตขุ องการเกดิ สงครามโลกครั้งท่ี 1 คอื อะไร แนวตอบ ความขัดแยง ทางการเมืองของทวปี ยุโรป 4. สงครามทร่ี ุนแรงและทําใหเกดิ ความสญู เสยี คร้ังใหญทีส่ ดุ ในประวตั ศิ าสตรโ ลกคือสงครามใด แนวตอบ สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 5. การแขงขันทางดานเทคโนโลยีและสะสมอาวุธนิวเคลียร การสํารวจอวกาศการจารกรรม จา งๆ เพอ่ื แสดงแสนยานภุ าพเกิดขึน้ ในชว งใด แนวตอบ สงครามเยน็

22 บทที่ 3 เศรษฐศาสตร ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง กลุมบุคคลของสังคมที่รวมตัวกันเปนกลุมของสถาบันทาง เศรษฐศาสตร ซึ่งยึดถือแนวปฏิบัติแนวทางเดียวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพ่ือใหส ามารถบาํ บดั ความตองการแกบ คุ คลตา ง ๆ ความหมายระบบเศรษฐกจิ - รฐั เขามาดาํ เนนิ การจัดระเบียบทางเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยกําหนดวากิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ชนิดใดรฐั จดั ทาํ กิจกรรมใดใหเ อกชนดําเนนิ การ - การรวมกันของหนวยเศรษฐกิจ (หนวยธุรกิจ/หนวยครัวเรือน) เพื่อดําเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ โดยมีการกาํ หนดหนา ท่ีของหนว ยเศรษฐกิจตาง ๆ ประเภทระบบเศรษฐกจิ ในปจจบุ นั แบง ระบบเศรษฐกจิ เปน 3 ประเภท 1. ระบบเศรษฐกิจแบบบงั คับหรือสงั คมนยิ ม 2. ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมหรือระบบตลาด 3. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกิจไทย 1. ระบบเศรษฐกจิ แบบบงั คบั หรือสงั คมนิยม - รัฐกําหนดควบคุม วางแผน ตัดสินใจเก่ียวกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของ ประเทศ - ทรัพยส นิ ทรัพยากรและปจจัยการผลติ เปน ของรฐั 2. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมหรือระบบตลาด - เอกชนหรอื หนว ยธรุ กิจตาง ๆ มอี สิ ระในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ - เนนการแขงขันของเอกชน เกิดการผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพเพื่อแยงตลาดการ ขายเปน ไปตามกลไกราคา - เอกชนมีสิทธ์ิในทรพั ยส ินและปจจยั การผลติ 3. ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบผสม - กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอยางรัฐเปนผูดําเนินการ บางอยางเอกชน ดาํ เนินการ

23 - เอกชนมีสิทธ์ิในทรัพยสิน มีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมภายใตกฎหมาย มีการแขงขันภายใตก ลไกราคา มีกําไร - รฐั ประกอบกจิ กรรมทเี่ ปน สาธารณูปโภคพ้นื ฐานที่จาํ เปน - รฐั เขาแทรกแซงการผลิตของเอกชนเพอื่ ปอ งกันการเอารัดเอาเปรียบ ลกั ษณะเศรษฐกจิ ไทย ไทยใชระบบเศรษฐกจิ แบบผสมแตคอนขางไปทางทุนนิยม เอกชนมีบทบาทในการผลิต ดานตาง ๆ มากกวารัฐบาล เอกชนมีสิทธิ์ในทรัพยสินและปจจัยการผลิต มีเสรีภาพในการ ดําเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ มกี ารแขงขนั เพอื่ พัฒนาคุณภาพของสนิ คา รัฐบาลดําเนนิ กิจกรรม ทางเศรษฐกจิ ดา นกิจกรรมสาธารณูปโภค แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ความหมาย และความสําคญั ของการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การเปล่ียนแปลงโครงสรางทางสังคม การเมืองและ เศรษฐกิจใหอยูในภาวะที่เหมาะสม เพ่ือทําใหรายไดที่แทจริงเฉลี่ยตอบุคคลเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนอ่ื ง อนั เปน ผลทาํ ใหประชากรของประเทศมีมาตรฐานการครองชพี สูงข้นึ ปจ จยั ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการพัฒนาเศรษฐกจิ 1. ปจจัยทางเศรษฐกจิ 2. ปจจยั ทางการเมอื ง 3. ปจจยั ทางสังคม 4. ปจจัยทางดา นเทคโนโลยี แผนพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศไทย ประเทศไทยไดม กี ารจดั ทําแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติตั้งแตป พ.ศ. 2504 โดยเรม่ิ ตั้งแตฉ บบั ที่ 1 จนถึงปจ จบุ ัน คือฉบบั ที่ 10 มีการกาํ หนดวาระของแผนฯ ดังน้ี 1. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2504 – 2509 2. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2510 – 2514 3. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2515 – 2519 4. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 4 พ.ศ. 2520 – 2524 5. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525 – 2529 6. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2530 – 2534 7. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539

