Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LopburiTH-1546854147

LopburiTH-1546854147

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-06-06 00:29:16

Description: LopburiTH-1546854147

Search

Read the Text Version

ลพบุรี วัดสว่างอารมณ์

พระปรางคส์ ามยอด อำ� เภอเมือง วดั ธรรมิการาม อ�ำเภอบา้ นหมี่ วัดไลย์ อ�ำเภอท่าว้งุ

พระนารายณ์ราชนเิ วศน์ อ�ำเภอเมืองลพบรุ ี เขาวงพระจนั ทร์ อำ� เภอโคกสำ� โรง สวนรุกขชาติน�ำ้ ตกวงั กา้ นเหลอื ง อำ� เภอชยั บาดาล เขอ่ื นป่าสกั ชลสทิ ธิ์ อำ� เภอพฒั นานิคม เขตรักษาพันธ์ุสัตวป์ า่ ซับลงั กา อำ� เภอลำ� สนธิ ลพบุรี ลพบรุ ี

วดั พระศรรี ัตนมหาธาตุ

การเดนิ ทาง สารบญั สถานท่ที ่องเท่ยี ว อำ�เภอเมอื งลพบรุ ี ๘ ๘ อ�ำเภอโคกส�ำโรง อ�ำเภอชยั บาดาล ๘ อ�ำเภอล�ำสนธิ ๒๗ อ�ำเภอพฒั นานคิ ม ๒๗ อ�ำเภอทา่ วงุ้ ๒๘ อ�ำเภอบา้ นหมี่ ๒๙ ๓๓ กจิ กรรมทน่ี ่าสนใจ ๓๔ เทศกาลงานประเพณ ี สนิ ค้าพนื้ เมืองและของทร่ี ะลกึ ๓๖ ตวั อยา่ งรายการนำ� เท่ยี ว ๓๖ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ๓๙ ๔๐ สถานทพ่ี ัก ๔๑ รา้ นอาหาร ๔๑ ขอ้ แนะนำ� ในการทอ่ งเทย่ี ว ๔๔ แผนท่ ี หมายเลขโทรศัพท์สำ� คญั ๔๕ ๔๖ ๕๐

พระนารายณร์ าชนเิ วศน์ ลพบรุ ี วงั นารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางคส์ ามยอดลือเลื่อง เมอื งแหง่ ดนิ สอพอง เข่อื นป่าสักชลสทิ ธิเ์ กรกิ ก้อง แผน่ ดนิ ทองสมเด็จพระนารายณ์

ลพบุรี เป็นเมืองแห่งความหลากหลายและต่อเนื่อง สมเด็จพระเพทราชาได้ทรงย้ายหน่วยราชการ ทางวัฒนธรรมยาวนานกว่า ๓,๐๐๐ ปี ต้ังแต่สมัย ทงั้ หมดกลบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ในรชั กาลตอ่ ๆ มา กไ็ มไ่ ด้ ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน ค้นพบหลักฐาน เสด็จมาประทับท่ีเมืองน้ีอีก จนกระทั่งถึงรัชกาล ทางประวตั ิศาสตรม์ ากทสี่ ุดแห่งหน่ึง ต้ังแต่สมัยทวา ที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาเม่ือพ.ศ. ๒๔๐๖ ราวดี (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖) ลพบรุ อี ย่ใู ต้อำ� นาจ โปรดเกล้าฯ ใหบ้ รู ณะเมืองลพบรุ ี ซอ่ มกำ� แพง ป้อม มอญและขอมจนกระทง่ั ในตอนตน้ ของพทุ ธศตวรรษ และประตูพระราชวังที่ช�ำรุดทรุดโทรม และสร้าง ท่ี ๑๙ คนไทยจึงเร่ิมมีอ�ำนาจขึ้นในดินแดนแถบน้ี พระที่น่ังพิมานมงกุฎข้ึนในพระราชวังเป็นที่ประทับ ในรัชสมัยของพระเจ้าอู่ทองปฐมกษัตริย์แห่งกรุง และพระราชทานนามวา่ “พระนารายณร์ าชนเิ วศน”์ ศรอี ยธุ ยา ลพบุรมี ฐี านะเป็นเมอื งลกู หลวง กลา่ วคือ ภายหลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครอง ในสมยั รฐั บาล พระเจา้ อทู่ องไดโ้ ปรดใหพ้ ระราเมศวร ราชโอรสเสดจ็ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้สร้างเมืองลพบุรีใหม่ มาครองเมืองลพบุรี เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ โปรดใหส้ รา้ ง ให้เป็นเมืองทหารอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของ ป้อม ขุดคู และสร้างก�ำแพงเมืองอย่างม่ันคง เม่ือ ทางรถไฟ มอี าณาเขตกวา้ งขวาง สว่ นเมอื งเกา่ นนั้ อยู่ พระเจ้าอู่ทองสวรรคต เม่ือพ.ศ. ๑๙๑๒ พระราเม ทางดา้ นทศิ ตะวนั ตกของทางรถไฟ เมอื งลพบรุ จี งึ เปน็ ศวร ถวายราชบัลลังก์ให้แก่พระปิตุลาของพระองค์ ศูนย์กลางสำ� คญั ทางยุทธศาสตร์เมอื งหน่ึง ซงึ่ ไดข้ น้ึ ครองราชยพ์ ระนามวา่ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ สว่ นพระราเมศวรครองเมอื งลพบรุ สี บื ตอ่ ไป จนถงึ ระยะทางจากจงั หวดั ลพบรุ ไี ปยงั จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง พ.ศ. ๑๙๓๑ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ สวรรคต พระนครศรีอยธุ ยา ๙๘ กิโลเมตร พระราเมศวรจงึ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชย์ ณ กรงุ ศรอี ยธุ ยา สระบรุ ี ๔๖ กโิ ลเมตร เป็นครั้งท่ี ๒ หลังจากน้ันเมืองลพบุรีได้ลดความ สิงห์บรุ ี ๓๓ กิโลเมตร สำ� คญั ลงไป จนกระทง่ั มาถงึ สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ อา่ งทอง ๖๗ กโิ ลเมตร มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ลพบุรไี ด้รบั การท�ำนุ บำ� รงุ ครงั้ ใหญ่ สบื เนอื่ งมาจากการคกุ คามของชนชาติ ระยะทางจากอำ� เภอเมอื งลพบรุ ไี ปอำ� เภอตา่ งๆ ฮอลันดาท่ีติดต่อค้าขายกับไทย ท�ำให้สมเด็จพระ อ�ำเภอโคกส�ำโรง ๓๕ กโิ ลเมตร นารายณ์ทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยานั้นไม่สู้ปลอดภัย อำ� เภอสระโบสถ ์ ๖๕ กิโลเมตร จากการปิดล้อมระดมยงิ ของขา้ ศกึ หากเกดิ สงคราม อำ� เภอโคกเจรญิ ๗๗ กโิ ลเมตร จงึ ไดส้ รา้ งเมืองลพบรุ ีเป็นราชธานีแหง่ ที่สอง สมเดจ็ อำ� เภอชัยบาดาล ๙๗ กิโลเมตร พระนารายณ์มหาราชทรงได้รับความช่วยเหลือ อ�ำเภอล�ำสนธิ ๑๒๐ กิโลเมตร จากช่างชาวฝร่ังเศสและอิตาเลียน และได้สร้าง อ�ำเภอทา่ หลวง ๘๓ กโิ ลเมตร พระราชวังและป้อมปราการเป็นแนวป้องกันอย่าง อำ� เภอพฒั นานคิ ม ๕๑ กิโลเมตร แข็งแรง สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ประทับอยู่ อำ� เภอท่าวุ้ง ๑๐ กโิ ลเมตร ท่ีลพบุรีเป็นส่วนใหญ่ และโปรดให้ทูตและชาวต่าง อ�ำเภอบา้ นหม่ ี ๓๒ กโิ ลเมตร ชาติเข้าเฝ้าพระองค์ทเ่ี มอื งนห้ี ลายครงั้ พอสนิ้ รชั กาล อำ� เภอหนองม่วง ๕๔ กโิ ลเมตร สมเดจ็ พระนารายณฯ์ ลพบุรี 7

การเดินทาง รถไฟ มีบริการรถไฟออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวล�ำโพง) ทุกวัน สอบถามข้อมูล โทร. ๑๖๙๐ รถยนต์ www.railway.co.th - จากกรงุ เทพฯ ใชท้ างหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข ๑ (ถนน พหลโยธนิ ) ผ่านจังหวดั สระบรุ ี อำ� เภอพระพทุ ธบาท สถานทที่ อ่ งเที่ยว เขา้ สูจ่ ังหวดั ลพบุรี ระยะทาง ๑๕๓ กิโลเมตร - จากกรงุ เทพฯ ใชท้ างหลวงหมายเลข ๓๒ ซงึ่ แยกจาก อำ� เภอเมืองลพบุรี ทางหลวงหมายเลข ๑ ผา่ นจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ อยู่ตรงข้ามกับสถานีรถไฟ จะมที างแยกเข้าได้ ๓ ทาง คอื ลพบุรี สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด ๑. เข้าทางอ�ำเภอบางปะหัน ผ่านอ�ำเภอ เม่ือเข้าไปในบริเวณวัดจะพบศาลาเปลื้องเคร่ืองเป็น นครหลวง เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข ๓๑๙๖ ผ่าน อันดับแรก ศาลาเปล้ืองเครื่องน้ีใช้เป็นท่ีส�ำหรับ อำ� เภอบา้ นแพรก เข้าสู่จงั หวัดลพบุรี พระเจา้ แผน่ ดนิ เปลอ้ื งเครอ่ื งทรงกอ่ นทจี่ ะเขา้ พธิ ที าง ๒. เข้าตรงทางแยกต่างระดับจังหวัดอ่างทอง ศาสนาในพระวิหารหรือพระอุโบสถ ปัจจุบันศาลา ไปยังอ�ำเภอท่าเรือ แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ทางหลวง เปล้ืองเครื่องคงเหลือเพียงเสาเอนอยู่เท่าน้ัน ส่วน หมายเลข ๓๑๙๖ ผา่ นอำ� เภอบา้ นแพรก เขา้ สจู่ งั หวดั อน่ื ปรกั หกั พงั ไปหมดแลว้ ถดั จากศาลาเปลอ้ื งเครอ่ื ง ลพบรุ ี เปน็ วหิ ารหลวง ซง่ึ สรา้ งในสมยั สมเดจ็ พระนารายณฯ์ ๓. ผ่านจังหวัดอ่างทอง สิงห์บุรี แล้วใช้ เป็นวิหารขนาดใหญ่มาก ประตูท�ำเป็นเหล่ียมแบบ ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ (สายสงิ ห์บุรี-ลพบุร)ี ผา่ น ไทย หนา้ ตา่ งเจาะชอ่ งแบบโกธคิ ของฝรง่ั เศส ภายใน อ�ำเภอท่าวุ้ง เขา้ สู่จังหวดั ลพบรุ ี สรา้ งฐานชกุ ชปี ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ทางทศิ ใตข้ อง รถโดยสารประจ�ำทาง มบี รกิ ารรถโดยสารประจำ� ทาง วหิ ารหลวงเปน็ พระอโุ บสถขนาดยอ่ ม ประตหู นา้ ตา่ ง ปรับอากาศออกจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ เปน็ แบบฝรงั่ เศสทงั้ หมด หา่ งไปทางทศิ ตะวนั ตกของ (จตจุ กั ร) ถนนกำ� แพงเพชร ๒ สอบถามข้อมูล โทร. วหิ ารหลวงเปน็ พระปรางคอ์ งคใ์ หญ่ กอ่ ดว้ ยศลิ าแลง ๑๔๙๐ , ๐ ๒๙๓๖ ๒๘๕๒-๖๖ www.transport.co.th โบกปนู มเี ครอ่ื งประดบั ลวดลายเปน็ พระพทุ ธรปู และ รถตู้ มีบริการท่ีสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ พทุ ธประวตั ิ ทลี่ ายปนู ปน้ั หนา้ บนั พระปรางคแ์ สดงถงึ (จตุจกั ร) ถนนก�ำแพงเพชร ๒ ดงั นี้ อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายาน และซุ้มโค - รถตู้ เคโอ โทร. ๐๘ ๑๓๘๑ ๒๐๓๑ , ๐๘ ปุระของปรางค์องค์ใหญ่เป็นศิลปะละโว้ มีลายปูน ๑๗๔๕ ๘๑๘๒ ปั้นที่ถือว่างามมาก เดิมคงจะสร้างในสมัยขอมเรือง - รถตู ้ ดี ทวั ร์ โทร. ๐๘ ๙๘๘๐๖๐๐๙ อ�ำนาจแต่ได้รับการซ่อมแซมในสมัยสมเด็จพระรา - รถตู้วัชรินทรท์ วั ร์ กรปุ๊ โทร. ๐๘ ๙๘๐๐ เมศวร สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ และสมเดจ็ พระนา ๐๗๒๑ (สำ� นักงานลพบรุ )ี โทร. ๐ ๓๖๔๑ รายณฯ์ ลวดลายจึงปะปนกนั หลายสมยั ปรางค์องค์ ๓๔๗๓ นี้เดิมบรรจุพระพุทธรูปไว้เป็นจ�ำนวนมากท่ีขึ้นช่ือ คือ พระเครอ่ื งสมัยลพบรุ ี เชน่ พระหยู าน พระร่วง เปน็ ต้น ซึง่ มีการขดุ พบเป็นจ�ำนวนมาก 8 ลพบุรี

วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ภายในบริเวณวัดมปี รางค์รายต้ังอย่ทู างทศิ ตะวนั ตก วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เปิดให้เข้าชมต้ังแต่เวลา เฉียงเหนือท่ีมุมกลีบมะเฟืองทุกมุมปั้นเป็นรูป ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น. เวน้ วนั จันทร์-องั คาร อัตราคา่ เทพพนมหันออกรอบทิศพระพักตร์เป็นส่ีเหลี่ยม เข้าชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ๕๐ บาท พระขนงต่อกัน ลักษณะเป็นศิลปะแบบอู่ทอง ชฎา เด็กไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือสามารถซ้ือบัตรรวม ชาว เป็นทรงสามเหลี่ยมมีรัศมีออกไปโดยรอบเป็นศิลปะ ไทย ๓๐ บาท ชาวต่างชาติ ๑๕๐ บาท โดยบัตร ท่งี ดงามมาก นี้สามารถเข้าชมวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระท่ีนั่ง ลพบรุ ี 9

พระนารายณร์ าชนเิ วศน์ ไกรสรสีหราช พระปรางค์สามยอด และบ้านหลวง เกล้าฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่เม่ือ พ.ศ. ๒๓๙๙ เพ่ือ วิชาเยนทร์ สอบถามข้อมลู ได้ท่ี ส�ำนกั งานศิลปากรท่ี ให้เปน็ ราชธานีช้นั ใน และพระราชทานชือ่ ว่า “พระ ๔ ลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐, ๐ ๓๖๔๑ ๓๗๗๙ นารายณ์ราชนิเวศน์” ส่ิงก่อสร้างภายในพระราชวัง แบง่ ตามยุคสมัยเป็น ๒ กล่มุ คอื พระนารายณ์ราชนิเวศน์ สมเด็จพระนารายณ์ มหาราช โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๒๐๙ เพื่อ สถานที่ส�ำคัญในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ใช้เป็นท่ีประทับ ณ เมืองลพบุรีแบ่งเป็นเขตพระ ไดแ้ ก่ ราชฐานช้ันนอก เขตพระราชฐานช้ันกลาง และเขต พระทน่ี งั่ ดสุ ติ สวรรคธ์ ญั ญมหาปราสาท เปน็ พระทนี่ ง่ั พระราชฐานชั้นใน ก�ำแพงพระราชวังก่ออิฐถือปูน ทม่ี ศี ลิ ปะแบบผสมผสานระหวา่ งไทยกบั ฝรง่ั เศส เดมิ มีใบเสมาเรียงรายบนสันก�ำแพงมีซุ้มประตูทั้งหมด เป็นท้องพระโรงมียอดแหลมทรงมณฑป ตรงกลาง ๑๑ ประตู ประตูทางเข้าเป็นทรงจัตุรมุขมีช่องทาง ท้องพระโรงมีสีหบัญชร ซึ่งเป็นที่เสด็จออกเพ่ือทรง โค้งแหลม ตรงจั่วซุ้มประตูตกแต่งลายกระจังปูน มพี ระราชปฏิสนั ถารกับผู้เขา้ เฝ้า ประตแู ละหนา้ ต่าง ปั้นที่วิวัฒนาการมาจากดอกบัว ท่ีซุ้มประตูและ ทอ้ งพระโรงซ่ึงอยดู่ ้านหนา้ ทำ� เปน็ โค้งแหลม สว่ นตัว ก�ำแพงพระราชฐานช้ันกลางและช้ันในมีช่องเล็ก ๆ มณฑปซึ่งอยู่ด้านหลังท�ำประตูหน้าต่างเป็นซุ้มแบบ เจาะเป็นรูปโค้งแหลมคล้ายบัวเรียงเป็นแถวส�ำหรับ ไทย คือ ซุ้มเรือนแก้วฐานสิงห์ ในจดหมายเหตุทูต วางตะเกียง ประมาณ ๒,๐๐๐ ชอ่ ง ต่อมาพระบาท ฝรง่ั เศส กลา่ วพรรณนาพระทน่ี งั่ วา่ “ตามผนงั ประดบั สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๔) โปรด ด้วยกระจกเงา” ซ่ึงน�ำมาจากฝรั่งเศส เพดานแบ่ง 10 ลพบุรี