24 8. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2540 - 2544 9. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 9 พ.ศ. 2545 - 2549 10. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 10 พ.ศ. 2550 – 2554 11. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 ปญ หาเศรษฐกจิ ของไทยในปจ จบุ นั 1. ปญหาทางดา นการเมือง 2. ปญ หาภาระหน้ีสนิ 3. ความสามารถในการแขงขันของสินคา ไทยในตลาดโลก 4. คาเงนิ บาท 5. สถานการณภาพรวมของเศรษฐกจิ โลกที่จะยังคงมคี วามผนั ผวนอยูพอสมควร 6. การลงทนุ ในโครงสรา งพ้ืนฐานดว ยเมด็ เงนิ มหาศาลของภาครฐั 7. ราคาของพลงั งานท่มี แี นวโนม สงู ขึ้น 8. อตั ราดอกเบ้ยี 9. อตั ราเงินเฟอ อาจมโี อกาสปรบั ตัวข้นึ เล็กนอย 10. การขาดแคลนแรงงานซ่ึงอาจจะสงผลตอ ภาคอุตสาหกรรมตา ง ๆ ความสําคัญและความจาํ เปน ในการรว มมอื ทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศตาง ๆ ความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ 1. ความถนดั ที่แตกตางกนั ระหวางบุคคลตา ง ๆ 2. การคาระหวางประเทศมีสาเหตุมาจากความแตกตางของปริมาณและชนิดของ ทรัพยากรการผลิต 3. เศรษฐศาสตรระหวางประเทศเปนวิชาท่ีศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธทางเศรษฐกิจ ดา นตาง ๆ ระหวา งภูมิภาคหรืออาณาเขตทางเศรษฐกิจตง้ั แต 2 แหงขนึ้ ไป 4. เศรษฐศาสตรท ่ัวไปเปนการศึกษาทเ่ี นน ภายในประเทศ 5. เศรษฐศาสตรระหวางประเทศประกอบดวย เศรษฐศาสตรการคาระหวางประเทศ และเศรษฐศาสตรการเงนิ ระหวางประเทศ ความจาํ เปนในการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ หลังจากที่สงครามโลกคร้ังที่ 2 ยุติลง ความเสียหายจากสงครามทําใหประเทศตาง ๆ อยูในภาวะความอดอยาก ประเทศเหลานั้นจึงพยายามรวมมือฟนฟูเศรษฐกิจของโลก ทําให เศรษฐกิจและการสงเสริมการคาระหวางประเทศขยายตัวมากข้ึน แตเน่ืองจากประเทศดอย

25 พัฒนามีทรัพยากรจํากัดและศักยภาพในการผลิตต่ํา และแตละประเทศก็พยายามต้ังกําแพง ภาษี กาํ หนดโควตาสาํ หรบั สินคา นําเขาหรือใชนโยบายคุมครองสินคาที่ผลิตข้ึนภายในประเทศ ซึ่งเปน การคาระหวา งประเทศที่ไมไดยึดหลักการคาเสรี จึงทําใหประโยชนท่ีเกิดข้ึนจากการคา ระหวา งประเทศลดนอ ยลง จากความไมเ ปน ธรรมในดานการคาระหวางประเทศซึ่งมกี ารไดเปรียบและเสียเปรียบกัน ประเทศท่ีอยใู นภูมภิ าคเดียวกนั ทผ่ี ลิตสินคา คลา ยคลึงกัน และประสบปญหาทางดานเศรษฐกิจ รว มกัน ไดม ีการรวมกลุมกนั และขยายการรวมกลุมเพ่ือใหบรรลุเปาหมายดานเศรษฐกิจสําคัญ โดยมีหลกั การและเปา หมายของการรวมกลมุ ดังนี้ 1. การแกไขระบบภาษศี ลุ กากร 2. การจัดตงั้ เขตการคา เสรี 3. การเคล่อื นยายปจ จัยการผลติ อยา งเสรี 4. การกาํ หนดนโยบายรวมกนั องคก ารระหวางประเทศเพ่อื ความรวมมอื ทางเศรษฐกจิ องคการระหวางประเทศเพ่ือความรวมมือทางเศรษฐกิจที่จะนํามากลาวในท่ีนี้จะเปน องคก รระหวา งรัฐบาลทง้ั ในระดบั โลกและระดับภมู ิภาคทไี่ ทยมีความสมั พนั ธด ว ยทสี่ ําคญั ไดแก 1. องคการการคาโลก 2. สมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวนั ออกเฉียงใตห รอื อาเซยี น ระบบเศรษฐกิจในโลก ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) หมายถงึ กลุมบุคคลของสังคมท่ีรวมตัวกันเปน กลุมของสถาบนั ทางเศรษฐกิจตาง ๆ เชน สถาบันการผลิต สถาบันการเงินการธนาคาร สถาบัน การคา สถาบันการขนสง สถาบันการประกันภัย ฯลฯ ซ่ึงยึดถือแนวปฏิบัติแนวทางเดียวกันใน การประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีวัตถุประสงครวมกันคืออํานวยความสะดวกในการท่ี จะแกไ ขปญ หาพืน้ ฐาน ทางเศรษฐกิจ เพ่ือใหส ามารถบาํ บัดความตอ งการใหแ กบุคคลตางๆท่ีอยู รว มกนั ในสงั คมนนั้ ใหไดรบั ประโยชนม ากท่ีสุด เกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ทั่วโลกสามารถ แบง ออกเปน 4 ระบบใหญๆ ดังนี้ 1. ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรอื ทนุ นิยม 2. ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนสิ ต 3. ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม 4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

26 ความสมั พันธ และผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวางประเทศกบั ภมู ิภาคตาง ๆ ทัว่ โลก เศรษฐกิจระหวางประเทศ คือ การซ้ือขายแลกเปล่ียนสินคาและบริการระหวาง ประเทศ ซึ่งประกอบดวย การคาระหวางประเทศ การชําระเงินระหวางประเทศ การรวมมือ ทางเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ การคาระหวางประเทศ การคา ระหวางประเทศ หมายถงึ การนาํ สินคา และบริการจากประเทศหนึ่งแลกเปล่ียน กบั อีกประเทศ ปจ จัยทที่ าํ ใหเกดิ การขยายตวั ทางการคาระหวา งประเทศ - ความแตกตางของทรพั ยากรและปจจยั การผลติ - ความแตกตางของลักษณะทางกายภาพ - ความแตกตางในความสามารถทางการผลติ - การสนับสนนุ จากภาครัฐบาลและกฎหมายท่เี ออ้ื ตอ การลงทนุ - โครงสรา งทางเศรษฐกิจของประเทศ ประโยชนข องการคาระหวา งประเทศ - แตละประเทศมสี นิ คา ครบตามความตอ งการ - การผลิตสินคา ในประเทศตางๆ - การกระจายผลผลติ ไปสผู บู ริโภคอยา งกวา งขวาง - เกดิ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ - การผลิตสินคาเปนการผลิตเพอื่ การคา นโยบายการคาระหวางประเทศ แบงเปน 2 ลักษณะ คอื 1. นโยบายการคา แบบเสรี 2. นโยบายการคาแบบคมุ กนั นโยบายการคา ตางประเทศของไทย พ้ืนที่ทางเศรษฐกิจของไทย คือ เกษตรกรรม เพ่ือไมใหเกิดการเสียเปรียบดุลการคา จงึ ใชน โยบายการคาตางประเทศแบบคุมทุน ดุลการคา ระหวา งประเทศ ดุลการคา คือ การเปรียบเทียบมูลคาสินคาสงออกกับมูลคาสินคาในเวลา 1 ป ดลุ การคา มี 3 ลักษณะ คือ 1. ดุลการคา เกนิ ดุล 2. ดลุ การคา สมดลุ