เปน็ ชอ่ งสเี่ หลยี่ มจตั รุ สั สช่ี อ่ ง ประดบั ดว้ ยลายดอกไม้ พระนารายณ์ฯ ได้อย่างชัดเจนมาก เป็นตึกรูป ทองค�ำ และแก้วผลึกท่ีได้มาจากเมืองจีนงดงาม สีเ่ หลยี่ มผืนผา้ กวา้ ง ๑๐ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ยกพนื้ มาก”ผนังด้านนอกพระที่น่ังตรงมณฑปชั้นล่างเจาะ สูงขึ้นไปประมาณ ๑ เมตร ตัวตึกเป็นรูปทรงไทย เป็นช่องโค้งแหลมไว้ส�ำหรับวางตะเกียง ซ่ึงจะเห็น ฐานก่อด้วยอิฐศิลาแลงและก่ออิฐขึ้นมาอีกชั้นหน่ึง ไดอ้ ีกเป็นจำ� นวนมาก ตามซุม้ ประตแู ละกำ� แพงของ ปัจจบุ ันเหลอื แต่ประตูหน้าต่าง ทำ� เป็นซุ้มเรือนแกว้ พระราชวัง สมเดจ็ พระนารายณฯ์ เคยเสดจ็ ออกรบั ฐานสงิ ห์ ปัจจบุ นั คงปรากฏลายให้เห็นอยู่ ด้วยเหตุ คณะราชทูตฝร่ังเศส เชอวาลิเยร์ เดอ โชมองต์ ที่ ว่าภายในตึกมีฐานชุกชีปรากฏให้เห็นอยู่และชาว พระทน่ี ง่ั องคน์ ีเ้ มอ่ื พ.ศ. ๒๒๒๘ ด้วย ฝรง่ั เศสไดร้ ะบวุ า่ เปน็ วดั จงึ สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ หอพระ พระท่ีนั่งจันทรพิศาล สร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๒๐๘ ประจ�ำราชวัง ตึกพระเจ้าเหาหรือ “พระเจ้าหาว” เป็นท่ีประทับของสมเด็จพระนารายณ์ฯ ที่สร้างทับ (หาวเปน็ ภาษาไทยโบราณหมายถงึ ทอ้ งฟา้ ) ในปลาย ลงไปบนรากฐานเดิมของพระท่ีนั่งซ่ึงพระราเมศวร รชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ฯ พระเพทราชาและขุน โอรสองคใ์ หญข่ องพระเจา้ อทู่ องไดท้ รงสรา้ งเมอ่ื ครงั้ หลวงสรศกั ดิ์ ใชต้ กึ พระเจา้ เหา เปน็ ทน่ี ดั แนะประชมุ ครองเมอื งลพบุรี พระที่น่ังองคน์ ้เี ป็นสถาปตั ยกรรม ขนุ นางและทหารเพอ่ื แยง่ ชงิ ราชสมบตั ขิ ณะทส่ี มเดจ็ แบบไทยแท้ ด้านหนา้ มมี ุขเด็จ ภายหลงั เมื่อไดส้ รา้ ง พระนารายณฯ์ ทรงพระประชวรหนัก พระทน่ี ง่ั สทุ ธาสวรรคข์ น้ึ สมเดจ็ พระนารายณฯ์ ทรง ตึกรับรองแขกเมือง อยู่ในเขตพระราชฐานช้ันนอก ย้ายไปประทับท่ีพระที่นั่งองค์ใหม่และโปรดให้ใช้ ใกลก้ บั ตกึ หมสู่ บิ สองทอ้ งพระคลงั เปน็ สถาปตั ยกรรม พระท่ีน่ังจันทรพิศาลเป็นที่ออกขุนนาง ซึ่งตรงกับ แบบฝรัง่ เศสบนั ทึกของชาวฝร่งั เศสกล่าวว่า ตกึ หลัง บันทึกของชาวฝร่ังเศสว่าเป็นหอประชุมองคมนตรี นอี้ ยกู่ ลางอทุ ยานซงึ่ แบง่ เปน็ ชอ่ งสเี่ หลย่ี มจตั รุ สั รอบ ในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ทรงบูรณะพระที่นั่งองค์น้ีตาม ตึก มีคูน�้ำล้อมรอบ ภายในคูน้�ำมีน�้ำพุเรียงรายเป็น แบบของเดิม ปัจจุบันใช้จัดแสดงเร่ืองราวพระราช ระยะอยู่ ๒๐ แหง่ ดา้ นหนา้ ตกึ เลยี้ งรบั รองมรี ากฐาน ประวัติของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชและงาน เป็นอิฐแสดงให้เห็นว่าตึกหลังเล็ก ๆ คงจะเป็นโรง ประณีตศลิ ป์สมัยอยธุ ยาและรตั นโกสนิ ทร์ มหรสพ ซึ่งมีการแสดงให้แขกเมืองชมภายหลังการ พระที่น่ังสุทธาสวรรค์ เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ เล้ียงอาหาร สมเดจ็ พระนารายณฯ์ ไดพ้ ระราชทาน ของสมเด็จพระนารายณ์ ต้ังอยู่ในเขตพระราชฐาน เล้ียงแก่คณะทูตจากประเทศฝรั่งเศส ณ สถานที่น้ี ชั้นในบันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า “พระที่น่ัง เมื่อ พ.ศ. ๒๒๒๘ และ พ.ศ. ๒๒๓๐ องค์น้อี ยู่ในพระราชอุทยานทรี่ ม่ รนื่ ทรงปลูกพรรณ พระคลังศุภรัตน์ (หมู่ตึกสิบสองท้องพระคลัง) เป็น ไมต้ า่ ง ๆ ด้วยพระองคเ์ อง หลังคาพระท่นี ่งั มงุ ด้วย หมู่ตึกอยู่ระหว่างอ่างเก็บน�้ำประปาและตึกที่ใช้เป็น กระเบื้องเคลือบสีเหลืองที่มุมทั้งส่ี มีสระน�้ำใหญ่ส่ี สถานทพี่ ระราชทานเลย้ี งชาวตา่ งชาติ สรา้ งขน้ึ อยา่ ง สระ เป็นท่ีสรงสนามของพระเจ้าแผ่นดิน” สมเด็จ มีระเบียบด้วยอิฐสองแถวเรียงชิดติดกัน อาคารมี พระนารายณ์ฯ สวรรคต ณ พระที่น่งั องคน์ เี้ ม่ือวนั ท่ี ลักษณะค่อนข้างทึบมีถนนผ่ากลาง จ�ำนวน ๑๒ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๒๓๑ หลงั เขา้ ใจว่าเป็นคลงั เพ่อื เก็บสินค้าหรือเก็บสิ่งของ ตึกพระเจ้าเหา อยู่ทางด้านใต้ของเขตพระราชฐาน เพือ่ ใช้ในราชการ ชนั้ นอกตึกหลังน้ีเป็นสถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จ ลพบุรี 11

อ่างเก็บน�้ำหรือถังเก็บน้�ำประปา ก่อด้วยอิฐยกขอบ ทมี ดาบหรอื ทพ่ี กั ของทหารรกั ษาการณ์ เมอ่ื เดนิ ผา่ น เป็นก�ำแพงสูงหนาเป็นพิเศษตรงพ้ืนท่ีมีท่อดินเผาฝัง ประตทู างเขา้ เขตพระราชฐานชนั้ กลางขา้ งประตทู ง้ั ๒ อยเู่ พอื่ จา่ ยนำ�้ ไปใชต้ ามตกึ พระทนี่ ง่ั ตา่ ง ๆ โดยทอ่ ดนิ ดา้ น ตรงบรเิ วณสนามหญา้ จะแลเหน็ ศาลาโถงขา้ งละ เผาจากทะเลชบุ ศรและอา่ งซบั เหลก็ ตามบนั ทกึ กลา่ ว หลงั นนั่ คอื ตกึ ทสี่ รา้ งขน้ึ เพอ่ื เปน็ ทพี่ กั ของทหารรกั ษา ว่าระบบการจ่ายทดน�้ำเป็นผลงานของชาวฝร่ังเศส การณใ์ นเขตพระราชวัง และอติ าเลยี น โรงช้างหลวง ตั้งเรียงรายเป็นแถวชิดริมก�ำแพงเขต พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ พระราชฐานชั้นนอกด้านในสุดโรงช้างส่วนใหญ่ปรัก สร้างเมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๖ ไดร้ บั รางวลั อตุ สาหกรรมทอ่ ง หักพังเหลือแต่ฐานปรากฏให้เห็นประมาณ ๑๐ โรง เทยี่ วประจำ� ปี ๒๕๔๕ รางวลั ดเี ดน่ ประเภทแหลง่ ทอ่ ง ชา้ ง ซึง่ ยืนโรงในพระราชวงั คงเปน็ ชา้ งหลวงหรอื ชา้ ง เท่ียวทางศิลปวัฒนธรรม แบ่งอาคารจัดแสดงศิลปะ สำ� คญั สำ� หรบั ใชเ้ ปน็ พาหนะของสมเดจ็ พระนารายณฯ์ โบราณวัตถุเป็น ๔ อาคาร คือ เจา้ นายหรือขุนนางช้ันผู้ใหญ่ ๑. พระที่น่ังพิมานมงกุฎ จัดแสดงหลักฐาน โบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่พบจากแหล่ง สิ่งก่อสร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า โบราณคดลี ุ่มแม่นำ�้ เจ้าพระยา บรเิ วณภาคกลางของ เจา้ อยหู่ ัว ประกอบดว้ ย ประเทศไทยและแหลง่ โบราณคดี จงั หวดั ลพบรุ ี โครง หมพู่ ระทนี่ ง่ั พมิ านมงกฎุ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ กระดูกมนุษย์ ภาชนะดินเผา เตาดินเผา เคร่ืองมือ เจ้าอยู่หวั โปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างขึน้ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๐๕ เครื่องใช้ท�ำจากโลหะ ภาชนะส�ำริด เคร่ืองประดับ เพื่อเป็นท่ีประทับของพระองค์เม่ือครั้งเสด็จบูรณะ ทำ� จากหินและเปลือกหอย เป็นตน้ ภายในพระทนี่ งั่ เมืองลพบุรี ประกอบด้วยพระที่น่ัง ๔ องค์ คือ แบง่ เป็นหอ้ งต่าง ๆ ได้แก่ พระท่ีนั่งพิมานมงกุฎ เป็นที่ประทับพระที่น่ังวิสุทธิ - หอ้ งภาคกลางประเทศไทย พ.ศ. ๘๐๐ วนิ จิ ฉยั เปน็ ทอ้ งพระโรงเสดจ็ ออกวา่ ราชการแผน่ ดนิ - ๑๕๐๐ รบั อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมอินเดยี ทเี่ รยี กวา่ พระท่ีนั่งไชยศาสตรากรเป็นท่ีเก็บอาวุธ พระท่ีน่ัง สมยั ทวารวดี จัดแสดงเรื่องการเมือง การตง้ั ถ่ินฐาน อักษรศาสตราคม ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้ทรง เทคโนโลยีและการด�ำเนินชีวิต อักษร ภาษา ศาสน พระราชทานให้เป็นศาลากลางจังหวัด ต่อมาเม่ือ สถาน ศาสนาและความเชอ่ื หลกั ฐานทจ่ี ดั แสดง ไดแ้ ก่ ศาลากลางจังหวัดย้ายไปอยู่ท่ีใหม่ พระท่ีน่ังหมู่นี้จึง พระพทุ ธรูป พระพมิ พ์ดินเผา เหรยี ญตราประทบั ดนิ รวมกับพระท่ีนั่งจันทรพิศาล เป็นพิพิธภัณฑสถาน เผา จารึกภาษาบาลี สนั สกฤต และรูปเคารพตา่ งๆ แหง่ ชาตสิ มเด็จพระนารายณ์ - หอ้ งอทิ ธพิ ลศลิ ปะเขมร-ลพบรุ ี จดั แสดง หมู่ตึกพระประเทียบ อยู่บริเวณหลังพระท่ีนั่งพิมาน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ อายุราวพุทธศตวรรษ มงกฎุ ซงึ่ เปน็ เขตพระราชฐานฝา่ ยใน เปน็ ตกึ ชนั้ เดยี ว ท่ี ๑๕-๑๘ โบราณคดีสมัยชนชาติขอมแผ่อิทธิพล ๒ หลงั กอ่ ด้วยอิฐถือปนู สูง ๒ ชน้ั เรยี งรายอยู่ ๘ เข้าปกครองเมืองลพบุรี และบริเวณภาคกลางของ หลัง สร้างขึ้นเป็นท่ีพักของข้าราชการฝ่ายในท่ีตาม ประเทศไทย เช่น ทบั หลงั พระพุทธรปู ปางนาคปรก เสด็จรชั กาลท่ี ๔ เม่ือครงั้ เสดจ็ ประพาสเมอื งลพบรุ ี พระพทุ ธรูปปางประทานอภยั เปน็ ตน้ วัดนักบุญอนั นา หนองแสง 12 ลพบรุ ี

พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติสมเดจ็ พระนารายณ์ - หอ้ งประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะในประเทศไทย โปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งพระราชวัง ณ เมอื งลพบุรี เม่อื จัดแสดงศิลปกรรมที่พบตามภาคต่าง ๆ ของ พ.ศ. ๒๓๙๙ ไดแ้ ก่ ภาพพระบรมสาทิสลกั ษณ์ ฉลอง ประเทศไทย ต้ังแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๘ ท่ีเป็น พระองค์ เครอ่ื งใช้ แทน่ พระบรรทม เหรยี ญทอง และ ศิลปะแบบหริภุญไชย ศิลปะล้านนา ศิลปะสมัย จานชามมีรูปมงกุฎซึ่งเป็นพระราชลัญจกรประจ�ำ ลพบรุ ี เชน่ พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร พระพมิ พ์ และ พระองค์ เปน็ ต้น พระพุทธรูปสำ� ริดสมัยตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ๒. พระที่น่ังจันทรพิศาล เป็นลักษณะ - ห้องประวัติศาสตร์ศิลปกรรมสมัย สถาปัตยกรรมแบบทรงไทย จัดแสดงเร่ือง อยุธยา-รตั นโกสินทร์ ตงั้ แต่พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘-๒๔ ประวตั ศิ าสตร์ การเมือง สงั คม วัฒนธรรม และพระ ไดแ้ ก่ พระพุทธรูป เครอื่ งถ้วย เงนิ ตรา อาวธุ เครอื่ ง ราชประวตั ขิ องสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช และหอ้ ง เงนิ เครอ่ื งทอง และชน้ิ สว่ นสถาปตั ยกรรมปนู ปน้ั และ ดา้ นหลงั จดั แสดงงานประณตี ศลิ ปส์ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ไมแ้ กะสลกั ตา่ ง ๆ และกรุงรตั นโกสินทร์ - หอ้ งศลิ ปะรว่ มสมยั จัดแสดงภาพเขยี น ๓. หมตู่ กึ พระประเทยี บ (อาคารชวี ติ ไทยภาค และภาพพมิ พศ์ ลิ ปะรว่ มสมัยของศลิ ปินไทย กลาง) เป็นอาคารลักษณะสถาปัตยกรรมผสมแบบ - ห้องประวัติศาสตร์ การเมือง สังคม ตะวนั ตก จัดแสดงเร่ืองชีวติ ไทยภาคกลาง การด�ำรง วัฒนธรรม และพระราชประวัติของสมัยพระบาท ชีวิต ที่อยู่อาศัย เครื่องมือ เครื่องใช้ประกอบอาชีพ สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ซ่ึง ประมง การเกษตร และศิลปหตั ถกรรมพ้ืนบ้านของ ลพบุรี 13

วัดเสาธงทอง คนไทยภาคกลาง โดยเฉพาะจงั หวดั ลพบรุ ที ใ่ี ชใ้ นอดตี กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เมอื่ คราวเสดจ็ ตรวจการ จนถงึ ปัจจุบัน คณะสงฆ์ในมณฑลอยุธยาว่า วัดรวกมีโบสถ์ วัดเสา ๔. พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่ จัดแสดงหนังใหญ่ ธงทองมวี หิ าร สมควรจะรวมเปน็ วดั เดยี วกนั ทรงดำ� ริ เรื่องรามเกียรต์ิซึ่งมาจากวัดตะเคียน ต�ำบลท้าย เหน็ ชอบใหเ้ ปน็ วัดเดยี วกันและใหเ้ รียกช่ือว่า วดั เสา ตลาด อ�ำเภอเมืองลพบุรี พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ธงทอง วดั นีม้ โี บราณสถานที่น่าสนใจ คอื พระวิหาร สมเดจ็ พระนารายณฯ์ เปดิ ใหเ้ ขา้ ชมทกุ วนั ตงั้ แตเ่ วลา เดิมสร้างข้ึนเพ่ือเป็นศาสนสถานของศาสนาอ่ืน ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐น. เวน้ วนั จันทร์ องั คาร และวันหยุด เพราะจากแผนที่ของช่างชาวฝร่ังท�ำไว้ ระบุว่าพื้นที่ นักขตั ฤกษ์ อัตราคา่ เข้าชม ชาวไทย ๓๐ บาท ชาว บริเวณนี้เป็นท่ีพ�ำนักและประกอบพิธีทางศาสนา ตา่ งชาติ ๑๕๐ บาท สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๓๖๔๑ อิสลามของชาวเปอร์เซียก็เป็นได้ นอกจากน้ี ยังมี ๑๔๕๘ ตึกปิจู ตึกคชสารหรือตึกโคระส่าน เป็นตึกเก่า วดั เสาธงทอง อยบู่ นถนนฝรงั่ เศสซง่ึ ตดั เชอ่ื มระหวา่ ง สนั นษิ ฐานวา่ ใชเ้ ปน็ ทพี่ ำ� นกั ของแขกเมอื งและราชทตู พระนารายณ์ราชนิเวศน์ กับบ้านหลวงรับราชทูต ชาวเปอรเ์ ซยี เป็นวัดเก่าแก่เดิมแยกเป็นสองวัด คือ วัดรวก และ เทวสถานปรางค์แขก อยู่ใกล้กับพระนารายณ์ราช วัดเสาธงทอง พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เต นเิ วศน์ เปน็ ปรางคก์ อ่ ดว้ ยอฐิ มสี ามองค์ แตไ่ มม่ ฉี นวน ชะคุปต์) สมุหเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา ได้รายงาน ต่อเชื่อมกันเหมือนปรางค์สามยอด นักโบราณคดี กราบทูลเสนอความคิดต่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ก�ำหนดว่ามีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ เพราะมี 14 ลพบุรี

เทวสถานปรางคแ์ ขก ลกั ษณะคลา้ ยกบั ปรางค์ ศลิ ปะเขมรแบบพะโค (พ.ศ. ได้เข้ามารับราชการได้รับความดี ความชอบ และ ๑๔๒๕-๑๕๓๖) เปน็ ปรางคแ์ บบเกา่ ซง่ึ มปี ระตทู างเขา้ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น “เจ้าพระยาวิชาเยนทร์” แบบโค้งแหลม ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ โปรด และได้พระราชทานท่ีพักอาศัยทางทิศตะวันตกของ เกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งวหิ ารขน้ึ ดา้ นหลังและถงั เกบ็ น�้ำซงึ่ อยู่ บ้านหลวงรับราชทูต พื้นท่ีในบริเวณบ้านหลวงรับ ทางดา้ นทศิ ใตข้ องปรางคใ์ นสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ ราชทตู แบ่งออกเป็น ๓ สว่ น มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวิหาร - สว่ นทศิ ตะวนั ตก เปน็ อาคารทพ่ี กั อาศยั ของ ข้ึนด้านหน้า และถังเก็บน�้ำประปาทางด้านทิศใต้ คณะทูต ได้แก่ ตึกสองชั้นหลังใหญ่ก่อด้วยอิฐและ ของเทวสถาน อาคารช้ันเดียวแคบยาว ซมุ้ ประตูทางเขา้ เป็นรปู โค้ง ครึง่ วงกลม บ้านหลวงรับราชทูต หรือ บ้านหลวงวิชาเยนทร์ - ส่วนกลาง มีอาคารท่ีส�ำคัญ คือ ฐานของ อยู่บนถนนวิชาเยนทร์ หา่ งจากปรางคแ์ ขกประมาณ สง่ิ กอ่ สรา้ ง ซงึ่ เข้าใจว่าเปน็ หอระฆงั และโบสถ์ คริสต์ ๓๐๐ เมตร ทางทิศเหนือของพระนารายณ์ราช ศาสนา ซงึ่ อยทู่ างดา้ นหลงั ซมุ้ ประตทู างเขา้ เปน็ รปู จวั่ นเิ วศน์ สำ� หรับเปน็ ที่รองรบั ราชทตู ทีม่ าเฝา้ ฯสมเด็จ - ส่วนทิศตะวันออก ไดแ้ ก่ กลุ่มอาคารใหญ่ พระนารายณ์มหาราช ทเ่ี มืองลพบุรีคณะราชทูตจาก ๒ ชนั้ มบี นั ไดขน้ึ ทางดา้ นหนา้ เปน็ รปู โคง้ ครง่ึ วงกลม ประเทศฝร่ังเศสชุดแรกที่เข้ามาเม่ือปี พ.ศ. ๒๒๒๘ ซมุ้ ประตทู างเขา้ มลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั ทางทศิ ตะวนั ตก ได้พ�ำนัก ณ ที่แห่งนี้ ต่อมา คอนสแตนติน ฟอล คอน (Constantine Phaulkon) ซ่ึงเป็นชาวกรีก ลักษณะของสถาปัตยกรรมในบ้านหลวงรับราชทูต บางหลังเป็นแบบยุโรปอย่างแท้จริง โดยเฉพาะ ลพบรุ ี 15

บ้านหลวงวชิ าเยนทร์ 16 ลพบรุ ี

อาคารใหญ่ทางทิศตะวันออกก่ออิฐถือปูน ๒ ช้ัน ศาลหลักเมือง หรือ ศาลลูกศร อยู่ถนนสายริมน้�ำ หน้าต่างและซุ้มประตูแสดงให้เห็นถึงศิลปะตะวัน หลังวัดปืนใหญ่ใกล้กับบ้านวิชาเยนทร์ เป็นศาลเจ้า ตกแบบเรอเนสซองส์ ซึ่งเจริญแพร่หลายในสมัยน้ัน หลกั เมอื งโบราณท่เี รียกวา่ “ศาลลูกศร” ดว้ ยสมเดจ็ และท่ีสำ� คัญอาคารท่เี ป็นโบสถค์ รสิ ตศ์ าสนา ผงั และ พระบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ ไดท้ รง แบบของโบสถ์เป็นแบบยุโรป มีซุ้มหน้าต่างเป็นซุ้ม นิพนธ์เกี่ยวกับศาลลูกศรไว้ในต�ำนานเมืองลพบุรีว่า เรือนแก้วมีเสาปลายเป็นรูปกลีบบัวยาวท่ีเป็นศิลปะ หลกั เมอื งลพบรุ ี อยทู่ างตลาดขา้ งเหนอื วงั เรยี กกนั วา่ ไทย โบสถ์เหล่านี้ถือกันว่าเป็นโบสถ์คริสต์หลังแรก ศรพระราม จะมีมาแต่ก่อนสมยั ขอมฤาเม่ือคร้งั ขอม ในโลกที่ตกแต่งด้วยลักษณะของโบสถ์ทางพระพุทธ ทราบไมไ่ ดแ้ น่ ทเี่ รยี กกนั วา่ ศรพระรามนน้ั เกดิ แตเ่ อา ศาสนา เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์-อังคาร เรอ่ื งรามเกยี รตสิ์ มมตฐิ านเปน็ ตำ� นานของเมืองนี้ คอื ต้ังแต่เวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น. อตั ราคา่ เข้าชม ชาว เมอ่ื เสดจ็ ศกึ ทศกณั ฑพ์ ระรามกลบั ไปครองเมอื งอโยธ ไทย ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ๕๐ บาท สอบถามขอ้ มลู ยาแล้ว จะสร้างเมอื งประทานตรงน้นั ลูกศรพระราม ไดท้ ี่ ส�ำนักงานศลิ ปากรท่ี ๔ ลพบุร ี โทร. ๐ ๓๖๔๑ ไปตกบนภูเขาบันดาลให้ยอดเขานั้นราบลง หนุมาน ๒๕๑๐ , ๐ ๓๖๔๑ ๓๗๗๙ ตามไปถงึ จงึ เอาหางกวาดดนิ เปน็ กำ� แพงเมอื งหมายไว้ เป็นสำ� คญั แลว้ พระวิษณุกรรมลงมาสร้างเมือง ครน้ั ศาลหลักเมอื ง หรอื ศาลลกู ศร ลพบรุ ี 17

พระปรางค์สามยอด เสดจ็ แล้วพระรามจึงประทานนามวา่ “เมอื งลพบุร”ี ดา้ นหนา้ ทางทศิ ตะวนั ออกมวี หิ ารสรา้ งขน้ึ ในรชั สมยั ดว้ ยเหตนุ จี้ งึ อา้ งกนั มากอ่ นวา่ หลกั เมอื งนนั้ คอื ลกู ศร สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู พระรามทกี่ ลายเปน็ หนิ และเนนิ ดนิ ตามกำ� แพงเมอื ง ศลิ าขนาดใหญป่ างสมาธทิ ีส่ มบูรณด์ ี เปน็ ศิลปะแบบ ท่ียังปรากฏอยู่เป็นของหนมุ านทีเ่ อาหางกวาดท�ำไว้ สมัยอยุธยาตอนต้น อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ พระปรางค์สามยอดน้ีเดิมเป็นเทวสถานของขอม พระปรางค์สามยอด อยู่บนเนินดินทางด้านตะวัน ในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ต่อมาได้ดัดแปลงเป็น ตกของทางรถไฟใกล้กับศาลพระกาฬ มีลักษณะเปน็ เทวสถานที่มีฐานศิวลึงค์ปรากฏอยู่ในองค์ปรางค์ท้ัง ปรางคเ์ รยี งตอ่ กนั ๓ องค์ มฉี นวนทางเดนิ เชอื่ มตดิ ตอ่ สามปรางค์ จนกระทงั่ ถงึ รชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณฯ์ กนั พระปรางคส์ ามยอดเปน็ ศลิ ปะเขมรแบบบายน ซงึ่ จึงได้บูรณะปฏิสังขรณ์พระปรางค์สามยอดเป็นวัด มีอายุราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ สร้างดว้ ยศลิ าแลงและ ในพระพุทธศาสนา แล้วสร้างพระวิหารก่อด้วยอิฐ ตกแต่งลวดลายปูนปั้นท่ีสวยงาม เสาประดับกรอบ ลกั ษณะสถาปัตยกรรมแบบอยธุ ยาผสมแบบยุโรปใน ประตูแกะสลักเป็นรูปฤาษีน่ังชันเข่าในซุ้มเรือนแก้ว สว่ นของประตแู ละหนา้ ตา่ ง ภายในวหิ ารประดษิ ฐาน ซงึ่ เปน็ แบบเฉพาะของ เสาประดบั กรอบประตศู ลิ ปะ พระพทุ ธรปู หนิ ทรายปางมารวชิ ยั ศลิ ปะอยธุ ยาตอน เขมรแบบบายน ปรางคอ์ งคก์ ลางมฐี าน แตเ่ ดมิ เปน็ ที่ ต้น ปัจจุบันยังคงประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง เปิดให้ ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู และมเี พดานไมเ้ ขยี นลวดลาย เขา้ ชมต้งั แต่เวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐น. เวน้ วันจนั ทร์- เป็นดอกจนั สีแดง อังคาร อัตราค่าเข้าชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวตา่ ง ชาติ ๕๐ บาท 18 ลพบุรี

ศาลพระกาฬ อยรู่ มิ ทางรถไฟดา้ นทศิ ตะวนั ออกของ สมเด็จพระนารายณ์ฯ เป็นผู้บูรณะจึงเรียกว่า “วัด พระปรางค์สามยอด ต�ำบลท่าหิน เป็น เทวสถาน นครโกษา”ตามราชทินนามนั่นเอง สอบถามข้อมูล เก่าของขอม เดิมเรียกว่า “ศาลสูง” ท่ีทับหลังท�ำ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐, ๐ ๓๖๔๑ ๓๗๗๙ ด้วยศิลาทรายสลักเป็นรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ อายุราวศตวรรษที่ ๑๖ วางอยู่ติดฝาผนังวิหารหลัง วัดสันเปาโล อยู่บนถนนร่วมมิตร ทางเข้าวิทยาลัย เล็กชั้นบน ณ ที่นี้ได้พบหลักศิลาจารึกแปดเหลี่ยม นาฏศิลป์ลพบุรี เป็นวัดของบาทหลวงเยซูอิต สร้าง จารึกอักษรมอญโบราณด้วย ส่วนด้านหน้าเป็นศาล ขน้ึ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณฯ์ ปจั จบุ นั คงเหลอื ทส่ี รา้ งข้นึ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๔ โดยสร้างทับบนรากฐาน แตเ่ พยี งผนงั ดา้ นหนง่ึ และหอดดู าว บรเิ วณโดยรอบมี เดมิ ท่สี รา้ งไวใ้ นรัชสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ต้นไม้ใหญ่รม่ รน่ื คำ� วา่ “สันเปาโล” คงพีย้ นมาจาก ภายในวหิ ารประดษิ ฐานพระนารายณย์ นื ทำ� ดว้ ยศลิ า ค�ำว่าเซ็นตปอลหรือเซ็นเปาโล ชาวบ้านมักเรียกว่า ๒ องค์ องค์เล็กเป็นแบบเทวรูปเก่าในประเทศไทย “ตกึ สนั เปาหล่อ” องค์ใหญ่เป็นประติมากรรมแบบลพบุรีแต่พระเศียร เดิมหายไป ภายหลังมีผู้น�ำเศียรพระพุทธรูปศิลา ทรายสมยั อยธุ ยามาสวมไว้ เปน็ ทเี่ คารพสกั การะของ ประชาชนทว่ั ไป ในบริเวณรอบศาลพระกาฬร่มรื่น ด้วยต้นไม้ใหญ่ จึงเป็นท่ีอยู่อาศัยของฝูงลิงซ่ึงเป็น สญั ลกั ษณอ์ กี อยา่ งหนงึ่ ของจงั หวดั ลพบรุ ี เมอื่ มคี นนำ� อาหารและผลไมม้ าแกบ้ นทศี่ าลพระกาฬลงิ ปา่ เหลา่ นน้ั ไดเ้ ขา้ มากนิ อาหาร จงึ เชอ่ื งและคนุ้ เคยกบั คนมาก วัดนครโกษา อยู่ทางตอนเหนือของสถานีรถไฟ ศาลพระกาฬ ลพบุรีใกล้กับศาลพระกาฬ มีซากโบราณสถาน คือ เจดีย์องค์ใหญ่สมัยทวารวดี พระปรางค์สมัย ลพบุรีในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๗ อยู่ด้านหน้า แต่ พระพุทธรูปปูนปั้นแบบอู่ทองบนปรางค์น้ันสร้างข้ึน ภายหลงั และยังพบเทวรูปขนาดใหญม่ รี อ่ งรอยการ ดดั แปลงเป็นพระพทุ ธรปู ๒ องค์ ปัจจบุ นั เกบ็ รักษา ไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ เทวสถานแห่งน้ีภายหลังสร้างเป็นวัดขึ้นในสมัย อยุธยา ดังจะเห็นได้จากซากวิหารเหลือซึ่งเหลือ แต่ผนัง และเสาอยู่ทางด้านหน้าและมีเจดีย์สูง ก่อด้วยอิฐอยู่เบื้องหลัง ค�ำว่า “วัดนครโกษา” มี ผูส้ ันนิษฐานว่าเจา้ พระยาโกษาธิบดี (เหลก็ ) ในสมยั ลพบุรี 19

วัดมณีชลขณั ฑ์ วัดตองปุ วดั มณชี ลขณั ฑ์ สรา้ งขน้ึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๔ แหง่ กรงุ วัดตองปุ อยหู่ ลงั โรงเรยี นพิบูลวิทยาลยั ต�ำบลทะเล รัตนโกสินทร์ อยู่ทางทิศตะวันตกของตลาดท่าโพธ์ิ ชุบศร เปน็ วัดเกา่ แกท่ ่มี ีความส�ำคัญวัดหนงึ่ ในอดตี วดั นแ้ี บง่ เปน็ สองสว่ น เพราะมถี นนตดั ตรงกลางพอดี เคยเป็นที่ชุมนุมกองทัพไทยในวัดตองปุนี้มีโบราณ มโี บราณสถานทนี่ า่ สนใจ คอื พระเจดยี ร์ ปู ทรงแปลก สถานและโบราณวัตถุที่น่าสนใจหลายอย่าง เช่น คอื กอ่ เปน็ เหลยี่ มสงู ชะลดู ขนึ้ ไปคลา้ ยกบั เจดยี เ์ หลยี่ ม พระอโุ บสถทรงไทยท่ีมีฐานอ่อนโค้ง วหิ ารมีลกั ษณะ สมยั เชียงแสน (ล้านนา) แต่ตรงมมุ มกี ารยอ่ มมุ ไม้สบิ เป็นสถาปัตยกรรมแบบสมัยสมเด็จพระนารายณ์ สองท�ำเป็นสามชั้นมีซุ้มประตูยอดแหลมอยู่ด้านข้าง มหาราช คือ หน้าต่างและประตูเป็นช่องโค้งแหลม ท้ังสี่ด้านทุกชั้น นอกจากนี้ภายในวัดยังมีต้นโพธ์ิซ่ึง เป็นต้น นอกจากน้ียังมีเจดีย์ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกับ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเพาะ เจดยี ห์ ลวงพอ่ แสงวดั มณชี ลขณั ฑ์ แตม่ ขี นาดเลก็ กวา่ เมลด็ นำ� มาปลกู ไว้ และยงั มโี บราณวตั ถทุ ส่ี ำ� คญั เหลอื อยเู่ พยี งชนิ้ เดยี วใน เมืองไทย คือ ที่สรงนำ้� พระโบราณ หรอื ท่เี รียกกันวา่ น�้ำพุสรงน�้ำพระ เก็บรักษาไว้ท่ีวัดแห่งนี้ นอกจากนี้ 20 ลพบรุ ี

พระธาตทุ า่ อุเทน วดั กวิศรารามราชวรวหิ าร ยังมี หอไตร คลัง และหอระฆังที่ควรชม สอบถาม ศราราม อนั มีความหมายว่า วัดของพระเจ้าแผน่ ดิน ข้อมูล โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๑๙๘ กล่าวกันว่าเป็นที่ท�ำพิธีถือน้�ำพิพัฒน์สัตยาในสมัย วัดกวิศรารามราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวง นั้น ภายในวัดมีพระอุโบสถมีประตูทางเข้าออกทาง ชั้นตรีชนิดวรวิหาร อยู่ถนนเพทราชา ต�ำบลท่าหิน เดียวกัน หน้าต่างเจาะเป็นช่อง ศิลปะแบบอยุธยา ติดกับพระนารายณ์ราชนิเวศน์ทางด้านทิศใต้ จาก มีมุขเด็จอยู่ด้านหน้าที่รัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดฯ ให้ ตำ� นานกลา่ วกันว่า เดมิ ชือ่ วดั ขวดิ และในประกาศ ต่อออกมาและขยายพัทธสีมาให้ใหญ่กว่าเดิม พระ เร่ืองพระนารายณ์ราชนิเวศน์ กล่าวว่า สมัยรัชกาล ประธานเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยศิลปะอู่ทอง ท่ี ๔ ได้ทรงโปรดพระราชทานนามให้เรียกว่า วัด มีจิตรกรรมฝาผนังเป็นลายรูปดอกไม้ นอกจากนี้ กระวิศราราม ต่อมาได้รับปฏิสังขรณ์เพ่ิมเติมใน ยังมีเจดีย์ทรงกลมบนฐานเหล่ียมองค์ใหญ่อยู่ด้าน สมัยรชั กาลท่ี ๕ และใน พ.ศ. ๒๔๘๑ พระกติ ตญิ าณ หลังพระอุโบสถและหมู่กุฏิซึ่งเป็นฐานในรัชกาลที่ มนุ ี เจ้าอาวาสในขณะน้ันได้ขอเปลีย่ นช่อื เปน็ วัดกวิ ๔ ตลอดจนหอพระไตรปิฎกท่ีสวยงามอยู่ภายในวัด สอบถามขอ้ มูล โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๕๙๓ ลพบรุ ี 21

พพิ ธิ ภณั ฑ์หอโสภณศิลป์ วัดเชิงท่า อยู่ริมฝั่งแม่น�้ำลพบุรีทางทิศตะวันออก พพิ ิธภณั ฑห์ อโสภณศลิ ป์ เป็นพิพธิ ภัณฑท์ ่ีจัดแสดง พ้ืนที่ด้านหน้าติดพระราชวัง “พระนารายณ์ราช เร่ืองประวัติวัดเชิงท่า พระสงฆ์ พระธรรมและ นเิ วศน”์ ด้านทศิ ตะวนั ตกหันหน้าสูแ่ ม่น�ำ้ ลพบุรี เดิม พระพุทธ สาระส�ำคัญของการจัดแสดงเกี่ยวข้อง ชอื่ วดั ทา่ เกวยี น ดว้ ยเปน็ ทา่ ของเกวยี นลำ� เลยี งสนิ คา้ กับความรู้ทางพุทธศาสนาอันเป็นเร่ืองเกี่ยวกับ ขนส่งมาลงที่ท่าน�้ำหน้าวัดแห่งน้ี ภายในวัดเชิงท่ามี พระรัตนตรัย อันเป็นแก้วสามประการท่ีหมายถึง อาคารส�ำคัญสร้างต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลายจน พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ นอกจากน้ียัง กระท่ังถึงสมัยรัตนโกสินทร์และได้ข้ึนทะเบียนเป็น แสดงอัฐบริขารและเครื่องใช้ในพุทธศาสนาที่ส�ำคัญ โบราณสถานทส่ี ำ� คญั ของชาติ ไดแ้ ก่ พระอโุ บสถ พระ แสดงให้เห็นถึงความศรัทธาของพุทธศาสนิกชนที่มี เจดยี ์ประธานของวดั กฏุ สิ งฆ์แบบตกึ สองชน้ั ทรงเก๋ง ตอ่ พระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนา ไดแ้ ก่ ไตร จวี ร บาตร จนี ศาลาตรมี ขุ อาคารโวทานธรรมสภา หอระฆงั และ ตาลปัตร เคร่อื งเคลอื บ ธรรมมาสน์ ตูพ้ ระไตรปฎิ ก ศาลาการเปรยี ญ ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ ศลิ ปกรรมทที่ รงคณุ คา่ ตเู้ กบ็ คัมภีร์ ภาพพระบฎ มหาเวสสันดรชาดก และ และสวยงามแหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั ลพบุรี พระพุทธเจ้าในอนาคต ได้แก่ พระศรีอริยเมตไตร สอบถามข้อมูล โทร. ๐๘ ๙๘๐๒ ๔๒๑๑ 22 ลพบรุ ี