27 3. ดลุ การคา ขาดดลุ ดลุ การคาของไทย ดุลการคาประเทศไทยมีลักษณะขาดดุลมาตลอด นับต้ังแต พ.ศ. 2495 เปนตนมา เนื่องจากสินคาเขาสวนใหญเปนสินคาอุตสาหกรรม ประเทศคูคาสําคัญของไทย คือ ญ่ีปุน สหรฐั อเมรกิ า ประชาคมยโุ รป และประเทศในกลุมอาเซียน ปญหาการคาระหวา งประเทศของไทย 1. ลัทธิกีดกนั ทางการคา ของประเทศคูค า ท่สี าํ คญั 2. ตลาดการคา ในตางประเทศยังไมกวางขวาง 3. การแขง ขันแยง ตลาดของประเทศคูแขง 4. ขอ ผกู พนั ท่ตี อ งปฏบิ ตั ติ ามกฎบังคับของแกตต 5. การขาดดลุ การคา แนวทางแกไข การเงินระหวางประเทศ การเงนิ ระหวา งประเทศเปน การแสดงความสมั พนั ธด านการเงนิ ระหวา งประเทศหนึ่งกับ อีกประเทศหนง่ึ การแลกเปลย่ี นเงินตราตางประเทศ การแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา งประเทศ คอื การเปรียบเทียบราคาของเงินตราประเทศหนึ่ง กับเงนิ ตราของอีกประเทศหนงึ่ เงินตราที่ไดรับการยอมรับใหเปนสื่อในการแลกเปลี่ยน คือ เงิน ดอลลารสหรัฐ เงนิ เยน เงินยโู ร ดลุ การชาํ ระเงินระหวางประเทศ ดุลการชําระเงินระหวางประเทศ ประกอบไปดวย 4 สว นใหญ ๆ 1. บญั ชเี ดนิ สะพดั 2. บัญชีทุนเคลื่อนยาย 3. บัญชีทนุ สาํ รองระหวางประเทศ 4. บัญชเี งนิ โอนและบรจิ าค ภาวะดลุ การชําระเงินของไทย แมด ุลการคา ของประเทศจะขาดดุลมาตลอด แตประเทศไทยไมขาดดุลการชําระเงิน ป ใดดลุ การชาํ ระเงนิ เกดิ ผลดี ทาํ ใหป ระเทศมี “ทุนสํารองระหวางประเทศ” การลงทุนระหวางประเทศ การลงทุนระหวา งประเทศ หมายถงึ การทรี่ ฐั บาลหรือเอกชนของประเทศหน่ึงนําเงินไป ลงทนุ ดาํ เนนิ ธรุ กจิ เพือ่ แสวงหากาํ ไรในอีกประเทศหน่งึ

28 กลไกราคากบั ระบบเศรษฐกจิ ในปจ จุบนั 1. กลไกราคา หมายถงึ ภาวการณเปลยี่ นแปลงในระดับราคาสินคาและบริการอันเกิด จากแรงผลักดนั ของอุปสงคแ ละอุปทาน 2. อุปสงค หมายถงึ ปริมาณความตองการซ้ือสินคาและบริการชนิดใดชนิดหน่ึงของ ผูบริโภคท่ีเต็มใจจะซอ้ื และซื้อหามาได 3. อุปทาน หมายถงึ ปริมาณสนิ คา และบรกิ ารทผ่ี ขู ายหรอื ผผู ลิตยินดีขายหรือผลิตใหแ ก ผซู ือ้ 4. ดุลยภาพ เปน กลไกราคาทํางานโดยไดรับอิทธิพลจากทั้งผูผลิตและผูบริโภค ซ่ึงจะ สงั เกตเห็นไดวา ณ เวลาใด เวลาหน่งึ ถาปริมาณความตองการหรือปริมาณอุปสงคตอสินคาใน ตลาดมีมากเกินกวาปริมาณสินคาท่ีผูผลิตจะยินดีขายให ราคาสินคาก็มีแนวโนมท่ีจะปรับตัว สูงขึน้ การแทรกแซงกลไกราคาของรฐั บาลในการสง เสริม และแกไขระบบเศรษฐกิจ จากการศึกษาทางดานเศรษฐศาสตรนน้ั ทาํ ใหทราบวา โดยปกติระบบราคาจะสามารถ ทาํ หนาทใี่ นการจัดสรรสนิ คา บรกิ าร และปจจัยการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ แตก็มีอยูบาง ในบางกรณีท่ี ถาปลอยใหระบบราคาทําหนาท่ีของมันไปตามลําพังโดยท่ีรัฐบาลไมเขาไป แทรกแซง จะมผี ลตอสนิ คา บางอยา งและปจจัยการผลิตบางชนิดทําใหราคาแพงเกินไปหรือตํ่า เกนิ ไป ซงึ่ อาจสรา งความเดือดรอ นใหแ กผ บู รโิ ภค หรือผูผลิตได ซ่ึงถาหากเกิดกรณีเชนนี้ข้ึนทํา ใหรฐั บาลจําเปน ตองเขา ไปแทรกแซง โดยเปนผูกําหนดราคาใหมท่ีจะสามารถผอนคลายความ เดอื ดรอนของคนกลุม น้ไี ด ซง่ึ วธิ ีการทร่ี ัฐบาลใชแทรกแซงราคาของสินคาโดยทั่วไปมีอยู 2 ชนิด คอื 1. การแทรกแซงดวยการกาํ หนดราคาขน้ั สงู หรือราคาเพดาน 2. การแทรกแซงราคาดว ยการกาํ หนดราคาขัน้ ตา่ํ ความหมาย ความสาํ คัญของเงินประเภทสถาบันการเงนิ และสถาบันทางการเงิน ความหมายของธนาคาร ธนาคาร คือ สถาบันการเงินหรือองคกรธุรกิจท่ีดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการเงิน โดยการ ระดมเงนิ ทุน จากผูท่ีมีเงนิ ทุนเกนิ ความตอ งการ และจะกระจายเงินทุนใหแกผูท่ีตองการเงินทุน แตข าดแคลนเงินทนุ ของตนเอง ประเภทของธนาคาร 1. ธนาคารกลาง เปนสถาบันการเงินท่ีทําหนาท่ีควบคุมระบบการเงินและเครดิตของ ประเทศเปน นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย

29 2. ธนาคารพาณิชย เปนสถาบนั การเงินที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินท่ีตองจาย คนื เม่ือทวงถาม ธนาคารกลาง บทบาทหนา ท่ขี องธนาคารกลาง มหี นา ทีด่ ังตอ ไปน้ี 1. เปนผอู อกธนบตั ร 2. เปนผคู วบคุมเงนิ สดของธนาคารพาณชิ ย 3. เปนนายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย ธนาคารแหง ประเทศไทย บทบาทหนา ทีข่ องธนาคารแหง ประเทศไทย 1. ออกและพิมพธนบตั ร 2. เก็บรักษาทุนสํารองเงินตรา 3. เปน นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ย 4. เปนธนาคารของรฐั บาล 5. รกั ษาเสถียรภาพของเงนิ ตรา ธนาคารพาณิชย บทบาทหนา ท่ขี องธนาคารพาณชิ ยม ีหนา ทหี่ ลกั ดงั นี้ หนา ทีใ่ นดานการใหบริการทางการเงิน ไดแ ก 1. การรับฝากเงิน 2. การโอน 3. การเรยี กเก็บเงิน 4. การใหเชา หีบนริ ภัย 5. การเปน ทรสั ตี 6. การซือ้ ขายเงินตราตา งประเทศ หนา ที่เก่ียวกบั การใหก ยู มื และสรา งเงินฝาก 1. การใหก ยู มื ของธนาคารพาณิชย 2. การสรางเงนิ ฝากของธนาคารพาณิชย การคลงั รายไดประชาชาติ รายไดประชาชาติ หมายถึง มลู คา เปน ตัวเงนิ ของสินคาและบริการขั้นสุดทาย ตามราคา ตลาดที่ผลิตขนึ้ ดว ยทรพั ยากรของประเทศ ในระยะเวลา 1 ป

30 รายไดป ระชาชาติ คาํ นวณได 3 วิธี คือ 1. การคํานวณจากดา นผลิตภณั ฑ ซึ่งเปนการรวมมูลคาของสินคาและบริการข้ันสุดทาย ที่ประเทศผลิตข้นึ ในระยะเวลา 1 ป 2. การคํานวณจากดานรายได เปนการรวมรายไดทุกประเภทที่เจาของปจจัยการผลิต ไดรับจากการขายปจจัยใหแกผ ผู ลติ 3. การคาํ นวณจากดานรายจา ย เปน การคาํ นวณโดยการนํารายจายของประชาชนในการ ซ้อื สนิ คาและบรกิ ารขั้นสุดทา ยรวมกัน ในระยะเวลา 1 ป ภาษกี บั การพฒั นาประเทศ การจดั เกบ็ ภาษี ภาษี หมายถงึ รายไดหรือรายรับของรัฐบาลท่ีเรียกเก็บจากประชาชนทุกคนท่ีทํางาน เพ่ือนําไปพฒั นาประเทศ และคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนในประเทศใหเจริญและดีขึ้น ในการ จดั เกบ็ ภาษีตองมอี งคประกอบ 3 ประการคอื 1. ผเู สียภาษอี ากร คือ บุคคลทกุ คนที่ประกอบอาชีพและมรี ายได ตองมหี นาท่ีเสียภาษี โดยไมห ลบเลี่ยง มิฉะนนั้ ถือเปน ความผิดตามกฎหมาย 2. ระบบการจัดเก็บภาษี คือ วิธีการจัดเก็บภาษีที่มีหลักเกณฑ มีประสิทธิภาพและ ไดผ ลตามเปา หมาย 3. ประเภทของภาษี ภาษแี บงเปน 2 ประเภท คือ 3.1 ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่เรียกเก็บจากผูที่มีรายได เชน ภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา ภาษเี งินไดน ิติบุคคล ภาษมี รดก เปน ตน 3.2 ภาษีทางออม คือ ภาษีท่ีผูมีรายรับผลักภาระภาษีไปยังผูอื่น เชน ภาษี สรรพสามติ อากรแสตมป คา ธรรมเนียมใบอนุญาตตา ง ๆ เปนตน ดลุ การคาและดุลการชาํ ระเงิน ดุลการคา ดุลการคา หมายถึง บนั ทกึ มลู คา สงออกและนําเขาของประเทศหน่ึงกับประเทศ อ่ืน ๆ ซึ่งเปน บ/ช แสดงเฉพาะรายการสินคา เทา น้ัน ตามปกตนิ ยิ มคดิ เปน ระยะเวลา 1 ป ดุลการคาแบง ออกเปน 3 ลกั ษณะ คือ 1. ดลุ การคา เกนิ ดุล 2. ดุลการคาขาดดุล 3. ดุลการคาสมดุล