สวนสตั วล์ พบรุ ี อยูห่ ่างจากวงเวยี นสระแกว้ ไปทาง พระท่ีนงั่ ไกรสรสหี ราช (พระทน่ี งั่ เย็นหรือตำ� หนัก ทิศตะวันออก ประมาณ ๑ กิโลเมตร สร้างขึ้นเมื่อ ทะเลชุบศร) อยู่ที่ต�ำบลทะเลชุบศร เป็นท่ีประทับ ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ สมัยท่จี อมพล ป.พิบลู สงคราม เปน็ ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช องค์พระท่ีน่ังตั้ง นายกรัฐมนตรี ได้มุ่งพัฒนาเมืองลพบุรีให้เป็นเมือง อยูบ่ นเกาะกลางทะเลชุบศร ในสมัยโบราณเป็นอา่ ง ส�ำคัญโดยได้กอ่ สร้างสง่ิ ต่าง ๆ มากมายรวมทัง้ สวน เกบ็ นำ้� ขนาดใหญท่ ม่ี เี ขอ่ื นหนิ ถอื ปนู ลอ้ มรอบ สมเดจ็ สัตว์แห่งนี้ด้วย ต่อมาเม่ือสิ้นยุคสมัยของจอมพล พระนารายณฯ์ โปรดใหส้ รา้ งขน้ึ เพอื่ ทรงสำ� ราญพระ ป.พิบูลสงคราม สวนสัตว์ก็ถูกทอดท้ิงและร้างไปใน ราชอิริยาบถ บันทึกของชาวฝร่ังเศสกล่าวว่า เม่ือ ที่สุด ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ศูนย์สงครามพิเศษ สมเดจ็ พระนารายณ์ ประพาสปา่ ลา่ ชา้ ง บรเิ วณภเู ขา ไดร้ ่วมมอื กับหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ชมรม สโมสร พอ่ ค้า ทางทิศตะวันออก แล้วจะกลับเข้าเสด็จประทับ ณ ประชาชน ด�ำเนินการปรับปรุงบูรณะสวนสัตว์ข้ึน พระทน่ี ง่ั องคน์ ้ี พระทนี่ งั่ เยน็ สรา้ งขนึ้ ในปใี ดไมท่ ราบ ใหม่ให้เป็นที่ส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจและเป็นแหล่ง แนช่ ดั แตจ่ ากการทพ่ี ระนารายณไ์ ดท้ รงตอ้ นรบั พระ ส�ำหรับศึกษาหาความรู้ในเรื่องสัตว์และพืชนับเป็น ราชอาคันตุกะจากประเทศฝรั่งเศส ณ พระท่ีน่ัง สวนสตั วท์ ม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณพ์ อควรแกก่ ารบรกิ าร น้ี จึงเป็นหลักฐานท่ีแน่ชัดว่าพระที่น่ังเย็นได้สร้าง ประชาชนในทอ้ งถนิ่ สวนสตั วแ์ หง่ นเ้ี ปดิ บรกิ ารทกุ วนั กอ่ น พ.ศ. ๒๒๒๘ ลักษณะทางสถาปตั ยกรรม เป็น เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น. อตั ราคา่ เขา้ ชม ผู้ใหญ่ ๒๐ พระท่ีน่ังช้ันเดียวก่ออิฐถือปูนมีผนังเป็นทรงจัตุร บาท เดก็ ๑๐ บาท รถยนต์ ๑๐ บาท จกั รยานยนต์ ๕ มุข ตรงมุขหน้าเป็นมุขเด็จย่ืนออกมา และมีสีห บาท สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๕๕๑ บัญชรกลางมุขส�ำหรับสมเด็จพระนารายณ์ฯ เสด็จ สระแก้ว อยู่กลางวงเวียนศรีสุริโยทัย หรือวงเวียน ออก ซมุ้ หน้าต่าง และซุ้มประตูท�ำเป็นซมุ้ เรอื นแก้ว สระแก้ว ถนนนารายณ์มหาราช กลางสระมีส่ิง เป็นแบบแผนท่ีนิยมท�ำกันมากในสมัยสมเด็จพระ ก่อสร้างรูปร่างคล้ายเทียนขนาดยักษ์ อยู่บนพาน นารายณ์ฯ สภาพปัจจุบันเหลือแต่ผนัง ในบริเวณ ขนาดใหญ่รอบขอบพานประดับเครื่องหมาย พระท่ีน่ังเย็นมีอาคารเล็ก ๆ ก่อด้วยอิฐซ่ึงท�ำประตู กระทรวงต่าง ๆ มีสะพานเชื่อมโยงถึงกันโดยรอบ หน้าต่างเป็นแบบโค้งแหลม เข้าใจว่าคงเป็นที่พัก ทั้ง ๔ ทิศ ท่ีเชิงสะพานมีคชสีห์ในท่าน่ังหมอบอยู่ ทหาร ด้านหน้าและด้านหลังพระที่นั่งมีเกยทรงม้า สะพานละ ๒ ตัว หรือช้างด้านละแห่งพระที่นั่งเย็นมีความส�ำคัญทาง วดั ชปี า่ สติ าราม อยรู่ มิ ถนนนารายณม์ หาราช ตำ� บล ดาราศาสตร์ในฐานะที่สมเด็จพระนารายณ์ฯใช้เป็น ทะเลชุบศร ไม่ปรากฏว่าสร้างในสมัยใด ภายในวัด สถานท่สี ำ� รวจจนั ทรุปราคา เม่ือวันที่ ๑๑ ธันวาคม มีเจดีย์ทรงระฆังศิลปะอยุธยา และมีการรักษาโรค พ.ศ. ๒๒๒๘ และทอดพระเนตรสุริยปุ ราคา เมอ่ื วนั ด้วยการอบสมนุ ไพร และนวดแผนโบราณโดยชมรม ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๒๓๑ ร่วมกับบาทหลวงเยซูอิต สมนุ ไพร เปดิ บรกิ ารทกุ วนั เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. และบุคคลในคณะทูตชุดแรกที่พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๗๖๓ แหง่ ประเทศฝร่งั เศส ส่งมาเจรญิ สัมพนั ธไมตรเี หตุท่ี ได้ใช้พระทีน่ ่งั เย็นเป็นท่ีส�ำรวจจนั ทรุปราคามบี ันทึก ของชาวฝรงั่ เศสกลา่ ววา่ เปน็ ทเ่ี หมาะสมสามารถมอง ลพบุรี 23

พระที่นง่ั ไกรสรสีหราช ท้องฟา้ ได้ทุกด้าน และมพี นื้ ทกี่ วา้ งมากพอสำ� หรับท่ี ยาววางบนขาตั้งทอดพระเนตรดวงจันทร์จากสีห จะตดิ ตง้ั เครือ่ งมือ ยงั มีภาพการส�ำรวจจนั ทรปุ ราคา บัญชรของพระที่น่ังเย็น และตรงเฉลียงสองข้างสีห ท่ีพระที่น่ังเย็นซึ่งชาวฝร่ังเศสวาดไว้ เป็นรูปสมเด็จ บัญชรด้านหน่ึงมีขุนนางหมอบกราบ อีกด้านหน่ึงมี พระนารายณ์ฯ ทรงสวมลอมพอก ทรงกล้องส่อง นกั ดาราศาสตรก์ ำ� ลงั สงั เกตการณโ์ ดยใชก้ ลอ้ งสอ่ ง จงึ 24 ลพบุรี

กลา่ วไดว้ า่ การศกึ ษาวชิ าดาราศาสตรส์ มยั ใหมเ่ กดิ ขนึ้ ปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ริมแม่น�้ำลพบุรี ศาลาหลังนี้ได้รับ ครั้งแรกในประเทศไทย ณ พระท่นี ัง่ เย็น เมืองลพบรุ ี รางวลั อนุรักษส์ ถาปตั ยกรรมดีเดน่ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ น้ีเอง ส่วนทะเลชุบศรในสมัยโบราณนั้นเป็นที่ลุ่ม มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมแบบศาลาวัดในชนบท น�้ำขังสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงพระกรุณา ของภาคกลาง ผู้สร้างได้จ�ำลองแบบมาจากภาพ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างท�ำนบใหญ่กั้นน�้ำไว้ เพื่อชักน�้ำ ศาลาที่อยู่ด้านหลังธนบัตรใบละ ๑ บาท ที่พิมพ์ใน จากทะเลชุบศรผ่านท่อน�้ำดินเผาไปยังเมืองลพบุรี สมัยรัชกาลท่ี ๘ ซ่ึงนับวันจะหาดูได้ยาก ต่อมาได้ ปจั จบุ ันยังเหน็ เป็นสนั ดินปรากฏอยู่ อตั ราคา่ เขา้ ชม มีการบูรณะซ่อมแซมแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ๕๐ บาท สอบถาม โครงการพิพิธภัณฑ์เรือพื้นบ้านจึงได้เกิดขึ้นและนับ ข้อมลู ได้ท่ี ส�ำนักงานศลิ ปากรที่ ๔ โทร. ๐ ๓๖๔๑ เปน็ พิพิธภัณฑ์เรือพน้ื บา้ นแหง่ แรกของประเทศไทย ๓๗๗๙, ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐ การเดนิ ทาง ใชเ้ สน้ ทางสายลพบรุ ี - บางปะหนั (ถนน พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนารายณ์ เลยี บคลองชลประทาน) จนถงึ หลกั กิโลเมตรท่ี ๙ วดั มหาราช อยู่กลางวงเวียนเทพสตรีใกล้ศาลากลาง จะอยู่ด้านขวามือ จังหวดั ลพบุรี บริเวณหัวถนนนารายณ์มหาราชกอ่ น วัดสิริจันทรนิมิตรวรวิหาร (วัดเขาพระงาม) วัดน้ี เข้าสู่ย่านกลางเมือง อนุสาวรีย์สมเด็จพระนารายณ์ เดิมเปน็ วัดรา้ ง สร้างมาแตเ่ มื่อใดไม่มปี รากฏ ต่อมา มหาราช เป็นรูปปั้นในท่าประทับยืนผินพระพักตร์ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ พระอมุ าลคี ณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ ิ ไปทางทิศตะวันออกพระหัตถ์ขวาทรงพระแสงดาบ จนั โท) เจา้ อาวาสวดั บรมนวิ าส กรงุ เทพฯ กบั พระสงฆ์ กา้ วพระบาทซ้ายออกมาขา้ งหน้าเล็กนอ้ ย พระบาท อีกรูปได้ธุดงค์มาพักที่วัดนี้ เห็นว่ามีภูมิประเทศดีจึง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพิธีเปิดเม่ือวัน ไดส้ ร้างพระพุทธรูปทีเ่ ขาน้ี เป็นพระพทุ ธรปู ทีม่ ีหน้า ที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๐๙ ทฐ่ี านอนสุ าวรีย์ไดจ้ ารึก ตักกว้าง ๑๑ วา สูงจากหนา้ ตกั ถึงยอดพระเศียร ๑๘ ขอ้ ความวา่ “สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช พระมหา วา เส้นพระศกทำ� ดว้ ยไหกระเทยี ม เมือ่ สร้างเสร็จได้ กษตั รยิ ไ์ ทยผยู้ ง่ิ ใหญพ่ ระองคห์ นงึ่ ทรงพระราชสมภพ ถวายพระนามว่า “พระพุทธนฤมิตมัธยมพุทธกาล” ณ กรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๒๑๗๕ สวรรคต ณ เมอื งลพบรุ ี ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๙ จึงเปล่ียนนามใหม่ว่า เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๓๑” “พระพุทธปฏิภาคมัธยมพุทธกาล (หลวงพ่อใหญ่)” วดั ยาง ณ รงั สี และพพิ ิธภัณฑเ์ รือพื้นบา้ น อย่หู มู่ จนถงึ ทกุ วนั น้ี สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๓๖๔๘ ๖๒๐๑ ที่ ๒ ตำ� บลตะลงุ รมิ ฝง่ั แมน่ ำ�้ ลพบรุ ี ดา้ นทศิ ตะวนั ตก การเดินทาง ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข ๑ (ลพบุรี- เดมิ เรยี กวา่ วัดพญายาง เนอ่ื งจากภายในบริเวณวัด โคกส�ำโรง) ระยะทางประมาณ ๑๒ กิโลเมตร จาก มตี น้ ยางยกั ษใ์ หญต่ ระหงา่ นเปน็ สญั ลกั ษณท์ า่ มกลาง ศาลากลางจงั หวัดลพบุรี เมือ่ เดินทางเขา้ ใกลบ้ รเิ วณ ดงต้นยาง เดมิ ชอื่ วัดยางศรีสุธรรมาราม แล้วเปล่ียน วัดจะแลเห็นพระพุทธรูปสีขาวเด่นตระหง่านอยู่บน เป็นวัดยาง ณ รังสี จนถึงปัจจุบัน ส่วนพิพิธภัณฑ์ เชิงเขา มีรถโดยสารประจ�ำทางสายลพบุรี-เขาพระ เรือพื้นบ้าน อยู่ท่ีศาลาการเปรียญไม้ สร้างข้ึนเม่ือ งาม-ศนู ยก์ ารบนิ ผา่ นหนา้ วดั เรม่ิ ตง้ั แตเ่ วลา ๐๖.๐๐- ลพบุรี 25

เขาวงพระจันทร์ ๑๗.๐๐ น. ต้นทางอยู่ทีว่ ัดพรหมมาสตร์ สามารถข้ึน การเดินทาง ใช้เส้นทางเลียบคลองชลประทาน รถไดด้ ้านขา้ งวังนารายณ์ฯ (สะพาน ๖ - อ�ำเภอบ้านหมี่) จนถึงสถานีรถไฟท่า แค เล้ยี วขวาขา้ มสะพานประมาณ ๑ กิโลเมตร วัด หอไตรวัดท่าแค อยู่ภายในวัดท่าแค เป็นหอไตรท่ี ท่าแคอยู่ทางด้านซ้ายมือ นอกจากนี้ยังมีรถโดยสาร เก็บพระธรรมของชุมชน “ลาวหล่ม” โดยปกติจะ ประจ�ำทางสายลพบรุ -ี วดั ทา่ แค บรกิ ารระหวา่ งเวลา สร้างบนเสาสูงในสระน�้ำ แต่หอไตรท่ีวัดท่าแคนี้ มี ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. ลักษณะแปลกกว่าท่ีอ่ืน คือ สร้างเป็นเรือนไม้ทรง จตรุ มุข ตั้งอยู่บนเสาสูง หลังคามงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งวา่ ว อ่างเกบ็ นำ้� ซับเหล็ก เปน็ อา่ งเก็บน�้ำธรรมชาติทม่ี มี า และมหี ลงั คารปู หอคอยอยกู่ ง่ึ กลาง เลยี นแบบหลงั คา แต่โบราณ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ ทรงโปรด ทรงปราสาท เครือ่ งบน และซุ้มระเบียง ตกแตง่ ดว้ ย ให้ช่างชาวฝรั่งเศสและอิตาเลียนเป็นผู้วางท่อส่งน�้ำ แผ่นไม้แกะสลักแบบตะวันตกท�ำให้ดูอ่อนช้อยและ ในเขตพระราชฐาน เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ สมัยจอมพล โปร่งตา ส่วนบานเฟี้ยมที่ใช้ก้ันผนังห้องเป็นลายไม้ ป. พบิ ูลสงคราม เป็นนายกรฐั มนตรี ไดใ้ หส้ รา้ งเขื่อน สลักเป็นภาพสัญลักษณ์มงคลของจีน ผนังบางส่วน ดินกั้นน�้ำเพื่อเก็บน�้ำไว้ใช้เพ่ือการเกษตร ต่อมาในปี ตดิ กระจกสเี ปน็ ชอ่ งใหแ้ สงลอดมาได้ สอบถามขอ้ มลู พ.ศ. ๒๕๒๐ จังหวัดลพบุรีได้ปรับปรุงอ่างซับเหล็ก โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๗๐๙๔ ให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติโดยท�ำถนนโดย รอบ ปลกู ตน้ ไม้ และสรา้ งศาลาพกั ร้อน 26 ลพบุรี

การเดินทาง จากศาลากลางจงั หวดั ลพบรุ ไี ปทางทิศ การเดินทาง จากสถานีขนส่งผโู้ ดยสารจังหวดั ลพบรุ ี ตะวนั ออก ประมาณ ๑๖ กโิ ลเมตร น่ังรถโดยสาร สายลพบรุ ี - โคกส�ำโรง ผา่ นทางหนา้ อ�ำเภอโคกสำ� โรง วัด และเหมารถรับจ้างจากปากทางเข้าวัดไปอีก เขาวงพระจนั ทร์ บรเิ วณเชงิ เขาเปน็ ทตี่ ง้ั ของวดั เขาวง ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร พระจันทร์ จะมีทางบันไดขึ้นสู่ยอดเขาประมาณ อ�ำเภอชยั บาดาล ๓,๗๙๐ ขนั้ ยอดเขานสี้ งู จากระดบั นำ้� ทะเล ประมาณ สวนรกุ ขชาตนิ ำ้� ตกวังกา้ นเหลอื ง อยู่หมู่ที่ ๔ ต�ำบล ๖๕๐ เมตร ถ้าวัดจากเชิงเขาถึงยอดเขาโดยแนว ทา่ ดนิ ดำ� นำ้� ตกนม้ี นี ำ้� ไหลตลอดทงั้ ปเี นอื่ งจากมตี น้ นำ้� บันไดจะยาว ๑,๖๘๐ เมตร ใช้เวลาเดินทางจาก เกิดจากตาน้�ำใต้ดินขนาดใหญ่ ซ่ึงอยู่ทางทิศตะวัน เชงิ เขาถงึ ยอดเขา ประมาณ ๒ ชั่วโมง สองขา้ งทาง ออก ห่างจากน�้ำตก ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร จะเต็มไปด้วยป่าไม้ขึ้นสลับซับซ้อนเต็มไปหมดบาง การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองลพบุรี ใช้ทางหลวง แห่งจะเป็นที่ลาดบางแห่งจะเป็นท่ีชัน เม่ือขึ้นไปถึง หมายเลข ๒๐๕ (สายลพบรุ ี - โคกสำ� โรง – ชยั บาดาล) ยอดเขาวงพระจนั ทรจ์ ะมองเห็นทิวทัศน์เบื้องล่างได้ ถึงบริเวณที่บรรจบกับทางหลวงหมายเลข ๒๑ แล้ว ไกลสดุ สายตา ต่อเข้าทางหลวงหมายเลข ๒๐๘๙ ไปอ�ำเภอท่า สวนรกุ ขชาตนิ �้ำตกวงั กา้ นเหลือง ลพบรุ ี 27

หลวง ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร เลยี้ วซา้ ยเขา้ ไปน้ำ� ตก การเดินทาง จากกรุงเทพฯ ใช้เส้นทางพหลโยธิน ประมาณ ๗ กโิ ลเมตร น้ำ� ตกอยทู่ างขวามือ โทร. ๐ หมายเลย ๑ ผ่าน อำ� เภอวงั นอ้ ย – อำ� เภอหนองแค ๓๖๓๔ ๗๑๐๕ – ๖ ไปทางจังหวัดสระบุรี ก่อนถึงตัวเมืองสระบุรีเล้ียว ซา้ ยใช้ถนนเลยี่ งเมืองสระบุรี - ลพบุรี เพชรบูรณ์ ถงึ เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขาสมโภชน์ อยใู่ นทอ้ งทบ่ี างสว่ น แยกพุแคชิดขวาเปลี่ยนเส้นทางจากถนนพหลโยธิน ของต�ำบลซับตะเคียน ต�ำบลหนองยายโต๊ะ ต�ำบล หมายเลข ๑ เป็นหมายเลข ๒๑ ไปทางเพชรบูรณ์ บัวชุม และต�ำบลนาโสม มีพื้นท่ีประมาณ ๘,๔๔๐ ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร ถงึ แยกมว่ งคอ่ ม เล้ยี วขวา ไร่ ไดร้ ับการประกาศเปน็ เขตห้ามล่าพนั ธ์ุสตั ว์ปา่ เขา ไปทางอ�ำเภอท่าหลวง ใช้ทางหลวงหมายเลข สมโภชน์ เมือ่ วนั ท่ี ๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ซงึ่ ๒๐๕ แลว้ มงุ่ ตรงไปยงั อ�ำเภอด่านขนุ ทด ทางหลวง เป็นเทือกเขาหินปูน มีลักษณะสูงชันยาวทอดตัวไป หมายเลข ๒๒๕๖ ผา่ นตลาดทา่ หลวงไปอกี ประมาณ ตามแนวทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ มถี ำ้� และหนา้ ผาจำ� นวน ๒๐ กโิ ลเมตร ถงึ สามแยกเลยี้ วซา้ ยเขา้ ต�ำบลบวั ชมุ มาก มที ่รี าบในหบุ เขา ๒ แหง่ และที่ราบบนเขา ๑ ทางหลวงหมายเลข ๒๒๕๗ อกี ๕ กโิ ลเมตร ถงึ วดั แหง่ มีแหลง่ น้ำ� ซับกระจายอยู่ท่ัวไป จงึ เป็นปา่ ตน้ น�้ำ วดั เขาสมโภชน์ สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ี่ ประชาสัมพันธ์ ทมี่ คี วามสำ� คญั มาก นอกจากนภี้ ายในพน้ื ที่ มกี ารคน้ วัดเขาสมโภชน์ โทร. ๐๘ ๕๘๐๔ ๕๒๕๙, ๐๘ พบหลักฐานทางโบราณคดีกระจัดกระจายอยู่ท่ัวไป ๖๐๑๐ ๕๔๔๓ โดยเฉพาะทว่ี ดั ถำ�้ พรหมโลก คน้ พบขวานหนิ ตดั สมยั ยคุ หินตอนปลาย อายุราว ๓,๐๐๐ ปี ใบหอกส�ำรดิ อำ� เภอล�ำสนธิ ภาชนะดนิ เผาในยคุ โลหะ อายปุ ระมาณ ๒,๕๐๐ ปี ปรางค์นางผมหอม อยู่ห่างจากตลาดหนองรี พระพุทธรูปสลักด้วยไม้สมัยอยุธยาตอนปลาย หรือ ประมาณ ๔ กิโลเมตร ในเขตบ้านโคกคลี ไปตาม สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ทางหลวงหมายเลข ๒๐๕ หลักกิโลเมตรท่ี ๒๖๙ ๒๓-๒๔ สอบถามข้อมูล โทร. ๐๘ ๙๕๘๑ ๑๑๒๘ ลักษณะของปรางค์นางผมหอมน้ี เป็นปรางค์องค์ หรอื ส�ำนักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม เดยี วโดด ๆ กอ่ ดว้ ยอฐิ ไมถ่ อื ปนู เชน่ เดยี วกบั เทวสถาน จังหวัดลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๒๗๗๗ ปรางคแ์ ขก สภาพปัจจุบนั ยอดหกั หมดแล้ว มีประตู การเดนิ ทาง จากกรงุ เทพฯ ใชเ้ สน้ ทางหลวงหมายเลข เขา้ ภายในปรางคไ์ ด้ ภายในปรางคเ์ ปน็ หอ้ งโถง กรอบ ๒๑ ถงึ ทางแยกขวาเข้าอ�ำเภอชัยบาดาล ใช้เส้นทาง ประตสู ร้างด้วยแท่งหนิ รอบ ๆ ปรางค์ยังมีหนิ ก้อน หมายเลข ๒๐๕ ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ถงึ วดั เขา ใหญ่ ๆ อยหู่ า่ งจากปรางค์นางผมหอมไมม่ ากนกั เป็น ตำ� บลดา้ นซ้ายมอื แล้วเลย้ี วขวาไปตามเส้นทางเข้าสู่ ด่านกักสัตว์บ้านโคกคลีเป็นเนินดินมีซากอิฐ เข้าใจ วดั ถำ�้ พรหมโลก ระยะทาง ๗ กิโลเมตร ถงึ ท่ที �ำการ ว่าเป็นฐานวิหารหรือเจดีย์ชาวบ้านเรียก โคกคลี เขตห้ามล่าสตั วป์ า่ เขาสมโภชน์ นอ้ ย ยังมีเนนิ กวา้ งอีกแห่งหนงึ่ เรียก โคกคลใี หญ่ ที่ ตั้งของปรางค์นางผมหอมมีแม่น�้ำมาบรรจบกันสอง วัดเขาสมโภชน์ เป็นสถานท่ีฝึกสมาธิและท�ำวิปัส สาย คือ ล�ำสนธิกับล�ำพระยากลาง สันนิษฐานว่า นากรรมฐาน วดั อย่ตู ดิ กับภูเขารม่ ร่ืน สงบเหมาะกบั สถานที่แห่งน้ีแต่เดิมเป็นเมืองโบราณ และจากการ การปฏิบัติธรรม ขดุ แตง่ โบราณสถานเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ พบหลกั ฐาน 28 ลพบรุ ี

เพิ่มเติม คือ ช้ินส่วนของเครื่องประดับตกแต่งองค์ ปรางค์ท�ำด้วยหินทรายเป็นรูปสตรีนุ่งผ้าตามศิลปะ เขมรแบบบายน สันนิษฐานว่าปรางค์องค์นี้มีอายุ ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๕-๑๗ สมัยพระเจ้าชัยวรมัน ท่ี ๗ สอบถามข้อมลู ได้ทีส่ ำ� นักงานกรมศิลปากรท่ี ๔ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๑๐ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ซบั ลงั กา อยทู่ บี่ า้ นลงั กาเชอ่ื ม เขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตวป์ า่ ซบั ลังกา ต�ำบลล�ำสนธิ ต�ำบลกุดตาเพชร มีเน้ือที่ประมาณ ๙๖,๘๗๕ ไร่ เปน็ ทร่ี าบอยใู่ นหบุ เขา ถกู กน้ั ดว้ ยเทอื ก การเดินทาง จากอ�ำเภอชัยบาดาลไปอ�ำเภอล�ำ เขาพังเพย ทิศตะวันตกเป็นเขารวก สูงจากระดับ สนธิ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๐๕ ประมาณ ๓๑ น้�ำทะเลปานกลาง ๑๔๐-๘๔๖ เมตร ความส�ำคัญ กิโลเมตร จะมีทางแยกเข้าต�ำบลกุดตาเพชร ระยะ ของพื้นท่ี คือ ป่าซับลังกามีสภาพสมบูรณ์ เป็นป่า ทางประมาณ ๓๗ กโิ ลเมตร สอบถามข้อมลู ได้ท่ี เขต ต้นน�้ำของแม่น้�ำล�ำสนธิ และแหล่งอาหารของสัตว์ รักษาพนั ธุ์สตั ว์ปา่ ซับลังกา โทร. ๐ ๓๖๔๕ ๑๙๓๖, ปา่ ปจั จบุ นั ยงั มเี ลยี งผา ซงึ่ เปน็ สตั วป์ า่ สงวนอาศยั อยู่ ๐๘ ๗๑๑๙ ๑๘๙๓ เสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตจิ ดั ไว้ ๒ เสน้ ทาง เสน้ ทางแรก คอื หว้ ยพรกิ -นำ้� ตกผาผง้ึ -ถำ้� ผาผง้ึ ระยะทางไป-กลบั อำ� เภอพัฒนานิคม ประมาณ ๓,๒๐๐ เมตร ใชเ้ วลาเดนิ ประมาณ ๒ ชว่ั โมง ทงุ่ ทานตะวนั จงั หวดั ลพบรุ มี กี ารปลกู ดอกทานตะวนั ๓๐ นาที ระหวา่ งเสน้ ทางจะผา่ นนำ้� ตกผาผงึ้ ซง่ึ เปน็ มาก จะบานสะพร่ังในช่วงเดือนพฤศจิกายน - น้�ำตกเล็ก ๆ แต่มีความสวยงามเพราะบรรยากาศ มกราคม ทานตะวันเป็นพืชทนแล้งเกษตรกรนิยม รอบข้างที่ร่มรื่นด้วยไม้ใหญ่นานาพรรณและเหมาะ ปลูกแทนข้าวโพด เมล็ดทานตะวันมีคุณค่าทาง ส�ำหรับเป็นจุดพักระหว่างทาง จากนั้นเดินต่อไปยัง ถ�้ำผาผ้ึง เพ่ือชมดงจันทร์ผาซึ่งเป็นไม้ดึกด�ำบรรพ์ที่ มรี ปู ทรงงดงามและในชว่ งปลายฝนตน้ หนาวกลว้ ยไม้ รองเท้านารีที่ซ่อนตัวอยู่ในดงจันทร์ผาน้ีจะเบ่งบาน พร้อมกัน เส้นทางท่ีสอง คือ ห้วยประดู่เร่ิมต้นด้วย การล่องแพ ซงึ่ จุคนได้ประมาณ ๓๕ คน ไปยังจดุ เรม่ิ ตน้ เสน้ ทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาตซิ งึ่ มรี ะยะทาง ๑,๕๐๐ เมตร ระหวา่ งเสน้ ทางเดนิ สามารถชมถำ�้ สมยุ กยุ และ ถ�้ำพระนอกได้ ใชเ้ วลาส�ำหรบั เสน้ ทางน้ปี ระมาณ ๑ ชว่ั โมง ๓๐ นาที ลพบุรี 29

ท่งุ ทานตะวนั โภชนาการนิยมใช้สกัดท�ำน้�ำมันปรุงอาหารหรืออบ การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองลพบุรี ใช้ทางหลวง แห้ง เพ่ือรบั ประทานหรือใช้เปน็ สว่ นผสมของเครื่อง หมายเลข 3017 (พัฒนานิคม – เข่ือนป่าสักชลสิทธ)ิ์ ส�ำอาง และยังสามารถเลยี้ งผึง้ เปน็ อาชพี เสรมิ ได้อกี อยู่ก่อนถึงส่ีแยก ซอย ๑๒ ประมาณ ๑๐๐ เมตร ดว้ ย จงึ ทำ� ใหไ้ ดผ้ ลผลติ คอื นำ้� ผง้ึ จากดอกทานตะวนั แหล่งปลูกทานตะวนั กระจายอยู่ทั่วไปในเขตอำ� เภอ เข่ือนป่าสักชลสิทธ์ิ อยู่ท่ีบ้านแก่งเสือเต้น ต�ำบล เมอื งลพบรุ ี อำ� เภอพฒั นานคิ ม อำ� เภอชยั บาดาล เชน่ หนองบัว เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บรเิ วณเขาจนี แล ใกลว้ ดั เวฬวุ นั ตำ� บลโคกตมู อำ� เภอ รชั กาลที่ ๙ พระราชทานให้ ซ่ึงสร้างภายใต้โครงการ เมอื งลพบรุ ี เปน็ ตน้ พัฒนาลุ่มแม่น�้ำป่าสัก อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ เปน็ เขอื่ นดนิ แกนดนิ เหนยี วทยี่ าวทสี่ ดุ ในประเทศไทย วัดพรหมรังสี ตามประวัติความเป็นมาสืบเน่ืองมา มคี วามยาว ๔,๘๖๐ เมตร ความสงู ทจ่ี ดุ สงู สดุ ๓๖.๕๐ จากในสมัยหน่ึงสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) เมตร มจี ดุ ชมววิ บรเิ วณสนั เขอื่ น พพิ ธิ ภณั ฑล์ มุ่ นำ้� ปา่ สกั ได้เดินธุดงค์และได้หยุดพักปักกลด ณ ที่แห่งน้ี ต่อ ซงึ่ แสดงถงึ ความรดู้ า้ นธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม เขอ่ื น มาผู้ที่มีศรัทธาในพุทธศาสนาจึงได้ร่วมใจกันสร้าง ปา่ สกั ชลสทิ ธไ์ิ ดท้ ำ� พธิ เี ปดิ อยา่ งเปน็ ทางการ เมอ่ื วนั ที่ วัดและถวายนามนี้เป็นอนุสรณ์ วัดน้ีมีพระอุโบสถ ๒๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๒ นอกจากน้มี บี ริการรถ ทรงจัตุรมุข พระเจดีย์ทรงระฆังคล้ายพระบรมธาตุ ราง ใช้เวลาไป-กลบั ประมาณ ๕๐ นาที บรกิ ารวนั นครศรีธรรมราช จนั ทร-์ ศกุ ร์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. วนั เสาร-์ อาทติ ย์ 30 ลพบรุ ี

และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ เวลา ๐๗.๓๐-๑๘.๐๐ น. และ หอคอยนี้มีลักษณะเป็นอาคารทรงสูง ลักษณะเป็น ยงั มบี รกิ ารบา้ นพกั สวสั ดกิ ารชลประทานเขอื่ นปา่ สกั ทรงหกเหล่ยี ม มพี ้ืนที่ประมาณ ๑ งาน มพี ืน้ ทีด่ า้ น สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ี่ ศนู ยบ์ รกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว โทร. ๐ ล่างข้ันที่หนึ่ง จ�ำนวน ๒๒๐ ตารางเมตร บริเวณ ๓๖๔๙ ๔๒๔๓ , ๐ ๓๖๔๙ ๔๒๙๑ - ๒ อาคารปิดด้วยกระจกสีเขียวอยู่บนฐานยกพ้ืนด้าน ซ้ายมือจากประตูทางเข้าจะมีพระบรมสาทิสลักษณ์ หอคอยเฉลิมพระเกียรติ เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ เป็น ของพระนางเจ้าจามเทวี สมเด็จพระนารายณ์ หอคอยส�ำหรับชมทิวทัศน์ของเข่ือนป่าสักชลสิทธิ์ มหาราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดสร้างข้ึนโดยดำ� รขิ อง นายจารุพงศ์ พลเดช อดตี ผู้ และพระบรมรูปของราชจักรีวงศ์ ท้ัง ๙ พระองค์ วา่ ราชการจังหวดั ลพบุรี โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื เทดิ ประดษิ ฐานอยู่สว่ นพนื้ ทด่ี า้ นในประมาณ ๔๐ ตารางเมตร พระเกียรติบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าที่ทรงพระคุณ เป็นพื้นท่ีจัดแสดงสินค้าผลผลิตของเกษตรกร และ อันประเสริฐแก่จังหวัดลพบุรี อีกท้ังเพ่ือเป็นแหล่ง ด้านอุตสาหกรรม รวมไปถึงการจัดแสดงสินค้าโอ ทอ่ งเทยี่ วแหง่ ใหม่ของจงั หวัดลพบรุ อี ีกด้วย ทอป และของทีร่ ะลึกของจงั หวัดลพบุรี เข่อื นป่าสักชลสิทธ์ิ ลพบรุ ี 31

หอคอยแห่งนแี้ บง่ ออกเปน็ ๘ ชั้น ดังน้ี ช้ันท่ี ๗ จัดแสดงภาพจิตรกรรมท่ีบอกเล่า ช้ันที่ ๑ มพี นื้ ที่ ๒๒๐ ตารางเมตร จัดแสดง ถึงภาพกิจกรรมสมัยปัจจุบันในรัชกาลที่ ๙ จนถึง นิทรรศการเก่ียวกับการเฉลิมพระเกียรติบูรพมหา ปัจจุบัน กษตั รยิ าธริ าชเจ้า ชั้นที่ ๘ จัดแสดงนิทรรศการเก่ียวพระ ช้ันท่ี ๒ เป็นชัน้ ลอยที่มมี มุ พกั ผอ่ นส�ำหรบั นกั นารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นช้ันที่สามารถมองเห็น ทอ่ งเทย่ี ว เพอื่ ชมทวิ ทศั นข์ องเขอ่ื นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ และ ทัศนยี ภาพได้มุมสงู ท่สี ุด แบบ ๓๖๐ องศา เป็นรา้ นอาหาร การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองลพบุรี ใช้ทางหลวง ชน้ั ที่ ๓ จดั แสดงภาพจติ รกรรมฝาผนงั ตดิ ภาพ หมายเลข ๓๐๑๗ (สายลพบุรี-โคกตมู -พฒั นานคิ ม) ยคุ พระนางจามเทวีทม่ี คี วามสวยงาม ระยะทาง ๔๘ กิโลเมตร รถสองแถวว่ิงบริการสาย ช้นั ท่ี ๔ เป็นชัน้ ทข่ี ึ้นไปบนชั้นหอคอยท่ีมภี าพ ลพบุรี - วงั มว่ ง ผ่านหนา้ เขื่อนปา่ สกั ชลสทิ ธิ ์ รถออก จติ รกรรม บอกเลา่ เรอ่ื งราวสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ จากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดลพบุรี ต้ังแต่เวลา มหาราช ทั้งพระราชกรณียกิจของพระองค์ท่ีส�ำคัญ ๐๖.๐๐-๑๗.๓๐ น. และเหตุการณท์ ่ีสำ� คัญในยคุ นัน้ ชน้ั ท่ี ๕-๖ จดั แสดงภาพจติ รกรรม ทบ่ี อกเลา่ ศูนย์อนุรักษ์ผ้ึง เป็นศูนย์อบรมและเรียนรู้เร่ืองการ เรอ่ื งราวสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เลยี้ งผงึ้ พนั ธใ์ุ นประเทศไทย จำ� หนา่ ยอปุ กรณเ์ ลยี้ งผงึ้ พระมหากษัตรยิ ์รชั กาลที่ ๔ ของประเทศไทย และผลิตภัณฑ์แปรรปู จากผง้ึ มากกวา่ ๔๐ ชนดิ เชน่ พิพิธภณั ฑเ์ ปดิ บ้านโป่งมะนาว 32 ลพบรุ ี