31 ดลุ การชาํ ระเงนิ ดลุ การชําระเงิน หมายถึง บัญชีบันทึกยอดรับ รายจายทางดานการคาและการลงทุน ทั้งส้ิน ทปี่ ระเทศไดจ ายใหหรอื รายรับจากตางประเทศในระยะเวลา 1 ป บัญชีดุลการคาชําระ เงินเปนการเก็บรวบรวมสถิติการแลกเปลี่ยนสินคาและบริการระหวางประเทศโดยจัด แบงเปน การแลกเปล่ียนสําหรับสินคาท่ีประเทศเราตองการ เรียกวา เดบิต (Debits) การ แลกเปล่ียนสําหรับสินคาและบริการท่ีจัดสงใหกับคนในตางประเทศสําหรับส่ิงที่เขาตองการ เรยี กวา เครดติ (Credit) ลกั ษณะของดลุ การคา ของประเทศใดประเทศหน่ึงจะแบงออกเปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ 1. ดลุ การคา เกนิ ดลุ 2. ดลุ การคาขาดดุล 3. ดลุ การคาสมดลุ ประกอบดว ยบัญชสี ําคัญ 4 บญั ชี คือ - บัญชเี ดินสะพดั (Current Account) - บญั ชีทนุ เคลื่อนยาย (Capital Movement Account) - บัญชเี งินบริจาคหรือเงนิ โอน (Transfer Payment) เปนบัญชีท่ีบันทึกรายการ เกี่ยวกับเงินบริจาคเงินชวยเหลือ และเงินโอนตาง ๆ ท่ีไดรับหรือท่ี ประเทศโอนไป ใหตา งประเทศ 4. บญั ชีเงนิ ทุนสาํ รองระหวา งประเทศ (Intemational Reserve Account) ปญหาเศรษฐกจิ ในประเทศไทยภมู ิภาคตาง ๆ และโลก ปญหาทางเศรษฐกจิ ในชุมชนและแนวทางแกปญ หา การพัฒนาประเทศและปญหาเศรษฐกิจในชุมชนการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม ชวยสรา งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหกันประเทศ ในขณะเดียวกันก็กอใหเกิดปญหาใน หลาย ๆ ดาน เชน 1. ปญ หาความไมสมดุลของภาคเศรษฐกจิ 2. ปญหาความยากจนและความเหลอ่ื มลํ้าในการกระจายรายได - ปญ หาการกระจายรายได - ปญ หาความยากจน 3. ปญ หาดานคณุ ภาพชีวติ 4. ปญหาความเสือ่ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 5. ปญหาวิกฤตเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540

32 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติฉบบั ปจจุบนั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คือ การกําหนดแนวทางการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ เพ่ือใหประชาชนมีชีวิตและความเปนอยูที่ดีข้ึน โดยการเขา มามสี ว นรวมของประชาชนทุกข้นั ตอนอยา งเปนระบบ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) มีสาระสาํ คญั คือ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 เนนการพัฒนาใหเกิด “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุขดวย ความเสมอภาคเปน ธรรมและมีภมู ิคมุ กนั ตอ การเปลยี่ นแปลง” ดงั นี้ 1. เรงสรางความสงบสุขใหสังคมโดยรวมมือกันสรางสังคมใหอยูรวมกันอยางสงบสุข สงเสรมิ การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนหลักปฏิบัติรวมกันท้ังสังคม พรอม ทั้งเสริมสรางภาคราชการการเมืองและประชาสังคมใหเขมแข็งภายใตหลักประชาธิปไตย ท่ถี กู ตอ งเหมาะสมเปน ท่ีเชอ่ื มัน่ และไววางใจของประชาชน 2. มุงพฒั นาคนใหม ีคณุ ภาพเปน กําลังสาํ คัญในการพฒั นาประเทศใหม นั่ คงและสามารถ แขงขันกบั ประเทศตาง ๆ ในโลกไดอยางตอเนื่อง พัฒนาความสามารถสติปญญาและจิตใจให พรอมสําหรับการพฒั นาประเทศสสู ังคมฐานความรู 3. เพิ่มชนชั้นกลางใหกระจายทุกพื้นทข่ี องประเทศเพราะชนชนั้ กลางเปน กําลังสําคัญใน การประสานประโยชนและพัฒนาประเทศท่ีมีความสมดุล พรอมทั้งสงเสริมใหทุกชนช้ันรูจัก หนา ท่ขี องตนเองและรวมกนั พัฒนาสังคมไทยใหเจริญกาวหนาและนา อยู 4. พัฒนาภาคเกษตรใหคงอยูกับสังคมไทยและผลิตอาหารใหเพียงพอสําหรับทุกคน เรง พฒั นาความสามารถของเกษตรกรในการผลิตพืชอาหารท่ีมีคุณภาพในปริมาณมากพอที่จะ เลี้ยงดคู นในประเทศและสง เปน สินคาออกสนองความตองการของประเทศตาง ๆ สามารถเปน ผูน าํ การผลติ และการคาในเวทีโลกรวมทั้งรักษาความโดดเดนของอาหารไทยที่ตางประเทศช่ืน ชอบ 5. ปรับปรุงการบริหารจัดการภาครัฐใหเอื้อตอการพัฒนาประเทศในอนาคตเกิดความ โปรง ใสตรวจสอบได สงเสรมิ ใหทกุ ภาคสวนทีเ่ ก่ยี วของมีสว นรวมในการพฒั นาประเทศ ผลของการใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ จากผลของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑ ก็ยังมีการขาดแคลนบริการพ้ืนฐานทําใหมีความ จําเปนท่ีจะตองขยายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานตอไป ขณะเดียวกันก็จําเปนท่ีจะตองให ความสําคัญตอ การพัฒนาทางดา นสงั คม โดยเฉพาะอยา งยิง่ การศึกษาและสาธารณสขุ เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน และเพอื่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหเปนกําลังสําคัญใน การพัฒนาประเทศ ควบคูกับการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ เพ่ือลด