วัดไลย์ น้�ำผึ้งแท้จากดอกทานตะวัน นมผึ้ง เกสร เทียนไข บรหิ ารสว่ นตำ� บลหว้ ยขนุ ราม โทร. ๐ ๓๖๔๕ ๑๐๐๙ ฯลฯ สอบถามขอ้ มลู โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๙๒๙๒ , ๐๘ ๑๒๙๔ ๗๗๙๐ การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งลพบรุ ี ใชท้ างหลวงหมายเลข การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองลพบุรี ใช้เส้นทางสาย ๓๐๑๗ (สายลพบรุ ี - โคกตูม – พฒั นานคิ ม) กอ่ นถึง ลพบุรี-โคกตูม-พัฒนานิคม-อ.วังม่วง (สระบุรี) เข้า เขอ่ื นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร ทางเดยี วกบั ทางไปนำ้� ตกสวนมะเด่อื พิพิธภณั ฑ์เปดิ บา้ นโป่งมะนาว อยหู่ มทู่ ่ี ๗ ต�ำบล อ�ำเภอท่าวงุ้ ห้วยขุนราม ห่างจากเข่ือนป่าสักชลสิทธิ์ ๒๖.๕ วดั ไลย์ อยรู่ มิ นำ้� บางขาม ตำ� บลเขาสมอคอน สมเดจ็ กิโลเมตร เป็นแหล่งโบราณคดีมนุษย์ยุคก่อน กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เคยเสดจ็ ไปท่วี ัดนี้ และ ประวัติศาสตร์อายุประมาณ ๒,๕๐๐-๓,๐๐๐ ปี ทรงกล่าวไว้ในพระนิพนธ์เร่ืองเที่ยวตามทางรถไฟ ประมาณยุค “บ้านเชียงตอนปลาย” มีการขุด ไว้ว่า “วัดไลย์” อยู่ริมน้�ำบางขาม พ้นเขาสมอคอน พบโครงกระดูกมนุษย์โบราณถึง ๑๓ โครงกระดูก ไปทางทิศตะวันตกไม่ห่างนัก เป็นวัดเก่าชั้นแรกต้ัง ภายในหลมุ เดียวกัน เปดิ ใหเ้ ข้าชมทุกวัน ตัง้ แตเ่ วลา อยู่กรุงศรีอยุธยา แล้วปฏิสังขรณ์เม่ือรัชกาลสมเด็จ ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. สอบถามข้อมูลได้ท่ีองค์การ พระเจา้ บรมโกศ ยงั มลี ายภาพของเกา่ ปน้ั เรอื่ งทศชาติ ลพบรุ ี 33

และเรอื่ งปฐมสมโพธงิ ามนา่ ดนู กั ทว่ี ดั ไลยน์ ม้ี รี ปู พระ กับเขาสมอคอนอยู่หลายเรื่องท่ีน่าสนใจจากหนังสือ ศรีอาริย์เป็นของส�ำคัญอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้คนนับถือ อกั ขรานกุ รมภมู ศิ าสตรฉ์ บบั ราชบณั ฑติ ยสถาน กลา่ ว กันมาแต่โบราณ เม่ือรัชกาลท่ี ๕ เกิดไฟป่าไหม้ ไว้ว่า “เขาสมอคอนนี้เป็นท่ีอยู่ของ สุกกทันตฤาษี วิหารรูปพระศรีอาริย์ช�ำรุดไป พระบาทสมเด็จพระ อาจารยข์ องพระเจา้ รามคำ� แหงมหาราช และพระยา จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญลงมา ง�ำเมือง กษัตริย์เมืองพะเยา ซ่ึงน่าจะเป็นราชวงศ์ ปฏิสังขรณ์ที่กรุงเทพฯ แล้วเสร็จกลับประดิษฐาน หนองแสโยนก เชียงแสน ทงั้ สองพระองค์ เพราะเมอ่ื ยังที่เดิม ถึงช่วงเทศกาลราษฎรได้อัญเชิญออกแห่ ทรงพระเยาว์ ได้เสด็จมาศึกษาศิลปวิทยาท่ีเขาสมอ เป็นประเพณีเมืองมาทุกปีมิได้ขาด” ปัจจุบันทาง คอนน้ี ซ่งึ มีวัดท่สี ำ� คัญอยบู่ นเทือกเขานี้ ๔ วดั คอื วัดได้ก่อสร้างวิหารส�ำหรับประดิษฐานพระศรีอาริย์ - วัดบันไดสามแสน มีโบราณสถานท่ีน่า ข้ึนใหม่ ด้านหน้าเป็นรูปมณฑปจตุรมุขแลดูสง่างาม สนใจ คือ วิหารอยู่หน้าถ้�ำ และพระอุโบสถเก่า มาก นอกจากนีย้ งั มสี ิ่งทน่ี า่ สนใจอีกหลายอยา่ ง เชน่ สถาปัตยกรรมสมัยอยธุ ยา พระวิหาร ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแบบอยุธยาตอน - วัดถ้�ำตะโกพุทธโสภา มีพระอุโบสถสร้าง ตน้ คือ มลี กั ษณะเจาะชอ่ งผนังแทนหนา้ ตา่ ง ภายใน เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ภายในมีจิตรกรรมฝาผนังศลิ ปะ มพี ระประธานขนาดใหญป่ างมารวชิ ยั ลงรกั ปดิ ทองมี แบบพมา่ และเจดยี ์ทรงเรอื ส�ำเภา ซุ้มเรือนแก้วแบบพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก - วัดถ�้ำช้างเผือก บริเวณเชิงเขามีท�ำนบดิน ด้านหน้าและด้านหลังของพระวิหารมีภาพปูนปั้น และอ่างเก็บน�้ำโบราณ ประมาณว่าสร้างในพุทธ เรอ่ื งทศชาติ และเรื่องปฐมสมโพธิ ซง่ึ นับวา่ เป็นภาพ ศตวรรษที่ ๑๘ รว่ มสมัยกบั อา่ งเก็บน้�ำและท�ำนบดนิ ประติมากรรมฝาผนังขนาดใหญ่ท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง ที่ต�ำบลทะเลชุบศร ชิ้นหนึ่งของชาติ นอกจากนี้ยังมีพระอุโบสถ และ - วัดเขาสมอคอน มีเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง วิหารรูปมณฑปยอดปรางค์อยู่ใกล้ ๆ กับพระวิหาร ท่ีท�ำบัวกลุ่มรองรับองค์ระฆังเป็นเจดีย์มีถ้�ำเล็ก ๆ และพิพิธภัณฑ์ประจ�ำวัด ซึ่งมีของเก่าจ�ำนวนมาก เรียกว่า ถ้�ำพระนอน ภายในมีพระพุทธไสยาสน์ ให้ชม เชน่ พระพทุ ธรปู เครื่องลายคราม เครอื่ งมอื ประดิษฐานอยู่ รชั กาลท่ี ๕ เคยเสด็จประพาสเมอ่ื ปี เครื่องใช้สมัยโบราณ เป็นต้น สอบถามข้อมูล โทร. พ.ศ. ๒๔๔๘ ๐ ๓๖๔๘ ๙๑๐๕ การเดินทาง ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ (สาย การเดนิ ทาง ใชเ้ สน้ ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ (ลพบรุ ี ลพบรุ ี - สงิ ห์บุร)ี ถงึ หลักกิโลเมตรท่ี ๒๔ เลยี้ วขวา - สิงห์บุรี) แล้วเล้ียวขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข ท่ีสามแยกบางงา เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข ๓๐๒๘ ๓๐๒๘ ตรงส่แี ยกไฟแดง (กโิ ลเมตรที่ ๑๘) เข้าไปอีก ตรงสแ่ี ยกไฟแดง เขา้ ไปอกี ประมาณ ๑๒ กโิ ลเมตร ประมาณ ๖ กิโลเมตร มรี ถโดยสารประจำ� ทางผ่าน อ�ำเภอบา้ นหมี่ หลายสาย คอื สายลพบรุ ี - ท่าโขลง สายโคกส�ำโรง อำ� เภอบา้ นหมี่ เปน็ อำ� เภอทมี่ ชี อ่ื เสยี งในการทอผา้ มดั - บ้านหมี่ และสายสงิ หบ์ รุ ี - บา้ นหม่ี หมี่ ราษฎรส่วนใหญข่ องอำ� เภอบ้านหม่ี เป็นชาวไทย เขาสมอคอน อยู่ต�ำบลเขาสมอ เป็นเทือกเขาที่มี พวนทอ่ี พยพมาจากประเทศลาว เมอ่ื ประมาณ ๑๓๐ ความสำ� คญั ดา้ นประวตั ศิ าสตร์ มตี ำ� นานเกา่ แกเ่ กย่ี ว 34 ลพบุรี

วดั ธรรมิการาม หรือ วดั ค้างคาว ปีมาแล้ว และได้น�ำเอาช่ือบ้านเดิม คือ “บ้านหม่ี” วดั ทอ้ งคงุ้ อยตู่ ำ� บลบา้ นพงึ่ มสี ง่ิ ทนี่ า่ สนใจคอื อโุ บสถ มาใช้เป็นช่อื บา้ นอพยพมาต้งั หลกั แหล่งใหมน่ ้ีดว้ ย ที่สร้างบนเรือส�ำเภาลอยน�้ำ อยู่ในแม่น�้ำบางขาม วัดธรรมิการาม หรือ วัดค้างคาว อยู่ริมน�้ำบาง ศาลาธรรมสังเวชสร้างประยุกต์เป็นรูปรถโดยสาร ขามฝ่งั ตะวนั ตก ตำ� บลบางขาม เหตุที่ช่ือวดั ค้างคาว ประจำ� ทาง เพราะว่าเดิมมีค้างคาวอาศัยอยู่มาก ปัจจุบันไม่มี การเดินทาง อยถู่ ัดจากวัดธรรมกิ าราม ประมาณ ๒ แล้วและไดเ้ ปล่ยี นชือ่ ใหมว่ ่า “วัดธรรมิการาม” วดั กโิ ลเมตร มรี ถโดยสารประจำ� ทาง สายลพบรุ -ี บา้ นหม่ี นม้ี ภี าพเขยี นทผี่ นงั โบสถ์ ซงึ่ เปน็ ภาพเขยี นเรอื่ งพทุ ธ ผา่ นหนา้ วดั ฯ ประวัตทิ ้งั ๔ ด้าน ลักษณะของภาพเขียนเป็นแบบ วัดท้องคุ้งท่าเลา อยู่ริมถนนสายบางงา-บ้านหม่ี ตะวันตก เช่น การแรเงาต้นไม้ เป็นต้น และอื่น ๆ ต�ำบลบ้านพึ่ง มีส่ิงท่ีน่าสนใจ คือ ประตูทางเข้าวัด เปน็ ภาพเขยี นในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ฝมี อื ชา่ งพ้ืนบา้ นท่ี เป็นรูปหนุมานก�ำลังอ้าปาก ประดับกระจกสีสวย งดงามมาก สอบถามข้อมูลที่ โทร. ๐ ๓๖๔๘ ๙๕๙๓ สะดดุ ตา เปน็ ความคดิ รเิ รมิ่ ของเจา้ อาวาสทนี่ ำ� ตำ� นาน การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๓๑๑ ( สาย เมอื งลพบุรที เ่ี ก่ียวกับเรื่องรามเกยี รติ์ มาประยุกต์ใน ลพบุรี-สิงห์บุรี ) แล้วเลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวง การสร้าง สอบถามข้อมลู โทร. ๐ ๓๖๖๔ ๔๒๗๐ หมายเลข ๓๐๒๘ ทห่ี ลกั กิโลเมตรที่ ๑๘ ( เสน้ ทาง เดยี วกบั วัดไลย์) ลพบุรี 35

วดั เขาวงกฎ เปน็ วดั ทอี่ ยใู่ นวงลอ้ มของภเู ขาสามดา้ น ประเทศมาต้ังแต่สมัยโบราณ จึงถูกเลือกให้เป็นที่ มพี น้ื ทป่ี ระมาณ ๓๐ ไร่ บนไหลเ่ ขาดา้ นทศิ ตะวนั ตก มี ม่นั แห่งท่ี ๒ ของประเทศมาตง้ั แตส่ มยั กรุงศรีอยธุ ยา พระพทุ ธไสยาสนอ์ งคใ์ หญป่ ระดษิ ฐานอยู่ ถดั ลงมามี การพัฒนาด้านการทหารของจังหวัดลพบุรี ปรากฏ ศาลาเกบ็ ศพหลวงพอ่ เจรญิ ตสิ วณั โณ อดตี เจา้ อาวาส ว่าเด่นชัดในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น ซง่ึ มรณภาพไปแลว้ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๐๖ แต่ศพไม่เนา่ นายกรัฐมนตรี ท�ำให้กิจการด้านการทหารของ เปอ่ื ยหนา้ วดั มเี จดยี ส์ รา้ งอยบู่ นเรอื สำ� เภาเปน็ อนสุ รณ์ ลพบุรีมีความส�ำคัญมากเป็นอันดับ ๒ รองจาก ของหลวงพ่อเภาผู้สร้างวัดนี้ ภายในบริเวณวัดมีถ้�ำ กรงุ เทพมหานคร กจิ กรรมดา้ นการทอ่ งเทยี่ วในพนื้ ท่ี ค้างคาว ซึ่งอยู่บนไหล่เขาเหนือพระอุโบสถ นับว่า ของทหารหนว่ ยต่าง ๆ ที่น่าสนใจ ได้แก่ เปน็ ถำ�้ คา้ งคาวทใี่ หญท่ สี่ ดุ ในจงั หวดั ลพบรุ ี ภายในถำ�้ กิจกรรมท่องเท่ียวในหน่วยบัญชาการสงคราม มคี า้ งคาวนบั ลา้ น ๆ ตวั และมลู คา้ งคาวสามารถสรา้ ง พิเศษ (อ�ำเภอเมืองลพบุรี) มีกิจกรรมการสาธิต รายไดใ้ หแ้ กว่ ดั แตล่ ะปเี ปน็ เงนิ หลายหมน่ื บาท ทกุ วนั การดำ� รงชพี ในป่า การกระโดดหอ สงู ๓๔ ฟุต การ เวลาประมาณ ๑๘.๓๐ น. คา้ งคาวจะพากนั บนิ ออก ฝึกกระโดดรม่ จากบอลลนู การยงิ ปนื ไต่หน้าผา ทัวร์ จากปากถ�ำ้ ไปหากิน ยาวเปน็ สายคล้ายควนั ไฟ การ ปา่ ทางทหาร และชมพพิ ธิ ภณั ฑท์ หารรบพเิ ศษ ซง่ึ จดั บินออกหากินน้ีจะติดต่อกันไปไม่หยุดจนกระทั่งถึง แสดงภาพและอปุ กรณ์ต่าง ๆ เกีย่ วกบั ประวตั ิความ เวลาประมาณ ๒๒.๐๐ น. และจะเริม่ บินกลบั เขา้ ถ�ำ้ เป็นมาวิวัฒนาการ และภาพกิจกรรมต่าง ๆ ของ หมดเวลาประมาณ ๐๖.๐๐ น. หนว่ ยรบพิเศษ ตั้งแต่ยคุ เร่มิ ต้นจนถึงปัจจุบนั การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๓๑๑ (สายลพบรุ -ี กิจกรรมการท่องเท่ียวในพ้ืนที่ทหารค่าย A03 สิงห์บุร)ี เช่นเดียวกบั วดั ท้องคงุ้ จะถงึ กอ่ นเขา้ อ�ำเภอ (อำ� เภอเมืองลพบรุ ี) อยูท่ างเขา้ อา่ งเก็บน้ำ� ซับเหล็ก บา้ นหม่ี ประมาณ ๔ กิโลเมตร มีบริการรถโดยสาร ตำ� บลโคกตมู เปน็ กจิ กรรมในรปู แบบของการทดสอบ ประจ�ำทางสายลพบุรี-บ้านหม่ี ลงรถท่ีสถานีขนส่ง ก�ำลังใจและการด�ำรงชีวิตแบบทหาร อาทิ การกระ บา้ นหม่ี แล้วเหมารถรับจ้างจากบา้ นหมเ่ี ขา้ ไปยงั วัด โดดหอ สูง ๓๔ ฟุต ไตห่ นา้ ผาจ�ำลอง ยงิ ปืน สะพาน วัดหนองเต่า (วัดพาณิชธรรมมิการาม) อยู่ต�ำบล เชือก พายเรอื แคนู สอบถามขอ้ มลู ไดท้ ี่ กองกจิ การ หนองเต่า สิ่งท่ีน่าสนใจ คือ อุโบสถบนหลังเต่า ซ่ึง พลเรอื น หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ คา่ ยสมเดจ็ เป็นสัญลักษณ์ของต�ำบลหนองเต่า พระบาทสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๙๒ (ในวนั พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ ๙ เสดจ็ และเวลาราชการ) พระราชด�ำเนินทรงยกช่อฟ้าอุโบสถ เมื่อวันท่ี ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ เทศกาลงานประเพณี การเดนิ ทาง ห่างจากอำ� เภอเมอื งบา้ นหม่ี ประมาณ ๑๑ กิโลเมตร อยู่รมิ ถนนสายเลยี บคลองชลประทาน งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดใน เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ของทกุ ปี เพ่อื เปน็ การร�ำลึกถงึ พระ กจิ กรรมที่นา่ สนใจ มหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ที่มีต่อเมืองลพบุรีและประเทเขศาชฝาาชตี หิ รเอื นจื่อดุ งชจมาวิวกเขเมาฝือาชงี จังหวัดลพบุรี เป็นเมืองยุทธศาสตร์ท่ีส�ำคัญของ 36 ลพบุรี

งานแผ่นดนิ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ลพบุรีเป็นราชธานีแห่งที่สองในสมัยท่ีพระองค์ทรง ข้าวจ่ี ตกบา่ ยมีการละเลน่ พ้ืนบ้าน เชน่ มอญซ่อนผ้า โปรดปรานประทบั อยทู่ น่ี นี่ านเกอื บปี โดยเฉพาะชว่ ง ช่วงชัย หม่าเบีย้ หมากนั หา่ น เปน็ ตน้ ฤดูฝนเท่านั้น ทีจ่ ะเสดจ็ ไปประทับ ณ กรงุ ศรีอยุธยา ประเพณีชักพระศรอี าริย์ วดั ไลย์ หรือประเพณีแห่ ภายในงานมีกิจกรรมตา่ ง ๆ มากมาย เช่น การแสดง พระศรีอาริย์ ถือปฏิบัติกันมาช้านานในวันขึ้น ๑๔ แสงและเสียง การสาธิตวิถีชีวิตไทย งานราตรีวัง ค�ำ่ เดือน ๖ ของทุกปี ทางวดั จะจัดให้มกี ารอัญเชญิ นารายณ์ การละเล่นของเด็กไทย (จุก แกละ โก๊ะ พระศรีอาริย์มาประดิษฐานบนแท่นตะเฆ่ แล้วให้ เปยี ) การละเลน่ พื้นเมือง มหรสพ และการออกรา้ น ประชาชนร่วมกันชักพระไปทางทิศเหนือ เริ่มจาก จ�ำหน่ายสนิ ค้าพื้นเมอื ง วดั ไลยไ์ ปสดุ ทางทวี่ ดั ทอ้ งคงุ้ แลว้ ชกั กลบั มายงั วดั ไลย์ ประเพณีก�ำฟ้า เป็นงานบุญพ้ืนบ้านอย่างหน่ึงของ ระหว่างทางจะมีผู้เข้าร่วมขบวนเป็นจ�ำนวนมากมี ชาวไทยพวน ซ่ึงมีอยู่หลายหมู่บ้านในเขตอ�ำเภอ การหยุดขบวนในแตล่ ะจุด เพ่อื ให้ผู้ศรัทธาได้สรงน้ำ� เมืองลพบุรี และอ�ำเภอบ้านหมี่ จดั ขน้ึ เพอ่ื ขอพรจาก และนมสั การ ตลอดระยะทางจะมผี ตู้ งั้ โรงทานสำ� หรบั เทพยดาผรู้ กั ษาฟากฟา้ และบนั ดาลใหฝ้ นตกตอ้ งตาม เล้ียงอาหารฟรีแกผ่ ู้เขา้ ร่วมขบวนแหน่ ับสบิ แห่ง ฤดูกาลมักจะถือเอาวันขึ้น ๒ ค่�ำ เดือน ๓ เป็นวัน ประเพณีใส่กระจาด หรือ ประเพณีเส่ือกระจาด สกุ ดบิ และวนั รงุ่ ขนึ้ ๓ คำ่� เดอื น ๓ เปน็ วนั กำ� ฟา้ โดย ตามภาษาพวน เรยี กวา่ “เสอ่ กระจาด” เปน็ ประเพณี ชาวบา้ นจะรว่ มกนั ทำ� บญุ ใสบ่ าตรดว้ ยขา้ วหลามและ ลพบรุ ี 37