33 ปญหาความยากจนและการกระจายรายได ซึ่งเปนปจจัยท่ีสรางความขัดแยงทางการเมืองใน ขณะนั้น ดังนั้น แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๒ จึงมุงเนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และปรับปรุงใหมี ความสมบูรณแ ละชัดเจนขึน้ โดยเนนการเจริญเติบโตท่ีสมดุลระหวางเศรษฐกิจและสังคม โดย เพิ่มการพัฒนาสังคม สาธารณูปการ การสาธารณสุขและการศึกษา และไวในแผนพัฒนา ฯ ดวย และต้ังแตนั้นเปนตนมา แผนพัฒนาฯ ทุกฉบับก็ใชคําวา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ มาโดยตลอด ขณะเดียวกันก็ยังมุงเนนท่ีจะสงเสริมการลงทุนของภาคเอกชนให กวางขวางยงิ่ ข้ึน

34 กิจกรรมทายบทท่ี 3 คําช้แี จง : ใหต อบคําถามตอไปนี้ 1. จงอธบิ ายระบบเศรษฐกิจของไทยาพอเขา ใจ แนวตอบ กลุมบุคคลของสังคมทรี่ วมตัวกนั เปน กลุมของสถาบนั ทางเศรษฐศาสตรซ ึ่งยึดถือแนว ปฏิบัติแนวทางเดียวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อใหสามารถบําบัดความ ตอ งการแกบ คุ คลตางๆ 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 1 กับ ฉบับที่ 2 จุดมุงหมายแตกตางกัน อยา งไร แนวตอบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติฉบบั ที่ 1 มีจดุ มุงหมาย สงเสริมอุตสาหกรรม ทดแทนการนําเขา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 2 มีจุดมุงหมาย พัฒนา สงั คมควบคูก ับการ พฒั นาเศรษฐกจิ แผนฉบบั นจี้ ึงเรม่ิ ใชชอ่ื วา “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ” สงเสริมการผลิตเพอ่ื การสง ออก 3. ใหผ ูเรียนบอกปญหาเศรษฐกิจของประเทศไทยตามทผ่ี ูเรียนเขาใจมาอยางนอ ย 5 ขอ แนวตอบ - ปญหาทางดานการเมือง - ปญหาภาระหน้สี ิน - ความสามารถในการแขงขนั ของสินคา ไทยในตลาดโลก - คา เงินบาท - สถานการณภาพรวมของเศรษฐกิจโลกท่ีจะยงั คงมีความผันผวนอยพู อสมควร - การลงทนุ ในโครงสรางพื้นฐานดว ยเมด็ เงินมหาศาลของภาครฐั - ราคาของพลงั งานท่ีมีแนวโนม สูงขนึ้ - อัตราดอกเบ้ีย - อตั ราเงินเฟออาจมโี อกาสปรบั ตวั ข้นึ เลก็ นอย - การขาดแคลนแรงงานซงึ่ อาจจะสงผลตอ ภาคอุตสาหกรรมตา งๆ 4. จงอธบิ ายกลไกราคากบั เศรษฐกิจของไทยในปจจุบนั แนวตอบ เปนภาวการณเปล่ียนแปลงในระดับราคาสินคาและบริการอันเกิดจากแรงผลักดัน ของอุปสงคแ ละอปุ ทาน

35 5. ผเู รียนอธิบายความสําคัญของสถาบนั ธนาคารมาพอเขา ใจ แนวตอบ ธนาคาร คือ สถาบันการเงนิ หรอื องคก รธุรกจิ ท่ีดําเนนิ ธรุ กจิ เก่ยี วกับการเงิน โดยการ ระดมเงนิ ทุน จากผูท ม่ี ีเงินทนุ เกนิ ความตอ งการ และจะกระจายเงินทุนใหแกผูท่ีตองการเงินทุน แตข าดแคลนเงนิ ทุนของตนเอง

36 บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เปนระบอบการปกครองซง่ึ ประชาชนมีอาํ นาจสูงสุด โดยจะเห็นวาการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยในปจ จุบนั น้นั จะแยกออกเปน 2 แบบ 1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมพี ระมหากษตั ริยเปนประมขุ 2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมปี ระธานาธบิ ดเี ปนประมขุ หลักการของระบอบประชาธปิ ไตย 1. หลักความเสมอภาค - ความเสมอภาคทางกฎหมาย - ความเสมอภาคทางการเมอื ง - ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ - ความเสมอภาคในดา นโอกาส 2. หลักสทิ ธิเสรีภาพและหนาที่ขนั้ พน้ื ฐาน - สทิ ธแิ ละเสรภี าพสว นบุคคล - สิทธิและเสรภี าพทางการเมอื ง - สทิ ธิและเสรภี าพทางเศรษฐกจิ 3. หลักนติ ธิ รรม 4. หลกั การยอมรบั เสียงสวนมาก ประเภทของประชาธปิ ไตย การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แบง ออกเปน 2 ประเภท 1. ประชาธปิ ไตยโดยทางตรง 2. ประชาธปิ ไตยโดยทางออ ม ขอ ดขี องระบอบประชาธปิ ไตย 1. ทาํ ใหประชาชนยึดหลกั การที่ถกู ตอง ชอบธรรม มีระเบยี บวนิ ัย 2. การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนในการ ปกครองตนเอง เปน เจาของอาํ นาจสูงสดุ ของประเทศ คือ อํานาจอธปิ ไตย 3. ประชาชนมีสทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคเทาเทยี มกัน 4. เปน การปกครองที่ปฏิบัตติ ามมติของคนสว นมาก

37 5. ชวยแกไขปญหาความขัดแยงภายในหมูประชาชน ระหวางรัฐกับประชาชน หรือ ระหวางรัฐกับรัฐ ขอ เสยี ของระบอบประชาธิปไตย 1. ประชาชนสรา งความวนุ วายเพราะไมเขาใจสทิ ธิ เสรภี าพและหนา ท่ี 2. ผูแทนราษฎรสรางผลงานในเฉพาะทองถ่ินของตน แตไมสนใจปญหาประเทศชาติ เทาท่ีควร 3. ประชาชนไมเ ขา ใจระบอบประชาธิปไตย ขาดสํานึกของประชาธปิ ไตยจึงเกิดการขาย เสียง 4. รัฐบาลท่ีมีเสียงขางมากในรัฐสภาอาจใชความได เปรียบน้ีจนกลายเปนระบอบ คณาธปิ ไตยได 5. ประชาชนเกดิ ความเบือ่ หนาย การปกครองระบอบเผดจ็ การ เปนการปกครองที่ใหความสําคัญแกอํานาจรัฐและผูปกครอง อํานาจรัฐจะอยูเหนือ เสรีภาพของบุคคล คณะบุคคลเด่ียว หรือพรรคการเมืองเดี่ยว โดยจะถือประโยชนของรัฐ มากกวา ของประชาชน หลกั การปกครองระบอบเผด็จการ 1. ยดึ หลักรวมอาํ นาจการปกครองไวทีส่ ว นกลางของประเทศ 2. ยึดหลกั การใชกาํ ลงั 3. ประชาชนตอ งเชื่อฟง และปฏบิ ัติ ตามผูนําอยางเครงครัด 4. สรางความรสู ึกไมมนั่ คงในชีวติ ใหแ กประชาชน 5. ไมส นับสนนุ ใหประชาชนเขามามีสวนรว มทางการเมอื งการปกครอง 6. จาํ กัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนทัง้ ดานเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง การปกครองระบอบเผดจ็ การ แบงออกเปน 2 ประเภท 1. ระบอบเผด็จการอํานาจนิยม 2. ระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จนยิ ม ขอ ดขี องการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. สามารถตัดสนิ ปญ หาตาง ๆ ไดเ ร็วกวาระบอบประชาธปิ ไตย 2. การแกป ญ หาบางอยา งสามารถทําไดด กี วา ระบอบประชาธิปไตย 3. มีกาํ ลงั กองทพั และอาวธุ เขมแขง็ เปน ทีย่ ําเกรงของประเทศเพือ่ นบา น

38 4. มสี วนใหเ กดิ ความเจริญกา วหนาในการพฒั นาประเทศดา นตาง ๆ 5. มีสวนกอ ใหเกดิ การปกครองท่มี ีประสทิ ธิภาพเพราะมีการใชอาํ นาจบังคบั 6. สามารถแกปญ หาวกิ ฤตหรือเหตุการณฉุกเฉินไดอยางรวดเร็ว ขอเสยี ของการปกครองระบอบเผด็จการ 1. เปน การรดิ รอนสทิ ธิและเสรีภาพขั้นพ้นื ฐานของประชาชน 2. เปนการปกครองของคนกลมุ นอ ย 3. มงุ ผลประโยชนเ ฉพาะกลุมหรอื พรรคพวกของตน 4. จํากัดและขดั ขวางสทิ ธิ เสรภี าพของประชาชน 5. บา นเมอื งไมสงบสุขมผี ูต อ ตา นใชกําลังอาวธุ เขา ตอ สูกับรัฐบาล 6. เปดชอ งใหม หาอํานาจเขา มาแทรกแซงได 7. นาํ ประเทศไปสคู วามหายนะ พัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยของประเทศตา ง ๆ ในโลก จดุ เรมิ่ ตน ของระบอบประชาธปิ ไตย “ยุคโบราณ” มีหลายประเทศดงั น้ี 1. ประเทศกรีก 2. ประเทศซีเรยี 3. ประเทศอินเดีย 4. สาธารณรัฐโรมัน จุดเริ่มตน ของระบอบประชาธิปไตย “ยุคกลาง”มหี ลายประเทศดงั นี้ 1. ระบบกลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คยูเครน 2. ประเทศองั กฤษ 3. สหพันธไ อโรโควอสิ จดุ เร่มิ ตนของระบอบประชาธิปไตย “คริสตศตวรรษท่ี 18-19” มหี ลายประเทศดังนี้ 1. ประเทศสหรัฐอเมริกา 2. ประเทศฝรง่ั เศส 3. ประเทศนวิ ซีแลนด ระบอบประชาธปิ ไตยในประเทศไทย 1. เหตกุ ารณสมยั ประชาธปิ ไตย พ.ศ. 2475 – 2535 2. มลู เหตขุ องการเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 3. ประชาธิปไตย หลัง 14 ตลุ าคม 2516 4. ประชาธิปไตยกับการมสี ว นรวมในประเทศไทย

39 เหตุการณสาํ คัญทางการเมืองการปกครองของประเทศไทย เหตุการณป กครองของประเทศไทยภายหลงั ปพ ทุ ธศกั ราช 2475 มีดงั นี้ 1. กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 2. การรัฐประหาร พ.ศ. 2490 3. การรัฐประหาร พ.ศ. 2501 4. วนั มหาวิปโยค 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516 5. เหตุการณ 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2519 6. การรัฐประหาร พ.ศ. 2520 7. การรัฐประหาร พ.ศ. 2534 (รสช.) 8. เหตุการณพฤษภาทมฬิ (17 – 19 พ.ค. 2535) เหตุการณส าํ คัญทางการเมอื งการปกครองของโลกที่สงผลกระทบตอประเทศไทย เหตุการณส ําคญั ทางการเมืองการปกครองของโลก นับเปนมลู เหตุใหญท่ีทาํ ใหสังคมไทย เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางย่ิงสงผลกระทบตอการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ซึ่งเหตุการณสําคัญตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชวงศตวรรษท่ี 20 (ค.ศ 1900 – 2000) ดังน้ี 1. สงครามโลกครั้งท่ี 1 (ค.ศ. 1914 – 1918) 2. สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 (ค.ศ. 1939 – 1945) 3. สงครามเยน็ 4. การเมอื งโลกสูส งั คมไทย 5. เกดิ ขบวนการนกั ศกึ ษาเปน ปรากฏการณระดับโลก ในชวงสงครามโลกทง้ั 2 ครั้ง หลกั ธรรมาภบิ าล ภาครัฐหรือภาคเอกชนตองยึดมั่นหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ 1. หลกั นติ ธิ รรม 2. หลักคณุ ธรรม 3. หลกั ความโปรง ใส 4. หลักการมีสวนรวม 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ 6. หลกั ความคมุ คา