งานเล้ยี งโต๊ะจีนลิง ของชาวไทยพวนซง่ึ ถอื ปฏบิ ตั กิ นั ในเขตอำ� เภอบา้ นหมี่ เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีเคยมีมาในอดีตของวัดเขาพระ มกั จดั ใหม้ ขี นึ้ ในงานเทศกาลเทศนม์ หาชาติ สว่ นมาก งามแตไ่ มม่ กี ารบนั ทกึ ไวอ้ ยา่ งเปน็ ทางการถงึ เรอื่ งราว จะกำ� หนดในชว่ งเทศกาลออกพรรษา (เดอื น ๑๑) ขา้ ง ประเพณีดังกล่าว อีกท้ังเป็นการนมัสการพระพุทธ แรม ก่อนถึงวันใส่กระจาด ๑ วัน ชาวบ้านจะช่วย ปฏิภาคมธั ยมพุทธกาล (หลวงพ่อใหญ)่ พระพุทธรูป กันท�ำขนมห่อข้าวต้ม ต�ำข้าวปุ้น รุ่งขึ้นจะเป็นวันใส่ เกา่ แก่องคใ์ หญ่ท่ีประดิษฐานบนเทอื กเขาพระงาม ท่ี กระจาดชาวบา้ นจะนำ� ของ เชน่ กลว้ ย อ้อย สม้ ธปู คนในทอ้ งถน่ิ และประชาชนทวั่ ไปใหค้ วามเคารพบชู า เทยี น ฯลฯ มาใสก่ ระจาดตามบา้ นของคนรจู้ กั เจา้ ของ ซ่ึงปัจจุบันกิจกรรมประเพณีดังกล่าว ทางจังหวัด บ้านจะน�ำอาหารท่ีเตรียมไว้มาเล้ียงรับรองแขก เม่ือ ลพบุรีได้เห็นความส�ำคัญของประเพณีตักบาตร แขกกลบั เจา้ ของบา้ นจะนำ� ขา้ วตม้ มดั ฝากไปให้ เรยี ก ข้าวต้มลูกโยนอันเก่าแก่ของวัดเขาพระงามท่ีควรแก่ ว่า “คืนกระจาด” ในวนั รุ่งข้นึ เป็นวันเทศนม์ หาชาติ การอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีนี้ เป็นการทำ� บุญครัง้ ยง่ิ ใหญป่ ระจำ� ปี ไวใ้ ห้คงอยสู่ ืบไป งานประเพณตี กั บาตรขา้ วตม้ ลกู โยน (เทโวโรหณะ) งานประเพณีลอยกระทงย้อนยุค จอมพล ป.พิบูล จัดข้ึนในวนั ออกพรรษา ของทุกปี ประเพณีตกั บาตร สงคราม จดั ขน้ึ ทบ่ี รเิ วณวงเวยี นศรสี รุ โิ ยทยั (วงเวยี น ขา้ วตม้ ลกู โยนวดั เขาพระงาม (วดั จนั ทรนมิ ติ วรวหิ าร) สระแกว้ ) มกี จิ กรรมการแตง่ การยอ้ นยคุ สมยั จอมพล 38 ลพบุรี

ป.พิบูลสงคราม การประกวดกระทง การประกวด นางนพมาศ การแสดงแสง สี เสียง ชมขบวนแห่ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของการจัดงานประเพณี ลอยกระทง การจุดพลุประดับไฟท่ีสวยงามตระการ ตา และกจิ กรรมอืน่ ๆ อกี มากมาย งานเลี้ยงโต๊ะจีนลิง จัดข้ึนในวันอาทิตย์ สัปดาห์ สดุ ทา้ ยของเดอื นพฤศจกิ ายน ณ พระปรางคส์ ามยอด ใกล้กับศาลพระกาฬซ่ึงบริเวณน้ีมีฝูงลิงอาศัยอยู่เป็น จ�ำนวนมาก และนักท่องเที่ยวที่มานมัสการเจ้าพ่อ พระกาฬ จะน�ำอาหารและผลไม้มาเล้ียงลิงท�ำให้ ลิงมีความเช่ืองและคุ้นเคยกับนักท่องเท่ียวมากขึ้น ภายในงานยังมีกิจกรรมต่าง ๆ ทีน่ ่าสนใจ เช่น การ เลีย้ งอาหารทีต่ กแตง่ อย่างสวยงามเปน็ พเิ ศษสำ� หรบั ลงิ การแสดงพ้ืนบา้ น เป็นต้น สินค้าพ้ืนเมืองและของทีร่ ะลึก อำ� เภอเมอื งลพบุรี หมบู่ า้ นดนิ สอพอง มแี หลง่ ผลติ อยทู่ หี่ มบู่ า้ นหนิ สอง กอ้ น ตำ� บลทะเลชบุ ศร (รมิ คลองชลประทาน บรเิ วณ สะพาน ๖) เปน็ หมบู่ า้ นทมี่ กี ารทำ� ดนิ สอพองกนั เกอื บ หมบู่ ้านดนิ สอพอง ทง้ั หมบู่ า้ น เพราะะบรเิ วณนจ้ี ะมดี นิ สขี าวหรอื เรยี กวา่ แม่บ้านพัน ปจว. กองพันปฏิบัติการจิตวิทยาศูนย์ ดินมาร์ล มีลักษณะเนื้อเนียนขาวละเอียดแน่นจึงไม่ สงครามพเิ ศษ ถนนนารายณม์ หาราช โทร. ๐ ๓๖๔๒ เหมาะแก่การปลูกพืช แต่ด้วยภูมิปัญญาของคนใน ๑๗๐๐-๙ ทอ้ งถน่ิ ไดน้ ำ� มาผลติ เปน็ ดนิ สอพอง ซงึ่ สามารถนำ� ไป เป็นวตั ถดุ บิ ในการท�ำผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ ได้หลายชนดิ เช่น แปง้ เครอ่ื งส�ำอาง ยาสีฟัน เป็นต้น การหล่อโลหะ(ทองเหลือง) ชุมชนบ้านท่ากระยาง เป็นท่ีรวมของบ้านช่างหล่อทองเหลืองซ่ึงมีความ เชี่ยวชาญท�ำสืบทอดกันมายาวนาน มีการหล่อ ไขเ่ คม็ ดนิ สอพอง เปน็ ของฝากทม่ี ชี อื่ เสยี งของลพบรุ ี พระพุทธรปู ด้วยทองเหลือง หลอ่ รปู ตา่ ง ๆ และหลอ่ โดยนำ� ดนิ สอพองมาผสมกบั เกลอื และนำ้� ตามสดั สว่ น ผลิตภัณฑ์เลียนแบบของเก่าด้วย ปัจจุบันมีการรวม นำ� มาพอกไขเ่ คม็ ดนิ สอพองลพบรุ ไี มเ่ คม็ มาก สามารถ ตัวกันเป็นชมรมช่างหล่อทองเหลืองบ้านท่ากระยาง น�ำไปท�ำไข่หวาน ไข่ดาว ไขต่ ้ม และปรุงอาหารไดท้ ี่ มศี ูนยร์ วมการผลติ และจ�ำหน่ายอยทู่ ่ี ๑๖๘ หม่ทู ่ี ๑ ขน้ึ ชื่อ คือ ไข่เคม็ ผัดพรกิ ขงิ มีแหล่งผลติ อยู่ท่ีชมรม ลพบรุ ี 39

ตำ� บลทะเลชบุ ศร อำ� เภอเมอื งลพบุรี โทร. ๐ ๓๖๔๒ แหนม เนอ้ื ปลาทใ่ี ชเ้ ปน็ เนอื้ ปลาทม่ี สี ขี าวละเอยี ด เชน่ ๑๔๖๙ ปลากราย ปลาสลาด ปลายส่ี ก ใช้เวลาหมัก ๓ วนั จึง จะเปรย้ี วไดท้ ีร่ บั ประทานเปน็ กับแกล้ม เป็นตน้ อ�ำเภอโคกส�ำโรง ปลาส้ม เป็นอาหารที่นิยมกันมากอีกชนิด หมู่บ้านแกะสลักหินทราย ผลิตกับแทบทุกครัว หน่ึง ใช้ปลาตะเพียนขอดเกล็ดผ่าท้องควักไส้ออก เรอื นทบี่ า้ นหนองแล้ง ต�ำบลเพนยี ด โดยน�ำหนิ ทราย คลุกเกลือให้ท่ัวตัวปลาแล้วน�ำข้าวสุกผสมกระเทียม บริเวณเชิงเขามาแกะสลักในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ใส่เข้าไปในท้องปลา หมักจนได้ท่ีเวลารับประทาน ท�ำเป็นผลิตภัณฑ์เลียนแบบของเก่า วัสดุแต่งสวน น�ำมาทอดให้สุกจะมีกลิ่นหอมเนื้อปลามีรสเปร้ียว พระพุทธรูป ใบเสมาและลูกนิมิต เปน็ ต้น สอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัด ลพบรุ ี โทร. ๐ ๓๖๗๗ ๐๒๒๑ อ�ำเภอพัฒนานิคม ผลิตภัณฑ์จากเปลือกข้าวโพด ในพื้นท่ีของอ�ำเภอ นอกจากน้ี ยงั มผี ลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ และผลไมต้ ามฤดกู าล พฒั นานคิ ม มกี ารปลกู ขา้ วโพดกนั มาก เมอ่ื มกี ารเกบ็ ทีน่ า่ สนใจ เชน่ เสอื่ ทอ ทีต่ ำ� บลบา้ นทา่ ดนิ ดำ� อำ� เภอ ผลผลติ แลว้ จะนำ� เปลอื กขา้ วโพดมาตากแหง้ จากนน้ั ชยั บาดาล จกั สานผกั ตบชวา ทตี่ ำ� บลบา้ นเบกิ ตำ� บล น�ำมาย้อมสีและประดิษฐ์เป็นงานหัตถกรรมหลาก บางล่ี อำ� เภอทา่ วงุ้ กระทอ้ น ทต่ี �ำบลตะลงุ อ�ำเภอ หลายรปู แบบ เชน่ ดอกไม้ ต๊กุ ตา พวงกุญแจ เป็นตน้ เมืองลพบุรี น้อยหน่า (พันธุ์ปุยฝ้าย) ท่ีบ้านน�้ำจั้น มผี ลิตและจ�ำหนา่ ยท่ีหม่บู ้านค�ำ้ คูน (ซอย ๒๑) เลขท่ี อำ� เภอเมอื งลพบรุ ี เปน็ ต้น ๓๓ หม่ทู ่ี ๗ ตำ� บลพฒั นานคิ ม ตัวอยา่ งรายการนำ� เทีย่ ว รายการท่ี ๑ อำ� เภอบ้านหมี่ เช้า แวะสกั การะพระบรมราชานสุ าวรีย์ หมู่บ้านทอผ้ามัดหม่ี เป็นแหล่งทอผ้าพ้ืนเมืองลาย สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช / นมสั การ เอกลักษณข์ องชาวไทยพวน เรยี กวา่ มัดหม่ี ปจั จบุ นั เจ้าพ่อพระกาฬ / พระปรางคส์ ามยอด มีการพัฒนารูปแบบลายผ้าและสีให้ทันสมัยยิ่งข้ึน / ชมพระนารายณ์ราชนเิ วศน์ นับเป็นแหล่งทอผ้ามัดหมี่ท่ีมีคุณภาพช้ันเย่ียมของ บา่ ย ชมการท�ำดนิ สอพอง หมู่บ้านหนิ สอง ประเทศ มกี ารรวมกลมุ่ กนั ทอตามหม่บู ้านต่าง ๆ ใน ก้อน / พระท่ีนัง่ เย็น สถานท่ีสำ� รวจ แถบ ต�ำบลบา้ นกลว้ ย ตำ� บลบ้านทราย ตำ� บลหนิ ปกั จันทรปุ ราคา และสรุ ยิ ุปราคาร่วมกบั ศูนย์สาธิตและจำ� หนา่ ย ได้แก่ คณะทูตและบาทหลวงจากประเทศ - กลมุ่ ทอผา้ บ้านหมี่ ๘๐ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลบ้าน ฝรัง่ เศส สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์ กลว้ ย (ไปตามถนนสายบา้ นหม่ี-โคกสำ� โรง ประมาณ มหาราช / แวะนมสั การพระพทุ ธนฤมติ ๒ กโิ ลเมตร) โทร. ๐ ๓๖๔๗ ๑๙๐๔ มธั ยมพุทธกาล (หลวงพ่อใหญ่) วัดเขา สม้ ฟกั เปน็ อาหารทท่ี ำ� จากการหมกั เนอื้ ปลา พระงาม พระพุทธรูปเก่าแก่อยบู่ น ด้วยเกลือ ข้าวสุกบด และกระเทียมดองน�ำมานวด เชงิ เขาทเี่ สน้ พระศกทำ� จากไหกระเทยี ม จนแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วหมักเช่นเดียวกับหมัก / เลอื กซ้ือของฝากเพชรเขาพระงาม / 40 ลพบุรี

และศาลาธรรมสังเวชรูปรถโดยสาร ประจำ� ทาง ทวี่ ดั ทอ้ งคงุ้ (อาหารกลางวนั ) บา่ ย ชมการทอผ้าบ้านหม่แี ละผ้าขาวม้า ลายไส้ปลาไหลของชาวไทยพวนทีบ่ า้ น กล้วย บา้ นหนิ ปกั / เลอื กซอื้ ของฝาก ปลาสม้ ฟกั / วดั เขาวงกต รอชมคา้ งคาว นบั ลา้ นตัวออกหาอาหารยามเย็นเป็น บรรยากาศทน่ี ่าประทับใจมาก / เดินทางกลับอ�ำเภอเมอื งลพบุรี สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สถานที่พกั (ราคาห้องพักในเอกสารน้ีอาจมีการเปล่ียนแปลงได้ โปรดสอบถามจากโรงแรมก่อนเข้าพัก) อ�ำเภอเมืองลพบุรี โตเกียว แมนชนั่ ๑๒ /๑–๗ หมู่ท่ี ๓ ตำ� บลปา่ ตาล โทร. ๐ ๓๖๗๘ ๖๖๒๗-๙ จ�ำนวน ๔๐ ห้อง ราคา ๔๐๐–๕๐๐ บาท เทพธานี ภายในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี ถนน พระบรมราชานสุ าวรยี ์สมเด็จพระนารายณม์ หาราช นารายณ์มหาราช ตำ� บลทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๙๘๒, ๐ ๓๖๔๑ ๑๐๒๙, ๐ ๓๖๔๑ ๓๔๕๕, ๐ ๓๖๔๑ ๒๓๐๖ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๓๔๕๕ จำ� นวน ซอ้ื ของฝากทศี่ นู ยจ์ ำ� หนา่ ยผา้ มดั หมแ่ี ละ ๔๐ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท ผลติ ภณั ฑพ์ น้ื เมอื งลพบรุ ี / เดนิ ทางกลบั เนตต์ิ (ใกล้สวนราชานุสรณ์) ๑๗/๑-๒ ถนน อำ� เภอเมืองลพบุรี ราชดำ� เนิน ต�ำบลทา่ หิน โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๗๓๘, ๐ รายการท่ี ๒ ๓๖๔๒ ๑๔๖๐ โทรสาร ๐ ๓๖๔๒ ๑๔๖๐ จำ� นวน เชา้ นมัสการพระศรอี ารยี ์ และชมลวดลาย ๒๙ หอ้ ง ราคา ๕๐๐ บาท ปนู ปน้ั ทวี่ หิ ารวดั ไลย์ประตมิ ากรรมฝาผนงั พิมาน ๗๘ ถนนพระโหราธิบดี ต�ำบลทะเลชุบศร ขนาดใหญ่ ทม่ี ีความส�ำคัญช้ินหนึง่ ของ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๓๓ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ ๒๕๐๗ ประเทศ / ชมวดั ตา่ ง ๆ บนเทอื กเขาสมอ จ�ำนวน ๒๐ ห้อง ราคา ๓๐๐ – ๕๐๐ บาท คอน เทือกเขาแหง่ ประวัติศาสตรข์ อง รามา พลาซา่ (ใกล้ตลาดทา่ โพธ์ิ) ๔ ถนนบา้ นปอ้ ม ลพบรุ ี / ชมอโุ บสถรปู เรอื สำ� เภาลอยนำ้� ตำ� บลทา่ หนิ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๖๓, ๐ ๓๖๔๒ ๑๕๘๐ ลพบรุ ี 41

โทรสาร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๙๖๘ จ�ำนวน ๓๖ หอ้ ง ราคา ๒๔๐-๓๔๐ บาท ราวันด้า รีสอร์ท (ห่างจากตัวเมือง ๓ กิโลเมตร) ๒๐๐ หมทู่ ่ี ๙ ถนนลพบรุ -ี สงิ หบ์ รุ ี ตำ� บลบางขนั หมาก โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๗๘๓, ๐ ๓๖๔๒ ๖๘๒๐ จ�ำนวน ๑๓๔ ห้อง ราคา ๒๓๙-๓๗๙ บาท ลพบุรี อินน์ ๒๘/๙ ถนนนารายณ์มหาราช ต�ำบล ทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๓๐๐, ๐ ๓๖๔๑ ๒๘๐๒, ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๐๕ โทรสาร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๔๕๗ www. lopburiinnhotel.com จ�ำนวน ๑๒๖ ห้อง ราคา ๖๐๐-๑,๒๐๐ บาท ลพบุรี เรสซเิ ด้นซ์ ๑ ๑๘๐ ถนนคลองชลประทาน ๓๓ ต�ำบลทะเลชุบศร โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๑๐-๒ โทรสาร. ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๐๔ www.lopburiresi- dence.com จ�ำนวน ๑๒๒ ห้อง ราคา ๖๐๐– ๑,๒๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) ลพบรุ ี เรสซเิ ดน้ ซ์ ๒ ๒๑๗ ถนนพหลโยธนิ ตำ� บล นิคมสร้างตนเอง โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๕๕๒๒-๔ โทรสาร. ๐ ๓๖๖๑ ๕๑๑๑ www.lopburiresidence.com จ�ำนวน ๘๘ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท ลพบุรี อนิ น์ รสี อรท์ ๑๔๔ หมูท่ ่ี ๓ ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลทา่ ศาลา โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๑๔๕๓, ๐ ๓๖๔๒ ๐๗๗๗, ๐ ๓๖๖๑ ๔๗๙๐-๒ โทรสาร ๐ ๓๖๖๑ เขาวงพระจันทร์ ๔๗๙๕ www.lopburiinnresort.com จำ� นวน ๙๐ ห้อง ราคา ๙๕๐-๑,๓๕๐ บาท ๐ ๓๖๔๑ ๓๖๐๑ โทรสาร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๖๐๑ จำ� นวน อา่ งซบั เหลก็ สปดี เวยค์ ลับ แอนด์ รีสอร์ท ๓๐๕/๒ ๘๕ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๖๐๐ บาท หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลนิคมสร้างตนเอง โทร. ๐๘ ๑๙๙๑ เลฟิ ยู รสี อร์ท ๔๕๓ หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลนคิ มสร้างตนเอง ๘๙๔๒, ๐๘ ๖๑๒๑ ๗๗๗๘, ๐๘ ๐๒๙๓ ๙๑๗๔ โทร. ๐๘ ๕๔๒๒ ๕๒๔๔ , ๐๘ ๓๒๖๗ ๗๗๕๕ จำ� นวน โทรสาร ๐ ๓๖๔๒ ๒๗๐๔ จำ� นวน ๑๕ หลัง ราคา ๙ หอ้ ง ราคา ๓๐๐ บาท ๗๐๐-๑,๔๐๐ บาท (มกี จิ กรรมรถเอทวี ี เรอื ถบี หว่ งยาง) ไทเป ๒๔/๖-๗ ถนนสุรสงคราม ต�ำบลทา่ หนิ โทร. ๐ ฮอลิเดย์ ๓/๙ ซอยศรีสุริโยทัย ๒ ถนนนารายณ์ ๓๖๔๑ ๑๕๒๓, ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๖๑ โทรสาร ๐ ๓๖๔๑ มหาราช ตำ� บลทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๓๔๓, ๑๕๒๔ จ�ำนวน ๗๐ ห้อง ราคา ๓๙๐ บาท 42 ลพบุรี

เอเซีย ๑๗๘ ถนนสุรศักด์ิ ต�ำบลท่าหิน โทร. ๐ โทรสาร ๐ ๓๖๖๓ ๑๑๓๙ จ�ำนวน ๖๕ หอ้ ง ราคา ๓๖๖๑ ๘๘๙๔ โทรสาร ๐ ๓๖๖๑ ๘๘๙๓ จำ� นวน ๓๕๐-๑,๑๐๐ บาท www.naraigrandhotel.com ๗๐ ห้อง ราคา ๔๕๐ บาท ปา่ สักฮิลล์ไซด์ รสี อร์ท ๑๑ หมูท่ ี่ ๑ ถนนสระบุร-ี สุพรพงษ์ ๓๐-๓๑ ถนนหนา้ พระกาฬ ต�ำบลทา่ หิน หล่มสัก ต�ำบลนิคมล�ำนารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๗๙ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๗๘ จ�ำนวน ๑๓ ห้อง ราคา ๒๔๔๑, ๐๘ ๔๐๙๙ ๖๔๔๘ กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๓๐๐ บาท ๒๘๓๓ ๘๒๑๒-๓ โทรสาร ๐ ๒๘๓๓ ๘๒๑๑ www. pasakhillside.com บ้านพัก ๓๖ หลัง ราคา อำ� เภอโคกสำ� โรง ๑,๔๐๐-๒,๐๐๐ บาท สิงห์ชัย ๑๓๑-๑๔๑ ถนนสุระนารายณ์ ต�ำบล โคกสำ� โรง โทร. ๐ ๓๖๔๔ ๑๒๔๖, ๐๘ ๔๗๕๖ ๘๕๘๘ อำ� เภอล�ำสนธิ จำ� นวน ๒๕ หอ้ ง ราคา ๔๐๐ บาท บ้านฝากฝัน ต�ำบลกุดตาเพชร โทร. ๐๘ ๖๑๐๗ สราญศิริ ๑๐๔/๔ หมู่ที่ ๔ ถนนพหลโยธิน ต�ำบล ๐๐๐๙ จ�ำนวน ๑๘ หอ้ ง ราคา ๗๐๐-๑,๕๐๐ บาท โคกส�ำโรง โทร. ๐ ๓๖๔๔ ๑๒๓๖ จำ� นวน ๒๐ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๔๘๐ บาท อำ� เภอพฒั นานคิ ม นารายณฮ์ ลิ ล์ กอล์ฟ รีสอรท์ แอนด์ คนั ทรี คลบั ครวั บ้านนอก แอนด์ รีสอรท์ ๒๒๗ ซอย ๒๔ หมู่ ๒๓ หม่ทู ่ี ๕ ต�ำบลวงั เพลิง โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๖๕๔๕–๖ ที่ ๙ ต�ำบลพฒั นานิคม โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๙๐๕๗ , www.naraihillgolf.com จ�ำนวน ๗๕ ห้อง ราคา ๐๘ ๑๙๐๖ ๔๐๑๓ จ�ำนวน ๑๔ ห้อง ราคา ๔๐๐ ๒,๕๐๐ – ๓,๕๐๐ บาท – ๑,๕๐๐ บาท โสมาภา ป่าสัก รีสอร์ท ๑๑๐/๔ หมทู่ ่ี ๑ ถนนสาย อ�ำเภอชยั บาดาล โคกตูม-แม่น้�ำป่าสัก ต�ำบลพัฒนานิคม โทร. ๐๘ ช.สชี ัง ๙๖ หม่ทู ่ี ๔ ถนนคชเสนีย์ ต�ำบลชัยนารายณ์ ๑๖๑๑ ๐๖๐๘, ๐๘ ๙๗๗๗ ๐๖๓๑ , ๐๘ ๙๒๓๘ โทร. ๐ ๓๖๔๖ ๑๔๘๒, ๐ ๓๖๔๖ ๑๔๔๑ โทรสาร ๐ ๘๔๙๔ จ�ำนวน ๘๐ ห้อง ราคา ๕๐๐–๖,๐๐๐ บาท ๓๖๔๖ ๑๖๒๓ จ�ำนวน ๘๐ หอ้ ง ราคา ๓๐๐ บาท ภัทรประภา รีสอร์ท (ใกลเ้ ขือ่ นปา่ สกั ชลสิทธ์)ิ ๔๔ ชาญเวช เกสต์เฮาส์ (ใกล้สถานีรถไฟล�ำนารายณ์) หมู่ที่ ๖ ซอย ๒๘ สาย ๓ ตำ� บลพฒั นานิคม โทร. ๐ ๑๔ หมูท่ ่ี ๑ ถนนคชเสนีย์ ตำ� บลชัยนารายณ์ โทร. ๓๖๔๙ ๔๒๔๔, ๐ ๓๖๔๕ ๑๒๗๗ จำ� นวน ๑๑ หลงั ๐ ๓๖๔๖ ๑๖๐๘, ๐ ๓๖๔๖ ๑๒๕๑-๓, ๐ ๓๖๖๓ ราคา ๘๐๐-๔,๕๐๐ บาท ๒๐๕๙-๖๐ จำ� นวน ๕๓ หอ้ ง ราคา ๓๐๐ บาท ตน้ ปาลม์ อินน์ ๙๙ หมทู่ ่ี ๑ ถนนสระบรุ -ี หลม่ สัก อ�ำเภอท่าวุง้ ตำ� บลชยั นารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๔๖ ๒๔๖๒-๕ โทรสาร สบาย โฮเต็ล ๘๓ หมทู่ ่ี ๖ ถนนลพบรุ -ี สิงห์บรุ ี ตำ� บล ๐ ๓๖๔๖ ๒๔๖๖ จ�ำนวน ๙๓ ห้อง ราคา ๓๕๐- โพตลาดแกว้ โทร. ๐ ๓๖๖๔ ๕๒๐๐-๒ จ�ำนวน ๙๖ ๑,๐๐๐ บาท หอ้ ง ราคา ๓๕๐–๑,๒๕๐ บาท นารายณ์ แกรนด์ ๔๔๖/๑ หมทู่ ่ี ๘ ซอยทา่ มะนาว ๑๓ ต�ำบลล�ำนารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๖๓ ๑๑๓๖-๘ ลพบรุ ี 43

ร้านอาหาร ๒๓๐๐, ๐ ๓๖๔๑ ๒๘๐๒, ๐ ๓๖๖๑ ๓๔๐๕ อำ� เภอเมอื งลพบรุ ี เลก็ เลก็ ชวนชมิ ๒๓ ถนนพระยากำ� จดั ตำ� บลทา่ หนิ กินเส้น ๒๐๔ หมู่ที่ ๑ ต�ำบลเขาสามยอด โทร. ๐ โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๗๑๐๗, ๐๘ ๙๘๙๕ ๙๘๙๑ ๓๖๖๒ ๑๖๓๔, ๐๘ ๙๑๒๓ ๔๔๖๓ วาสนา ๑๑๔ หมทู่ ่ี ๓ ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลทา่ ศาลา แกว้ เจ้าจอม ๒๑๘ หม่ทู ี่ ๑ ถนนนเรศวร ตำ� บลเขา โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๐๗๗๗ สามยอด โทร. ๐ ๓๖๖๒ ๗๘๙๙, ๐๘ ๑๙๓๐ ๐๖๔๘ สหายพันตา เดอะ รีเจนท์ ๘๘/๘ หมู่ที่ ๗ ต�ำบล จริ าพร ๒๒๙/๗๘-๗๙ ถนนนารายณ์มหาราช ตำ� บล ทา่ ศาลา โทร . ๐ ๓๖๔๒ ๕๘๕๕, ๐๘ ๖๕๔๗ ๗๓๐๖ ทะเลชุบศร (ใกล้วงเวียนสระแก้ว) โทร. ๐ ๓๖๔๑ สุก้ีแหลมทอง ๒๐๓/๑ หมูท่ ่ี ๑ ถนนเอราวัณ ต�ำบล ๒๕๔๖ เขาสามยอด โทร. ๐ ๓๖๖๒ ๗๓๓๑, ๐ ๓๖๔๒ ๔๒๔๐ เจอาร์ ๘๙ หม่ทู ี่ ๑ ตำ� บลกกโก โทร. ๐ ๓๖๔๕ แสงสว่าง ๑๑/๑๒ ถนนนารายณ์มหาราช (หนา้ สวน ๑๐๓๘, ๐๘ ๑๔๐๔ ๖๓๗๙ สระแกว้ ข้างโรงภาพยนตรท์ หารบก) โทร. ๐ ๓๖๔๑ ไทยสว่าง ๑๑/๘ ถนนสุรศักด์ิ ตำ� บลทา่ หิน โทร. ๐ ๑๖๓๒, ๐ ๓๖๖๑๓ ๓๖๘๕ ๓๖๔๑ ๑๘๘๑, ๐๘ ๙๗๔๒ ๐๘๐๗ แพบ้านริมน�้ำ ๕๗/๖๘ ซอยวัดเชงิ ท่า ต�ำบลทา่ หนิ บอ่ เงนิ ปลาเผา ๘๔/๔ หมทู่ ่ี ๑๓ ถนนเลย่ี งเมอื ง (สาย โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๐๐๕, ๐๘ ๙๐๘๔ ๓๑๕๘, ๐๘ ลพบุร-ี บา้ นเบิก) ต�ำบลโพธ์เิ กา้ ตน้ โทร. ๐๘ ๑๙๔๘ ๖๗๘๗ ๓๖๒๖ ๒๗๐๔, ๐ ๓๖๗๘ ๕๐๕๗ บัวหลวง ๔๖/๑ หมู่ที่ ๓ ถนนพหลโยธิน ต�ำบล อำ� เภอโคกส�ำโรง ทา่ ศาลา โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๐๐๙, ๐ ๓๖๖๑ ๔๒๒๗-๓๐ ร้านเล้าโภชนา ๑–๓–๕ ซอยเทศบาล ๒ ต�ำบล บิ๊กโบว์ ภายในสวนราชานุสรณ์ ถนนพระยาก�ำจัด โคกสำ� โรง โทร. ๐ ๓๖๔๔ ๑๔๘๗ , ๐๘ ๖๑๓๖ ๔๔๕๔ ตำ� บลท่าหนิ โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๘๒๕๘ , ๐๘ ๑๙๒๑ ๓๑๒๔ ปาปี ๒๘ หมทู่ ่ี ๘ ถนนสายเอก ตำ� บลนคิ มสรา้ งตนเอง โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๓๕๔๙, ๐๘ ๑๘๕๔ ๕๓๕๑ อ�ำเภอชยั บาดาล ภูเขาทอง ๑๒๔/๗๕ หมทู่ ี่ ๑ ถนนพหลโยธิน ตำ� บล เกป๋ ลาทอด ๑๔๓/๑ หมทู่ ่ี ๔ อา่ งเกบ็ นำ�้ ซบั ตะเคยี น เขาสามยอด โทร. ๐๘ ๑๔๔๔ ๙๙๔๕, ๐๘ ๖๓๗๔ ตำ� บลเขาแหลม โทร. ๐๘ ๑๙๔๗ ๐๙๒๓ ๓๓๑๑, ๐๘ ๖๓๗๔ ๒๔๔๔ ขา้ วแกงฉัตรชยั (๒) ๑/๓๘-๓๙ หมูท่ ี่ ๕ ตำ� บลลำ� มัดหม่ี ๘/๑๓ ถนนพระศรีมโหสถ (หลังโรงเรียน นารายณ์ โทร. ๐ ๓๖๔๖ ๑๐๕๕, ๐๘ ๖๖๗๗ ๗๓๘๐ บรรจงรัตน์) โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๘๘๓, ๐ ๓๖๖๑ ๒๓๘๗, ๐ ๓๖๔ ๒๒๘๙๔ อ�ำเภอพฒั นานิคม ลพบุรีสเต็กเฮ้าส์ (ใกล้โรงเรียนพระนารายณ์) นา่ นนำ้� ปา่ สกั ๒๓๔ หมทู่ ่ี ๑ ซอย ๒๘ ตำ� บลหนองบวั ๑๓๐/๑ หมทู่ ี่ ๓ ถนนเฉลมิ พระเกยี รติ ตำ� บลทา่ ศาลา โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๑๔๒ โทร. ๐ ๓๖๖๑ ๕๘๘๐ ครวั กงุ้ หลวง ๙๕/๑ หมทู่ ่ี ๔ ซอย ๒๗ ตำ� บลหนองบวั ลพบรุ อี นิ นค์ าเฟ่ (ในโรงแรมลพบรุ อี นิ น)์ ๒๘/๙ ถนน โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๔๐๕, ๐๘ ๖๓๗๕ ๓๖๒๑ นารายณม์ หาราช ต�ำบลทะเลชบุ ศร โทร. ๐ ๓๖๔๑ 44 ลพบรุ ี

ไข่เคม็ ดนิ สอพอง ครัวบ้านนอก (ทางหลวงหมายเลข ๓๐๑๗ มุ่งหน้า ข้อแนะน�ำในการท่องเทีย่ ว เขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ) ๒๒๗ ซอย ๒๔ (ตรงข้ามศูนย์ * ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทางไปแหล่ง อนุรักษ์ผึ้งพัฒนานิคม) ต�ำบลพัฒนานิคม โทร. ๐ ทอ่ งเท่ียวหรือข้อมูลสถานทนี่ ้นั ๆ กอ่ น เชน่ ในดา้ น ๓๖๖๓ ๙๐๕๗, ๐๘ ๑๙๐๖ ๔๐๑๓ ประวตั ิศาสตร์ ครัวบา้ นเข่ือน ๒๕๕ หมู่ท่ี ๑ (ทางหลวงหมายเลข * ศกึ ษาฤดูกาลของธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ นก ๓๐๑๗ หน้าเขื่อนป่าสักชลสิทธ์ิ) ต�ำบลหนองบัว อพยพ หรอื ช่วงเวลาท่เี หมาะสมในการเดินทาง โทร. ๐ ๓๖๔๙ ๔๓๖๖, ๐๘ ๑๒๕๕ ๘๘๔๘ * ช่วยรักษาทรัพยากรการท่องเท่ียวไม่ว่าจะ ชาวเขอ่ื น (ทางหลวงหมายเลข ๓๐๑๗ หนา้ เขอื่ นปา่ เป็น แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติหรือแหล่งท่อง สกั ชลสิทธิ์) ๑๔๕ ซอย ๒๘ ต�ำบลหนองบวั โทร. เที่ยวทางวฒั นธรรม ๐ ๓๖๔๙๔๐๓๐, ๐๘ ๑๙๔๗ ๒๗๕๖ * ไมป่ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ ดั ตอ่ วถิ ชี วี ติ และประเพณี นิยมของคนในท้องถิน่ อ�ำเภอท่าวุ้ง * ในระหว่างการเดินทางไม่ควรประมาทและ ก๋วยเต๋ียวเรือกะทิสด ๑๐๕ หมู่ที่ ๖ ถนนลพบุรี- ตอ้ งคำ� นงึ ถึงความปลอดภยั สงิ หบ์ รุ ี ตำ� บลโพตลาดแกว้ โทร. ๐๘ ๗๐๐๔ ๔๔๓๓ , * ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าท่ีโดย ๐๘ ๑๙๙๑ ๙๑๘๘ เคร่งครัด โพธเ์ งนิ ปลาเผา ๑๘๐ หม่ทู ่ี ๑ ถนนลพบุรี-สงิ ห์บรุ ี (ทางแยกบายพาสท่าวุ้ง) ต�ำบลโพตลาดแก้ว โทร. ๐๘ ๕๙๙๒ ๐๔๔๑ ลพบุร ี 45









หมายเลขโทรศัพทส์ �ำคญั โทร. ๑๑๕๕ โทร. ๑๑๙๓, ๐ ๓๖๔๑ ๑๖๒๒, ต�ำรวจทอ่ งเท่ียว ๐ ๓๖๖๓ ๘๒๗๒ ต�ำรวจทางหลวง โทร. ๐ ๓๖๗๗ ๐๒๒๑ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๒๑๖๐, ประชาสมั พันธ์จงั หวดั ลพบุร ี ๐ ๓๖๔๑ ๓๙๓๓ โรงพยาบาลเบญจรมย ์ โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๒๖๗, ๐ ๓๖๖๒ ๑๕๓๗-๔๖ โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช โทร. ๐ ๓๖๔๑ ๑๐๑๓, ๐ ๓๖๔๒ ๑๑๘๙ สถานตี ำ� รวจอำ� เภอเมืองลพบุร ี 50 ลพบุรี