40 แนวปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมาภบิ าล 1. ยดึ มน่ั ในวตั ถุประสงคข ององคกรและผลผลิตที่จะสงมอบใหแกประชาชนและผูท่ีมา รับบริการ 2. ทาํ งานอยางมปี ระสทิ ธิภาพในหนาที่และบทบาทของตนเอง 3. สงเสริมคานิยมขององคกรและแสดงใหเห็นถึงคุณคาของธรรมาภิบาล โดยการ ปฏบิ ตั หิ รือพฤตกิ รรม 4. มกี ารสื่อสารท่ดี ี มีการตดั สนิ ใจอยางโปรงใสและมีการบรหิ ารความเสย่ี ง 5. พฒั นาศักยภาพและความสามารถของสวนบริหารจัดการอยางตอเนื่อง พรอมท้ังให มปี ระสิทธภิ าพย่งิ ข้นึ 6. เขาถึงประชาชนและตองรับผิดชอบตอการทาํ งานและผลงานอยางจรงิ จงั

41 กิจกรรมทา ยบทที่ 4 1. จงบอกขอ ดีและขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย แนวตอบ ขอ ดี 1. ทาํ ใหป ระชาชนยึดหลักการท่ถี ูกตอ ง ชอบธรรม มีระเบียบวินัย 2. การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองท่ีประชาชนทุกคนมีสวนในการ ปกครองตนเองเปนเจา ของอํานาจสงู สดุ ของประเทศคืออํานาจอธิปไตย 3. ประชาชนมสี ทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคเทาเทยี มกันเปนการปกครองที่ปฏิบัติ ตามมตขิ องคนสว นมาก 4. ชว ยแกไขปญหาความขดั แยง ภายในหมปู ระชาชน ระหวา งรฐั กับประชาชน หรอื ระหวา งรฐั กบั รัฐ ขอ เสีย 1. ประชาชนสรางความวนุ วายเพราะไมเ ขาใจสิทธิ เสรีภาพและหนา ที่ 2. ผแู ทนราษฎรสรา งผลงานในเฉพาะทอ งถิ่นของตน แตไมสนใจปญ หาประเทศชาติ เทาท่ีควร 3. ประชาชนไมเ ขาใจระบอบประชาธปิ ไตย ขาดสํานึกของประชาธปิ ไตยจึงเกิดการขาย เสียง 4. รัฐบาลที่มีเสียงขางมากในรัฐสภาอาจใชความได เปรียบน้ีจนกลายเปนระบอบ คณาธิปไตย 5. ประชาชนเกดิ ความเบื่อหนาย 2. จงบอกหลกั การของการปกครองระบอบเผด็จการ 3 ขอ แนวตอบ 1. ยดึ หลกั รวมอาํ นาจการปกครองไวท ่ีสว นกลางของประเทศ 2. ยดึ หลกั การใชก าํ ลงั 3. ประชาชนตอ งเช่อื ฟง และปฏบิ ัติ ตามผูน าํ อยา งเครงครดั 3. จงบอกเหตุการณส าํ คัญทางการเมืองของไทยระหวา งป พ.ศ. 2475 – 2549 แนวตอบ 1. กบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 2. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2490 3. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2501 4. วันมหาวปิ โยค 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516 5. เหตุการณ 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2519

42 6. การรัฐประหาร พ.ศ. 2520 7. การรฐั ประหาร พ.ศ. 2534 (รสช.) 8. เหตกุ ารณพ ฤษภาทมฬิ (17 – 19 พ.ค. 2535 4. ใหนกั ศึกษาวเิ คราะหเหตุการณทางการเมืองของไทยในปจจบุ นั แนวตอบ เหตุการณชุมนุมทางการเมืองเมื่อป พ.ศ.2557 มีผลกระทบในดานเศรษฐกิจ สังคม ชุมชนและประเทศชาติไดอยางชัดเจน รวมท้ังมีผลกระทบกับการทองเที่ยวทําให นกั ทอ งเทีย่ วขาดความเช่อื ม่นั เกี่ยวกับความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยสิน สงผลใหรายไดดาน การทองเทีย่ วลดนอ ยลง 5. ใหนักศึกษาบอกหลักธรรมาภบิ าลทเี่ ปน แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านมีกขี่ อ อะไรบา ง แนวตอบมี 6 ประการ ดังน้ี 1. หลกั นติ ธิ รรม 2. หลักคณุ ธรรม 3. หลกั ความโปรง ใส 4. หลกั การมีสวนรว ม 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ 6. หลักความคุมคา

43 คณะทํางาน ที่ปรกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน. นายสรุ พงษ หอมดี รองเลขาธกิ าร กศน. นายประเสริฐ สขุ สเุ ดช ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางตรนี ุช และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย นายอรญั คงนวลใย ผอู าํ นวยการ สถาบัน กศน.ภาคใต ผูสรปุ เนอื้ หา ครู กศน.อาํ เภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา นางสาวกาญจนา สิงหาด ครู กศน.อาํ เภอสงิ หนคร จังหวดั สงขลา นางสทุ ธิพร ศสิธร ครู กศน.อําเภอระโนด จงั หวัดสงขลา นางลักษมณ ไทยรตั น ครู กศน.อําเภอระโนด จงั หวัดสงขลา นางเพียงจันทร สันหนู ครู กศน.อาํ เภอสะเดา จังหวดั สงขลา นางสาววันเพ็ญ ชวยนกุ ลู ครู กศน.อาํ เภอสะเดา จังหวัดสงขลา นางสาวจติ ประภา ทองแกมแกว ครู สถาบัน กศน.ภาคใต ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ครู สถาบัน กศน.ภาคใต นางจุฑาทิพย ถาวรประสิทธิ์ ครู สถาบัน กศน.ภาคใต นางสายชล จักรเจริญ นางสาวณฐั ภัสสร แดงมณี เจา หนา ท่ี สถาบัน กศน.ภาคใต ผพู มิ พต น ฉบบั กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ นางสาวกง่ิ กาญจน ประสมสขุ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผูออกแบบปก นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป

44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook