Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกหัด ประวัติศาสตร์ ประถม

แบบฝึกหัด ประวัติศาสตร์ ประถม

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-04-10 04:39:43

Description: แบบฝึกหัด

Search

Read the Text Version

1 สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ ประกอบชุดวชิ าประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย รหัสรายวชิ า สค12024 รายวิชาเลือกบังคบั ระดบั ประถมศกึ ษา ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

2 คานา สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย ระดับ ประถมศึกษานี้ เป็นสมุดบันทึกสาหรับทากิจกรรมท่ีกาหนดไว้ในชุดวิชา เพื่อให้ผู้เรียนได้ทดสอบ ความรคู้ วามเข้าใจ และฝึกทักษะประสบการณท์ จ่ี าเป็นในรายวิชาประวัตศิ าสตรช์ าติไทย ระดบั ประถมศึกษา กิจกรรมที่กาหนดจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน มีประสิทธิภาพในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ในแต่ละเร่อื ง ดังนี้ 1. คาชีแ้ จงการใชส้ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ 2. แบบทดสอบก่อนเรียน 3. กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 ความภมู ิใจในความเปน็ ชาตไิ ทย 4. กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 พระมหากษัตริยไ์ ทยและบรรพบรุ ษุ ในสมัยสโุ ขทยั 5. กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสุโขทยั 6. กิจกรรมทา้ ยเร่อื งหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เหตกุ ารณ์ทางประวัติศาสตร์สมัยสโุ ขทยั 7. แบบทดสอบหลงั เรยี น สานกั งาน กศน. หวงั ว่า เม่ือผ้เู รยี นได้ศึกษาชดุ วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย พร้อมทา แบบทดสอบ ปฏิบัติ และทากิจกรรม ตามคาแนะนาอย่างสมบูรณ์ครบถ้วนแล้ว ผู้เรียนจะประสบ ความสาเรจ็ ในการศกึ ษาได้ สานกั งาน กศน. พฤษภาคม 2561

3 คาช้ีแจงการใชส้ มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้น้ี ใช้ประกอบชุดวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย สค12024 ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดวิชาตามที่กาหนด เพ่ือให้ผู้เรียนทราบความรู้ พนื้ ฐาน และตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนท้ายเล่ม หลงั จากนน้ั ผ้เู รียนศึกษาเน้ือหา ในชุดวิชาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และทากิจกรรมท้ายเร่ืองของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ใน สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม หากผู้เรียนทากิจกรรม ไม่ถูกต้องให้กลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่องนั้นให้เข้าใจ แล้วทากิจกรรมเรียนรู้ซ้าอีกครั้ง จนถูกต้อง เม่ือทากิจกรรมการเรียนรู้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้แล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนและ ตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม ในการทากิจกรรมการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนต้องทากิจกรรมด้วยตนเองให้ครบถ้วน ทุกกิจกรรม เพื่อให้การเรียนรู้ของผู้เรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบรรลุผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังของชดุ วิชานี้

1 สารบญั หน้า คานา คาช้แี จงการใช้สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ สารบญั แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความภูมใิ จในความเป็นชาตไิ ทย กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความเป็นมา และความสาคญั ของสถาบันหลกั ของชาติ 8 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 2 ความเปน็ มาของชาตไิ ทย กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 3 เสรีภาพในการนับถอื ศาสนาของไทย 10 กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 บญุ คุณของพระมหากษตั ริย์ไทยต้งั แต่สมัยสโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และรัตนโกสนิ ทร์ 11 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 พระมหากษตั รยิ ์ไทยและบรรพบรุ ุษในสมัยสโุ ขทัย กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 1 พระมหากษตั ริย์ไทยในสมัยสโุ ขทยั 14 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 2 พระราชประวัติและพระราชกรณียกจิ ทส่ี าคัญ ของพระมหากษตั ริยส์ มัยสุโขทัย 14 กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 วีรกรรมของบรรพบุรษุ สมัยสุโขทัย 15 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 1 มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย 16 กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 แนวทางในการสืบสานมรดกทางวฒั นธรรมสมยั สุโขทยั 20 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 เหตกุ ารณท์ างประวัตศิ าสตร์สมยั สโุ ขทยั กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 1 ความเปน็ มาของประวตั ศิ าสตรก์ ารบรหิ ารจัดการน้า 21 กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 การอย่กู ับน้าสมัยโบราณ 21 แบบทดสอบหลังเรียน 22

สารบญั (ตอ่ ) 2 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 29 เฉลย/แนวคาตอบกิจกรรมทา้ ยเรือ่ ง 30 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 43 คณะผ้จู ดั ทา 44

1 แบบทดสอบก่อนเรียน ใหผ้ เู้ รียนทาเครอื่ งหมาย × หนา้ ขอ้ ที่ถูกต้องทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดียว 1. ข้อใดไม่ใชอ่ งค์ประกอบของความเป็นชาติ ก. แผน่ ดนิ ข. ประชาชน ค. ความเจรญิ รงุ่ เรือง ง. ขนบธรรมเนยี มประเพณี 2. ข้อใดเกย่ี วข้องกบั หลกั และแนวทางประพฤตติ นในการดาเนนิ ชีวติ ทถี่ กู ต้องที่สุด ก. ชาติ ข. ศาสนา ค. ประเทศไทย ง. พระมหากษตั รยิ ์ 3. ขอ้ ใดไม่ใช่บทบาทหนา้ ทขี่ องพระมหากษัตริย์ไทยในปัจจบุ นั ก. บริหารงานราชการแผ่นดนิ ข. เปน็ ศนู ยร์ วมใจของคนไทยทั้งชาติ ค. ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ราษฎรเมื่อเกดิ ภัยพิบตั ิตา่ ง ๆ ง. ทานุบารงุ บ้านเมอื ง ศาสนา และเจรญิ สัมพนั ธไมตรกี ับต่างประเทศ 4. ขอ้ ใดเป็นทตี่ งั้ ของประเทศไทยในปจั จุบันตามสภาพภูมิศาสตร์ ก. เอเชยี กลาง ข. เอเชียตะวนั ออก ค. เอเชยี ตะวันตกเฉยี งใต้ ง. เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้

2 5. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเก่ียวกับการนบั ถอื ศาสนาของประเทศไทย ก. คนไทยทกุ คนมีเสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา ข. พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ องค์อคั รศาสนูปถัมภกของทุกศาสนา ค. รัฐบาลมหี นา้ ที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจกันระหวา่ งศาสนาตา่ ง ๆ ง. บุคคลตา่ งด้าวเมอื่ เขา้ มาสู่ประเทศไทยตอ้ งเปลีย่ นศาสนาทุกคน 6. ขอ้ ใดไม่ใช่พระนามของพระมหากษัตริยข์ องกรุงสุโขทยั ก. พ่อขนุ ผาเมอื ง ข. พ่อขนุ บานเมอื ง ค. พอ่ ขนุ รามคาแหง ง. พ่อขนุ ศรีอนิ ทราทติ ย์ 7. ใครเป็นกษตั รยิ ์พระองค์แรกของกรุงสุโขทัย ก. พอ่ ขุนรามคาแหง ข. พอ่ ขุนผาเมอื ง ค. พ่อขนุ บานเมือง ง. พ่อขนุ ศรอี ินทราทิตย์ 8. ข้อใดไม่ใช่พระราชกรณียกิจในสมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง ก. นพิ นธ์ไตรภมู พิ ระรว่ ง ข. ทรงประดษิ ฐ์อกั ษรไทย ค. ทรงเจริญสัมพันธไมตรีกบั จนี ง. การปกครองแบบพอ่ กับลูก 9. ขอ้ ใดคือกษตั ริยพ์ ระองค์แรกของกรงุ รัตนโกสินทร์ ก. พระเจ้าตากสนิ มหาราช ข. พระนเรศวรมหาราช ค. พระนารายณม์ หาราช ง. พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช

3 10. ข้อใดมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มปี ระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ ก. รชั กาลท่ี 4 ข. รชั กาลที่ 5 ค. รชั กาลท่ี 6 ง. รัชกาลที่ 7 11. ในสมยั ใดประเพณีลอยกระทงเกดิ ข้ึนเปน็ ครั้งแรก ก. กรงุ ศรอี ยุธยา ข. กรงุ สโุ ขทัย ค. กรุงธนบรุ ี ง. กรงุ รัตนโกสินทร์ 12. ใครเปน็ ผู้นพิ นธ์ไตรภูมิพระร่วง ก. พญาลไิ ท ข. พ่อขุนผาเมอื ง ค. พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทิตย์ ง. พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช 13. ประเพณีกนิ ส่ถี ว้ ย ใชเ้ ล้ียงในพธิ อี ะไร ก. งานขึน้ บ้านใหม่ ข. งานแต่งงาน ค. งานบวช ง. งานศพ 14. ขอ้ ใดไม่ใช่การปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ก. ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข. ปฏบิ ตั ิตามระเบียบของสังคม ค. มที ักษะในการอยรู่ ่วมกับผู้อนื่ อย่างสันติ ง. มเี สรีอย่างไรข้ องเขต

4 15. พระพทุ ธรปู สมัยสโุ ขทยั มีกี่หมวด อะไรบ้าง ก. 1 หมวด คอื หมวดพระพทุ ธชินราช ข. 2 หมวด คือ หมวดพระพทุ ธชนิ ราช หมวดใหญ่ ค. 3 หมวด คือ หมวดพระพุทธชินราช หมวดใหญ่ หมวดเบด็ เตลด็ ง. 4 หมวด คือ หมวดใหญ่ หมวดกาแพงเพชร หมวดพระพทุ ธชนิ ราช หมวดเบด็ เตลด็ 16. จงั หวัดใดคือเมืองละโว้ ก. อยธุ ยา ข. สพุ รรณบุรี ค. ลพบรุ ี ง. อ่างทอง 17. ขอ้ ใดมปี ระโยชนน์ ้อยท่ีสดุ ในการพฒั นาแหลง่ น้าเพอื่ การชลประทาน ก. การทดนา้ ข. การสง่ นา้ ค. การระบายน้า ง. การปอ้ งกนั โรค 18. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของการชลประทาน ก. เป็นเสน้ ทางคมนาคม ข. บรรเทาการเกิดอุทกภัย ค. ขยายเมืองใหก้ วา้ งขวาง ง. กักเกบ็ น้าไว้ใช้ในการเกษตร 19. ขอ้ ใดไม่ใช่วัตถุประสงค์หลกั ของการชลประทานสมัยสโุ ขทัย ก. การชลประทานเพื่อการอุปโภคบริโภค ข. การชลประทานเพือ่ การท่องเทย่ี ว ค. การชลประทานแบบเหมอื งฝาย ง. การชลประทานเพอ่ื การเกษตร

5 20. ข้อใดมีความหมายไม่ถกู ตอ้ ง ก. โซก – นา้ ตก ข. ตระพัง – สระ ค. สรดี ภงส–์ เขื่อน ง. ตระพังโพย – บอ่ นา้ 21. ขอ้ ใดเป็นธนาคารแหง่ แรกของประเทศไทย ก. กรงุ ไทย ข. ออมสนิ ค. กสิกรไทย ง. ไทยพาณิชย์ 22. สมัยใดมีการออกกฎหมายภาคบังคบั ใหค้ นไทยทุกคนตอ้ งเขา้ รบั การศกึ ษา ก. สมยั รัชกาลที่ 4 ข. สมยั รัชกาลที่ 5 ค. สมัยรัชกาลท่ี 6 ง. สมัยรชั กาลที่ 7 23. “วันภาษาไทยแหง่ ชาติ” ตรงกบั ข้อใด ก. 29 มถิ นุ ายน ข. 29 กรกฎาคม ค. 29 สงิ หาคม ง. 29 กันยายน 24. ใครเปน็ ผ้ทู รงประดิษฐ์อกั ษร “ลายสือไทย” ก. พอ่ ขุนศรีอนิ ทราทิตย์ ข. พ่อขนุ รามคาแหง ค. พอ่ ขนุ ผาเมอื ง ง. พ่อขนุ บานเมือง

6 25. ประโยชน์สงู สุดในการเรียนประวัตศิ าสตร์คอื ข้อใด ก. เพอ่ื ให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องราวอดีตสปู่ จั จบุ ัน ข. เพอ่ื คน้ คว้าข้อมูลขอ้ เท็จจรงิ ที่เชื่อมโยงจากอดตี สู่ปจั จบุ นั ค. เพ่ือตระหนกั และเหน็ คุณคา่ ของมรดกทางวัฒนธรรม ง. เพ่ือนาบทเรยี นทางประวตั ิศาสตรม์ าทบทวนเป็นแนวทางในการแกป้ ญั หาปัจจุบนั และอนาคต 26. ขอ้ ใดเป็นหวั ใจสาคญั ของทกุ ศาสนา ก. ละช่ัวประพฤติดี ข. ขจัดความโลภ โกรธ หลง ค. ทาจิตใจให้สะอาดบรสิ ุทธิ์ ง. แสดงกาเนดิ และสน้ิ สุดของโลก 27. ข้อใดไมใ่ ช่แหล่งน้าที่สาคญั สาหรบั การทาการเกษตรของสมยั สโุ ขทัย ก. ลานา้ ปงิ ข. ลาน้าวัง ค. ลานา้ ยม ง. ลานา้ น่าน 28. ขอ้ ใดเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสุโขทยั ก. เครอ่ื งเบญจรงค์ ข. เครอื่ งสังคโลก ค. เครือ่ งไทยธรรม ง. เครอ่ื งคาวหวาน

7 29. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การสืบสานมรดกทางวฒั นธรรม ก. การแต่งกายชดุ ไทยไปงานเลย้ี ง ข. การฟัง พดู อ่าน เขยี น ภาษาไทย ค. การชมศิลปะพ้นื บา้ นของไทย ง. การรับประทานอาหารบฟุ เฟต่ ์ 30. ข้อใดเปน็ หลกั ฐานสาคัญทางประวัตศิ าสตร์สมัยสุโขทยั ก. ศลิ าจารึก ข. สมุดข่อย ค. ใบลาน ง. จดหมายเหตุ

8 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ความภูมใิ จในความเปน็ ชาตไิ ทย กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความเป็นมา และความสาคญั ของสถาบนั หลกั ของชาติ จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. อธิบายความหมายของคาต่อไปนี้ ชาติ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... ศาสนา ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... พระมหากษัตริย์ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ..........................................................................................................................................................

9 2. อธิบายความสาคญั ของสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ มาอย่างละ 3 ขอ้ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 3. อธบิ ายความภาคภมู ิใจในความเปน็ คนไทย มาไม่นอ้ ยกว่า 3 ขอ้ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

10 กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 2 ความเป็นมาของชาติไทย กจิ กรรมท่ี 2.1 ใหท้ าเครื่องหมาย  หนา้ ขอ้ หากเห็นวา่ ถกู ตอ้ ง และทาเครือ่ งหมาย  หน้าขอ้ หากเห็นว่าไมถ่ ูกตอ้ ง ...... 1. ประเทศไทยในปัจจุบนั มีร่องรอยของการอยู่อาศยั มายาวนาน และมีพฒั นาการเป็น บา้ นเมืองมาจนถงึ ทุกวันน้ี ...... 2. ผทู้ ่ีอยู่อาศัยในประเทศไทย มาจากหลายเชอ้ื ชาติ ท้ังผู้อาศยั อยู่เดิมและผูอ้ พยพเขา้ มาเป็น ระยะเวลายาวนาน ...... 3. ประเทศไทยมีภมู ศิ าสตรท์ ่ีตัง้ อยู่ในทวปี อนิ โดนเี ซยี มีพ้นื ทต่ี ดิ มหาสมุทรอนิ เดีย ...... 4. ทาเลทีต่ ง้ั ของประเทศไทย มีการติดตอ่ ค้าขายแลกเปล่ียนและรับอารยธรรมของชาติต่าง ๆ ทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาเป็นเวลานาน ...... 5. ราชธานขี องประเทศไทยแหง่ แรก คือ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ...... 6. การสบื สานความเป็นมาท่ีทาให้เราเรียนรเู้ รื่องประวัติความเปน็ มาของชาติไทย จากรนุ่ หนง่ึ ไปสู่คนอีกรุน่ หนง่ึ ผ่านส่งิ ทเ่ี รยี กว่า “ภูมิปญั ญา” ...... 7. ผ้ทู ีไ่ ดช้ ่ือวา่ เป็น “คนไทย” ปจั จบุ ันสบื เชื้อสายมาจากหลายเชอ้ื ชาติ ผสมผสานมาอย่าง ยาวนาน ทั้งเชอ้ื ชาติมอญ ลาว เขมร อินเดีย เปอร์เซีย จนี บ้างก็มีเช้อื ชาตทิ างตะวันตก เช่น องั กฤษ โปรตุเกส และอืน่ ๆ ...... 8. อตั ลกั ษณ์ หรือลกั ษณะเฉพาะของคนไทย คอื ภาษาไทย มีธงชาติไทยเป็นสญั ลักษณ์ แสดงถงึ ความเปน็ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ เรยี กว่า ธงไตรรงค์ ...... 9. กล่มุ คนไทยที่ได้ก่อต้ังบ้านเมือง ณ ดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน มีความสัมพันธก์ ับ คนไทยในมณฑลต่าง ๆ ของประเทศลาว กมั พูชา พม่า ...... 10. การรวบรวมแผ่นดินไทยให้เปน็ ปกึ แผน่ มาจนถงึ ปจั จุบัน พระมหากษตั ริย์ไทยทุกพระองค์ และบรรพบรุ ษุ ของประเทศไทย มีความกล้าหาญ เสียสละชีวติ เพ่ือปกป้องผนื แผน่ ดนิ มาใหล้ กู หลานไดม้ ีชาติบ้านเมอื งมาจนถึงปจั จุบัน

11 กจิ กรรมที่ 2.2 ใหผ้ เู้ รียนไปค้นคว้า และเขียนรายงานเกยี่ วกบั พระมหากษตั รยิ ์ไทยที่ชอบมา 1 พระองค์ ในหัวข้อตอ่ ไปน้ี 1) ประวตั ิความเป็นมา พระบรมฉายาลักษณ์ 2) พระราชกรณียกจิ ในด้านต่าง ๆ 3) ความประทบั ใจที่มตี ่อพระองค์ทา่ น ใหน้ าเสนอ และเล่าให้เพ่อื น ๆ ฟงั ในการพบกลุ่ม กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 เสรภี าพในการนับถอื ศาสนาของไทย ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ศาสนามีความสาคัญกบั ชาตอิ ยา่ งไร ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

12 2. ประเทศไทยได้บญั ญัติหลักการเกยี่ วกับสทิ ธิ และเสรภี าพในการนับถือศาสนาตาม รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2540 โดยสรปุ ว่าอยา่ งไร .............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 3. ยกตัวอยา่ งพระมหากษตั ริย์ทีใ่ ห้เสรีภาพในทางดา้ นศาสนามา 1 พระองค์ .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

13 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 4 บญุ คุณของพระมหากษตั ริยไ์ ทยต้ังแตส่ มัยสุโขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ ให้ผู้เรียนอธบิ ายบญุ คณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ทมี่ ีต่อบ้านเมอื งมา 2 ขอ้ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

14 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 พระมหากษตั รยิ ์ไทยและบรรพบรุ ษุ ในสมยั สุโขทยั กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 1 พระมหากษตั ริยไ์ ทยในสมัยสุโขทยั ใหผ้ เู้ รียนบอกชื่อพระมหากษตั ริย์ในสมยั สโุ ขทัยมาอย่างนอ้ ย 5 พระองค์ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 2 พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจท่สี าคญั ของพระมหากษัตริย์ สมัยสุโขทัย ให้ผู้เรียนอธิบายประวัติและพระราชกรณียกิจท่ีสาคัญของพระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย มาอยา่ งน้อย 1 พระองค์ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

15 กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 3 วีรกรรมของบรรพบุรษุ สมัยสุโขทัย ให้ผู้เรียนบอกความประทับใจในวีรกรรมของบรรพบุรุษสมัยสุโขทัยท่ีมีคุณงามความดี ทสี่ ามารถนามาเป็นแบบอย่างในชวี ติ ของตนเองได้ ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

16 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 มรดกทางวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทยั กิจกรรมที่ 1.1 ประเพณีลอยกระทง เผาเทยี น เลน่ ไฟ จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ความเชื่อเร่อื ง ลอยประทีปในสมยั สุโขทัย ไดร้ ับอิทธิพลมาจากใคร ................................................................................................................................................ 2. สมยั สโุ ขทยั ไม่ใชค้ าว่า “ลอยกระทง” เหมือนในปจั จุบนั แตใ่ ช้คาว่าอะไร ................................................................................................................................................ 3. หลักฐานเก่ียวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เลน่ ไฟ ปรากฏในหลกั ฐานอะไร ................................................................................................................................................ 4. การเผาเทียน ในสมยั สุโขทัย หมายถึงอะไร ................................................................................................................................................ 5. การเล่นไฟ ในสมยั สุโขทัย หมายถงึ อะไร ................................................................................................................................................ กจิ กรรมที่ 1.2 พนมเบยี้ พนมหมาก พนมดอกไม้ จงอธบิ ายถึงการใชพ้ นมเบ้ีย พนมหมาก พนมดอกไม้ วา่ ใช้ทาอะไร ตามหลักฐานศิลาจารกึ หลักที่ 1 ด้านท่ี 2 บรรทัดท่ี 13 – 17 ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

17 กิจกรรมท่ี 1.3 ลายสอื ไทย ก. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช จงจับคู่ใหถ้ กู ต้อง ข. หลกั ฐานทป่ี รากฏลายสือไทย ค. อกั ษรตัวเหลี่ยม ......... 1. พ.ศ. 1826 ง. ปีที่ประดษิ ฐล์ ายสือไทย ......... 2. ประดษิ ฐล์ ายสือไทย จ. เขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ......... 3. ศิลาจารึก หลกั ที่ 1 ......... 4. หลกั การเขยี นลายสือไทย อยใู่ นบรรทัดเดยี วกัน ......... 5. ลักษณะตวั อกั ษรลายสอื ไทย กิจกรรมที่ 1.4 ไตรภมู ิพระรว่ ง จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ไตรภมู ิพระร่วง แต่งโดยใคร เมอ่ื ใด ................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... 2. ไตรภูมิพระร่วง มเี นอื้ หาครอบคลมุ พระไตรปฎิ กในเร่ืองใดบา้ ง ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 3. วตั ถุประสงคใ์ นการแต่งไตรภมู ิพระรว่ ง มอี ะไรบา้ ง ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

18 กิจกรรมท่ี 1.5 เคร่ืองสงั คโลก ใหผ้ เู้ รียนทารายงานเกี่ยวกบั เคร่ืองสังคโลกสมัยสโุ ขทยั มาอยา่ งนอ้ ย 5 หนา้ กระดาษ A4 กิจกรรมท่ี 1.6 ประเพณีกนิ ส่ีถว้ ย จงตอบคาถามให้ถกู ต้อง 1. ประเพณกี ินส่ถี ว้ ย ใช้เลยี้ งในพธิ ีอะไร ................................................................................................................................................ 2. ขนม 4 อย่าง ในประเพณีกินสี่ถ้วย มีช่ือเรียกว่าอะไรบ้าง ................................................................................................................................................ 3. จงจับคูใ่ ห้ถกู ต้อง ......... 1. ไขก่ บ ก. เม็ดแมงลกั ......... 2. นกปล่อย ข. ขา้ วเหนียวดา ......... 3. มะลลิ อย ค. ลอดช่อง ......... 4. อา้ ยตือ้ ง. ข้าวตอก กิจกรรม 1.7 ดนตรไี ทยและดนตรพี ้นื บ้านสมัยสโุ ขทยั 1. จงจบั คใู่ ห้ถูกต้อง ......... 1. เสยี งพาด หรือเสยี งพาทย์ ก. การร้องเพลงโตต้ อบโดยใชเ้ สียงปรบมอื ......... 2. เสียงพิณ กากบั จังหวะ ......... 3. เสียงเลื้อน ข. เครือ่ งดนตรปี ระเภทเคร่ืองดีด ......... 4. เสยี งขบั ค. การร้องเพลงรว่ มกบั ดนตรี ง. เสียงเคร่ืองดนตรปี ระกอบเครื่องตี

19 2. จงตอบคาถามต่อไปน้ี 2.1 วงแตรสังข์ ประกอบดว้ ยเครือ่ งดนตรอี ะไรบ้าง ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.2 วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบดว้ ยเครอ่ื งดนตรีอะไรบ้าง ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.3 เครอ่ื งดนตรมี ังคละ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีอะไรบ้าง ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... 2.4 เครือ่ งดนตรีเครือ่ งสาย ที่มีในสมัยสโุ ขทัย มอี ะไรบ้าง ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... กิจกรรม 1.8 สถาปตั ยกรรมและปฏมิ ากรรมสมัยสโุ ขทัย จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. เจดยี ์สมยั สโุ ขทัย มีก่ีแบบ อะไรบ้าง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

20 2. พระพทุ ธรปู สมัยสุโขทัย มีกีห่ มวด อะไรบ้าง ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 แนวทางการสบื สานมรดกทางวฒั นธรรมสมยั สโุ ขทัย ใหผ้ ูเ้ รียนจดั ทารายงานเรื่องประเพณี วัฒนธรรมสมยั สโุ ขทัย ความยาว 2 หนา้ กระดาษ A4

21 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 เหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตรส์ มัยสุโขทยั กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 1 ความเป็นมาของประวัตศิ าสตรก์ ารบรหิ ารจดั การน้า การต้ังถน่ิ ฐานบ้านเรอื นสมยั สุโขทยั พจิ ารณาจากส่ิงใดเปน็ สาคญั ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………................................................................................... กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 การอยกู่ ับนา้ ในสมยั โบราณ อธิบายประโยชน์ของระบบชลประทาน (เหมือง ฝาย ทานบ) ทม่ี ีตอ่ ชาวสโุ ขทัย ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………......................................................................................

22 แบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ขอ้ ใดเปน็ ทต่ี ้ังของประเทศไทยในปจั จุบันตามสภาพภมู ิศาสตร์ ก. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข. เอเชยี ตะวันตกเฉียงใต้ ค. เอเชียตะวนั ออก ง. เอเชียกลาง 2. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบความเปน็ ชาติ ก. ขนบธรรมเนยี มประเพณี ข. ความเจรญิ รงุ่ เรือง ค. ประชาชน ง. แผน่ ดิน 3. ขอ้ ใดเกีย่ วข้องกับหลักและแนวทางการประพฤติตน ในการดาเนนิ ชวี ติ ทีถ่ กู ตอ้ งท่สี ดุ ก. ชาติ ข. ศาสนา ค. ประเทศไทย ง. พระมหากษัตรยิ ์ 4. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกีย่ วกบั การนับถอื ศาสนาของประเทศไทย ก. บคุ คลตา่ งดา้ วเม่ือเขา้ มาสู่ประเทศไทยตอ้ งเปล่ียนศาสนาทกุ คน ข. รฐั บาลมีหน้าท่ีชว่ ยใหเ้ กิดความเข้าใจกนั ระหว่างศาสนาตา่ ง ๆ ค. พระมหากษัตริยท์ รงเป็นองคอ์ คั รศาสนปู ถัมภกของทกุ ศาสนา ง. คนไทยทุกคนมีเสรีภาพในการนบั ถือศาสนา

23 5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่บทบาทหนา้ ที่ของพระมหากษัตรยิ ์ไทยในปจั จุบัน ก. ทานุบารุงบา้ นเมือง ศาสนา และเจรญิ สัมพันธไมตรีกบั ตา่ งประเทศ ข. ให้การช่วยเหลอื ราษฎรเม่ือเกดิ ภัยพิบัตติ า่ ง ๆ ค. เปน็ ศนู ย์รวมใจของคนไทยทงั้ ชาติ ง. บริหารงานราชการแผ่นดิน 6. ใครเปน็ กษัตรยิ ์พระองคแ์ รกของกรุงสโุ ขทยั ก. พอ่ ขุนศรีอินทราทติ ย์ ข. พ่อขุนบานเมอื ง ค. พ่อขนุ ผาเมอื ง ง. พญาเลอไท 7. ข้อใดไมใ่ ช่พระนามพระมหากษตั รยิ ์ในสมัยสุโขทยั ก. พอ่ ขนุ ศรีอินทราทติ ย์ ข. พอ่ ขนุ รามคาแหง ค. พ่อขุนบานเมอื ง ง. พ่อขนุ ผาเมือง 8. การปราบขอมสบาดโขลญลาพง เปน็ วีรกรรมของใคร ก. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ข. พ่อขุนบานเมือง ค. พอ่ ขนุ ผาเมือง ง. พญาง่วั นาถม 9. ขอ้ ใดตอ่ ไปนีเ้ ป็นพระราชกรณยี กิจในสมัยพอ่ ขนุ รามคาแหง ก. นพิ นธ์ไตรภูมิพระรว่ ง ข. ทรงประดิษฐอ์ ักษรไทย ค. มาเจรญิ สัมพนั ธไ์ มตรีกบั ฝร่งั เศส ง. นพิ นธห์ นังสอื จนิ ดามณี

24 10. ในสมยั พญาลไิ ท แควน้ ใดท่ีพระองค์ไม่ได้ส่งพระสงฆ์ช้นั ผใู้ หญอ่ อกไปเผยแผ่ธรรม ก. หลวงพระบาง ข. เมืองละโว้ ค. เมืองนา่ น ง. อโยธยา 11. ใครเป็นผนู้ ิพนธ์ “ไตรภูมพิ ระร่วง” ก. พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ข. พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ ค. พ่อขุนผาเมือง ง. พญาลไิ ท 12. ประเพณีกนิ ส่ถี ว้ ย ใชเ้ ลี้ยงในพิธีอะไร ก. งานศพ ข. งานบวช ค. งานแตง่ งาน ง. งานข้นึ บา้ นใหม่ 13. ตามศิลาจารกึ หลักท่ี 1 ประเพณลี อยกระทงในสมยั สโุ ขทัย เรียกวา่ อะไร ก. พลุ ตะไล ข. เผาเทียน เล่นไฟ ค. ไฟพะเนียง ง. ดอกไมไ้ ฟ 14. เครือ่ งดนตรสี มยั สุโขทยั ข้อใดทใ่ี ช้ในงานศพ ก. พิณและซอสามสาย ข. วงป่พี าทย์เคร่ืองห้า ค. วงดนตรีมงั คละ ง. วงแตรสงั ข์

25 15. พระพุทธรปู สมัยสุโขทยั มีก่ีหมวด อะไรบ้าง ก. 1 หมวด คือ หมวดพระพุทธชินราช ข. 2 หมวด คือ หมวดพระพุทธชนิ ราช หมวดใหญ่ ค. 3 หมวด คือ หมวดพระพุทธชินราช หมวดใหญ่ หมวดเบด็ เตลด็ ง. 4 หมวด คือ หมวดใหญ่ หมวดกาแพงเพชร หมวดพระพุทธชนิ ราช หมวดเบ็ดเตล็ด 16. ขอ้ ใดไม่ใช่วตั ถปุ ระสงคห์ ลักของการชลประทานในเขตเมอื งสโุ ขทัย ก. การชลประทานเพอื่ การเกษตร ข. การชลประทานแบบเหมืองฝาย ค. การชลประทานเพ่อื การท่องเที่ยว ง. การชลประทานเพอื่ การอุปโภคบรโิ ภค 17. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชนข์ องการชลประทาน ก. กกั เก็บน้าไว้ใช้ในการเกษตร ข. ขยายเมืองใหก้ ว้างขวาง ค. บรรเทาการเกิดอุทกภยั ง. เปน็ เส้นทางคมนาคม 18. จงั หวดั ใด คอื เมืองละโว้ ก. อยธุ ยา ข. สพุ รรณบรุ ี ค. ลพบรุ ี ง. อ่างทอง 19. ข้อใดมีความหมายไม่ถกู ตอ้ ง ก. ตระพังโพย – บอ่ นา้ ข. สรีดภงส์– เขือ่ น ค. ตระพงั – สระ ง. โซก – น้าตก

26 20. ขอ้ ใดเปน็ ประโยชน์น้อยท่ีสดุ ของการพัฒนาแหลง่ น้าในการชลประทาน ก. การป้องกันโรค ข. การระบายน้า ค. การทดน้า ง. การสง่ น้า 21.ข้อใดเปน็ หวั ใจสาคัญของทุกศาสนา ก. ขจัดความโลภ โกรธ หลง ข. แสดงกาเนดิ และสนิ้ สดุ ของโลก ค. ละความช่ัวประพฤติแตค่ วามดี ง. ทาจิตใจให้สะอาดบรสิ ุทธ์ิ 22. “วันภาษาไทยแหง่ ชาติ” ตรงกับข้อใด ก. 29 กรกฎาคม ข. 29 สิงหาคม ค. 29 กันยายน ง. 29 มิถนุ ายน 23. ข้อใดเปน็ หลักฐานสาคัญทางประวัติศาสตร์สมัยสุโขทยั ก. ใบลาน ข. ศลิ าจารกึ ค. สมดุ ข่อย ง. จดหมายเหตุ 24.ขอ้ ใดเปน็ ธนาคารแห่งแรกของประเทศไทย ก. ไทยพาณชิ ย์ ข. กสิกรไทย ค. กรงุ ไทย ง. ออมสนิ

27 25. ข้อใดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย ก. เครื่องคาวหวาน ข. เครือ่ งไทยธรรม ค. เครื่องเบญจรงค์ ง. เครอ่ื งสงั คโลก 26. ประโยชนส์ ูงสดุ ในการเรียนประวตั ศิ าสตร์คอื ข้อใด ก. เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเร่อื งราวอดตี ส่ปู จั จบุ ัน ข. เพื่อตระหนักและเห็นคุณคา่ ของมรดกทางวฒั นธรรม ค. เพอ่ื นาบทเรียนทางประวตั ศิ าสตรม์ าทบทวนเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา ปจั จุบนั และอนาคต ง. เพือ่ สามารถคน้ คว้าข้อมลู ข้อเท็จจริงท่ีมีความเช่ือมโยงมาจากอดีตไปสปู่ ัจจบุ นั 27. สมัยใดมีการออกกฎหมายภาคบังคับให้คนไทยทุกคนต้องเขา้ รับการศกึ ษา ก. สมัยรัชกาลท่ี 5 ข. สมัยรัชกาลที่ 4 ค. สมยั รัชกาลท่ี 7 ง. สมัยรชั กาลที่ 6 28. ข้อใดไม่ใช่การสบื สานมรดกทางวัฒนธรรม ก. การชมศิลปะพน้ื บา้ นของไทย ข. การรับประทานอาหารบุฟเฟ่ต์ ค. การแต่งกายชดุ ไปไทยไปงานเล้ยี ง ง. การฟัง พดู อา่ น เขียน ภาษาไทย

28 29. ใครเป็นผูท้ รงประดษิ ฐ์อกั ษร “ลายสอื ไทย” ก. พ่อขุนศรอี ินทราทิตย์ ข. พ่อขุนบานเมอื ง ค. พอ่ ขนุ ผาเมอื ง ง. พอ่ ขนุ รามคาแหง 30. ข้อใดไม่ใช่แหล่งน้าท่ีสาคญั สาหรับการทาการเกษตรของสมยั สุโขทยั ก. ลานา้ ยม ข. ลาน้าปงิ ค. ลาน้าวัง ง. ลานา้ น่าน

29 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ค 11. ข 21. ง 2. ข 12. ก 22. ก 3. ก 13. ข 23. ข 4. ง 14. ง 24. ข 5. ง 15. ง 25. ง 6. ก 16. ค 26. ก 7. ง 17. ง 27. ข 8. ก 18. ค 28. ข 9. ง 19. ข 29. ง 10. ง 20. ก 30. ก

30 เฉลย/แนวคาตอบกจิ กรรมท้ายเร่ือง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ความภูมิใจในความเปน็ ชาติไทย กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความเป็นมา และความสาคญั ของสถาบันหลกั ของชาติ จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. อธบิ ายความหมายของคาตอ่ ไปนี้ ชาติ ตอบ หมายถึง กลมุ่ ชนทีม่ คี วามรูส้ กึ ในเร่ืองเชอื้ ชาติ ศาสนา ภาษา ประวัตศิ าสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาล เดยี วกนั ศาสนา ตอบ หมายถึง ลทั ธิความเชอ่ื ของมนุษย์อันมหี ลกั คอื แสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของ โลก อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเก่ียวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่าย ศีลธรรมประการหน่ึง พร้อมท้ังลัทธิ พิธีท่ีกระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเช่ือถือ นั้น ๆ พระมหากษัตริย์ ตอบ หมายถึง พระเจ้าแผ่นดินผู้เป็นประมุขของประเทศ มีหน้าที่ปกครองพลเมือง ในประเทศใหอ้ ย่ดู ีมีสุขตามกฎหมาย ตามครรลองธรรม จารตี ประเพณี วัฒนธรรมของชาติ 2. อธบิ ายความสาคัญของสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ มาอย่างละ 3 ขอ้ ตอบ ความสาคัญของสถาบันชาติ 1. เป็นทอี่ ย่อู าศัยของผู้คนในชาตนิ นั้ ๆ 2. มีภาษา ขนบธรรมเนียมอันเปน็ เอกลักษณ์ รวมถงึ วถิ ชี วี ิตของคนในชาติ 3. มีการสบื ทอดประเพณวี ฒั นธรรมอนั ดีงาม

31 ความสาคัญของสถาบันศาสนา 1. ศาสนามีคาส่ังสอนให้มนุษย์ประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สงั คม และประเทศชาติ 2. ศาสนาเป็นเคร่ืองบาบัดทุกข์ และบารุงสุขให้แก่มนุษย์ ทั้งร่างกาย และจิตใจ ทาให้มี ความสงบสขุ ในชีวติ 3. ศาสนาช่วยสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีต่อกัน ช่วยขจัดช่องว่างทางสังคม สร้างความ ไวว้ างใจซ่ึงกันและกนั ใหเ้ กิดข้นึ เป็นรากฐานแห่งความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชน และ สรา้ งความสงบสขุ ความมั่นคงใหแ้ ก่ชมุ ชน ความสาคญั ของสถาบันพระมหากษัตริย์ 1. ทรงกอบกู้เอกราชของชาติ ด้วยความกล้าหาญและเสียสละ ให้เกิดการรวมชาติ เปน็ ปึกแผน่ มาจนถึงปัจจุบัน 2. ทรงปกครองประเทศชาติบ้านเมืองด้วยหลักธรรม มีทศพิธราชธรรม ปกครองประชาชน ให้มีความสุข ทานุบารุงบา้ นเมือง ศาสนา และสงั คมมาจนถงึ ปจั จุบัน 3. เป็นศูนย์รวมของความรักความสามัคคี รวมน้าใจของคนไทยท้ังชาติ ให้เป็นน้าหนึ่งใจ เดยี วกนั ประพฤติตนเป็นคนดี มคี วามจงรักภักดีตอ่ พระมหากษตั รยิ ์ 3. อธิบายความภาคภมู ิใจในความเป็นคนไทย มาไม่น้อยกวา่ 3 ข้อ ตอบ 1. มีประวัติศาสตร์ มีอารยธรรม ประเพณีและศิลปวัฒนธรรมอันโดดเด่นไม่แพ้ชาติใด ในโลก 2. ตาแหน่งที่ต้ังของประเทศไทยในปัจจุบันมีความได้เปรียบด้านการค้า การคมนาคม ทางบก ทางน้า และทางอากาศ 3. มีภาษาของตนเอง ท้ังภาษาพดู และภาษาเขยี นเป็นภาษาประจาชาตไิ ทย

32 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 2 ความเป็นมาของชาติไทย กจิ กรรมท่ี 2.1 ให้ทาเคร่อื งหมาย  หนา้ ขอ้ หากเหน็ วา่ ถกู ตอ้ ง และทาเครือ่ งหมาย  หนา้ ข้อหากเหน็ วา่ ไมถ่ ูกต้อง ...... 1. ประเทศไทยในปัจจุบันมีร่องรอยของการอยู่อาศัยมายาวนาน และมีพัฒนาการเป็น บ้านเมืองมาจนถึงทุกวนั นี้ ...... 2. ผู้ที่อยู่อาศัยในประเทศไทย มาจากหลายเช้ือชาติ ท้ังผู้อาศัยอยู่เดิมและผู้อพยพเข้ามา เป็นระยะเวลายาวนาน ...... 3. ประเทศไทยมีภูมิศาสตรท์ ีต่ ั้งอยใู่ นทวปี อินโดนีเซยี มีพนื้ ทต่ี ดิ มหาสมุทรอินเดยี ...... 4. ทาเลท่ตี ้ังของประเทศไทย มีการติดตอ่ ค้าขายแลกเปล่ียนและรับอารยธรรมของชาติต่าง ๆ ทีเ่ ดนิ ทางเข้ามาเปน็ เวลานาน ...... 5. ราชธานีของประเทศไทยแหง่ แรก คอื กรุงรตั นโกสินทร์ ...... 6. การสืบสานความเป็นมาที่ทาให้เราเรียนรู้เร่ืองประวัติความเป็นมาของชาติไทย จากรนุ่ หน่ึงไปส่คู นอกี รุ่นหน่ึง ผา่ นสงิ่ ทีเ่ รยี กวา่ “ภูมิปญั ญา” ...... 7. ผู้ที่ได้ช่ือว่าเป็น “คนไทย” ปัจจุบันสืบเช้ือสายมาจากหลายเช้ือชาติ ผสมผสานมาอย่าง ยาวนาน ทั้งเช้ือชาติมอญ ลาว เขมร อินเดีย เปอร์เซีย จีน บ้างก็มีเชื้อชาติทางตะวันตก เชน่ อังกฤษ โปรตุเกส และอ่นื ๆ ...... 8. อัตลักษณ์ หรือลักษณะเฉพาะของคนไทย คือ ภาษาไทย มีธงชาติไทยเป็นสัญลักษณ์ แสดงถึงความเปน็ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เรยี กว่า ธงไตรรงค์ ..…..... 9. กลุ่มคนไทยท่ีได้ก่อต้ังบ้านเมือง ณ ดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน มีความสัมพันธ์กับ คนไทยในมณฑลต่าง ๆ ของประเทศลาว กมั พชู า พม่า ...... 10. การรวบรวมแผน่ ดินไทยให้เป็นปึกแผ่นมาจนถึงปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ และบรรพบุรุษของประเทศไทย มีความกล้าหาญ เสียสละชีวิตเพื่อปกป้องผืนแผ่นดิน มาใหล้ ูกหลานไดม้ ีชาตบิ า้ นเมอื งมาจนถงึ ปจั จบุ นั

33 กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 3 เสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนาของไทย ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ศาสนามคี วามสาคัญกับชาตอิ ยา่ งไร ตอบ ทกุ ศาสนาสอนใหค้ นเป็นคนดี มีหลกั คาสอนใหป้ ระพฤตปิ ฏบิ ัติ อยรู่ วมกันไดอ้ ยา่ ง สันตสิ ุข มีเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ มีหลักดาเนินชีวิตท่ีถูกต้อง เม่ือศาสนิกชนเป็นคนดีแล้ว สังคม ยอ่ มปราศจากความเดอื ดรอ้ น ประเทศชาติกส็ งบสุข แมน้ ับถอื ศาสนาตา่ งกนั 2. ประเทศไทยได้บัญญัติหลักการเก่ียวกับสิทธิ และเสรีภาพในการนับถือศาสนาตาม รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 โดยสรปุ ว่าอยา่ งไร ตอบ 1. บคุ คลยอ่ มมเี สรภี าพในการนับถือศาสนา นกิ ายของศาสนาหรือลัทธินิยมในศาสนา 2. บคุ คลย่อมมเี สรีภาพในการปฏิบัติตนตามท่ีศาสนาบญั ญัติไว้ หรือปฏบิ ตั ติ นตาม พธิ ีกรรมความเชือ่ โดยไมข่ ัดแยง้ กบั หน้าท่ีพลเมือง และขัดต่อความสงบเรียบร้อย ศีลธรรมอันดีของ ประชาชน 3. รัฐตอ้ งใหค้ วามคุม้ ครองบุคคลในชาติ ใหป้ ฏิบัตพิ ิธีกรรมตามความเชือ่ ของแตล่ ะ ศาสนา โดยไม่ทาการใด ๆ อันเป็นการริดรอนสิทธิหรือเสียประโยชน์ เพราะสาเหตุที่นับถือศาสนา นิกายของศาสนา ลทั ธนิ ยิ มในทางศาสนา หรือปฏิบัตพิ ิธกี รรมตามความเชอ่ื ต่างกัน 3. ใหย้ กตัวอย่างพระมหากษัตรยิ ท์ ่ีใหเ้ สรภี าพในทางดา้ นศาสนา มา 1 พระองค์ ตอบ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงบรจิ าคพระราชทรัพยส์ รา้ งมสั ยิด อิสลามและพระราชทานท่ีดินติดต่อกับมัสยิด เพื่อสร้างเป็นโรงเรียนสาหรับผู้นับถือศาสนาอิสลาม และยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์แก่นักสอนคริสต์ศาสนา ทั้งโปรแตสแตนต์และ คาทอลิกเพื่อสร้างและบารุงอุดหนุนการจัดตั้งโรงเรียนและพระราชทานที่ดิ นให้สร้างโบสถ์ของ สภาคริสตจักร รมิ ถนนสาทร พระราชทานเงนิ อดุ หนุนแกโ่ รงพยาบาลของคณะมิชชนั นารหี ลายแห่ง

34 กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 4 บญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยตงั้ แตส่ มยั สโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสนิ ทร์ ให้ผเู้ รียนอธิบายบุญคุณของพระมหากษัตริยท์ ม่ี ีต่อบา้ นเมอื งมา 2 ข้อ 1. ด้านการรวบรวมความเปน็ ปกึ แผ่นของประเทศชาติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากพม่า และได้ทาสงครามกับพม่า และเขมร จนราชอาณาจกั รไทยเป็นปกึ แผน่ มน่ั คง 2. ด้านการปกครอง พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ทรงปกครองแบบพ่อปกครองลูก มีกระด่ิงไว้เพื่อให้ประชาชน สามารถร้องทุกข์ ร้องเรียน เรื่องราวต่างๆ ท่ีเป็นความทุกข์ยาก เพื่อให้พระมหากษัตริย์รับทราบ และหาทางแก้ไขปญั หาตา่ งๆ

35 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 พระมหากษตั รยิ ์ไทยและบรรพบรุ ษุ ในสมยั สุโขทัย กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 1 พระมหากษัตรยิ ์ไทยในสมัยสุโขทยั ใหผ้ ูเ้ รียนบอกชือ่ พระมหากษัตริย์ในสมัยสโุ ขทยั มาอย่างน้อย 5 พระองค์ ตอบ 1. พอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย์ 2. พอ่ ขุนบานเมือง 3. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 4. พญาเลอไท 5. พญาง่วั นาถม 6. พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พญาลิไท) 7. พระมหาธรรมราชาที่ 2 8. พระมหาธรรมราชาท่ี 3 (พญาไสลอื ไทย) 9. พระมหาธรรมราชาที่ 4 (พญาบานเมอื งองค์ท่ี 2) กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 2 พระราชประวัติและพระราชกรณียกจิ ทีส่ าคญั ของพระมหากษตั ริย์ สมัยสุโขทยั ให้ผู้เรียนอธิบายประวัติและพระราชกรณียกิจท่ีสาคัญของพระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย มาอยา่ งน้อย 1 พระองค์ ตอบ 1. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ มีพระนามเดิมว่า พ่อขุนบางกลางหาว ได้ร่วมมือกับ พระสหาย คือ พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด รวมกาลังคนไทยทาสงครามขับไล่เขมรที่ปกครอง สุโขทัย พ่อขุนบางกลางหาวได้เสวยราชย์เป็นกษัตริย์ปกครองกรุงสุโขทัย ทรงพระนามว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นต้นราชวงศ์พระร่วง มีพระมเหสีช่ือ นางเสือง มีพระราชโอรสพระราชธิดา รวม 5 องค์

36 อาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ มีการขยายอาณาเขตโดยรวมเมือง ต่าง ๆ เข้ากับเมืองสุโขทัย ในสมัยขุนสามชน เจ้าเมืองฉอด ชนชาวไทยกลุ่มหน่ึงยกทัพมาตี เมืองตากให้เป็นเมืองข้ึนสุโขทัย และได้เสด็จไปนครศรีธรรมราช เพ่ือรับลัทธิศาสนาพุทธหินยาน และพระพุทธสหิ ิงคม์ าแผข่ ยายท่ัวราชอาณาจักร 2. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นพระราชโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และเป็นอนุชา ของพ่อขุนบานเมือง มีพระนามเดิมว่า ขุนรามราช เมื่อมีพระชนมายุได้ 19 ปี ได้ช่วย พระราชบิดาออกสู้รบในการสงครามกับขุนสามชน เจ้าเมืองฉอด จนรบชนะ จึงได้พระนามว่า “พระรามคาแหง” เสด็จขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 1822 ในรัชสมัยของพระองค์บ้านเมือง เจริญรุง่ เรืองจนประชาชนไดร้ บั ความสุขทเ่ี รียกวา่ “ไพรฟ่ ้าหนา้ ใส” มีการปกครองแบบพ่อปกครอง ลูก มกี ารทาสงครามขยายอาณาเขตไปอย่างกว้างขวาง สร้างพระแท่นมนังคศิลาบาตร สร้างทานบ กักเก็บน้า ส่งเสริมการค้าขายด้วยการไม่เก็บภาษี ประดิษฐ์อักษรไทย ส่งเสริมพระพุทธศาสนา โปรดให้จารึกเร่ืองราวที่เกิดขึ้นในสมัยของพระองค์ในศิลาจารึก และมีการเจริญสัมพันธไมตรีกับ ตา่ งประเทศ 3. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลไิ ท) เปน็ พระโอรสของพญาเลอไท มีพระนามเดิมว่าพญา ลไิ ท ก่อนขึ้นครองราชย์ทรงเป็นพระมหาอปุ ราชครองเมืองศรีสัชนาลัย ในปี พ.ศ. 1890 ทรงยก ทัพมารบและประหารศัตรูท่ีเมืองสุโขทัย แล้วปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ทรงรวบรวมอาณาจักร สโุ ขทัยใหเ้ ป็นปกึ แผ่นขน้ึ อกี คร้ังหนง่ึ กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 วรี กรรมของบรรพบุรษุ สมัยสุโขทยั ให้ผู้เรียนบอกความประทับใจในวีรกรรมของบรรพบุรุษสมัยสุโขทัยที่มีคุณงามความดีท่ี สามารถนามาเป็นแบบอย่างในชวี ิตของตนเองได้ ตอบ พอ่ ขนุ ผาเมอื ง เป็นเจ้าเมืองราด มีความสามารถ ดังนี้ 1. มคี วามรู้ความสามารถในการใชย้ ุทธวธิ ีท่ีจะกอบก้บู ้านเมืองจนรบชนะขอมสบาดโขลญลาพง 2. มคี วามเสียสละ เหน็ ประโยชน์ส่วนรวมเพื่อประเทศชาตมิ ากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ดังจะ เหน็ ได้จากยกเมืองท่ตี ีได้ใหพ้ ่อขุนบางกลางหาวปกครอง

37 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 มรดกทางวัฒนธรรมสมยั สโุ ขทัย กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 มรดกทางวฒั นธรรมสมัยสุโขทัย กจิ กรรมท่ี 1.1 ประเพณีลอยกระทง เผาเทยี น เลน่ ไฟ จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ความเชอื่ เร่ือง ลอยประทีปในสมัยสโุ ขทัย ได้รบั อิทธิพลมาจากใคร ตอบ อารยธรรมขอม 2. สมัยสโุ ขทัยไม่ใช้คาว่า “ลอยกระทง” เหมือนในปจั จุบัน แต่ใชค้ าว่าอะไร ตอบ เผาเทียน เล่นไฟ 3. หลกั ฐานเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทยี น เลน่ ไฟ ปรากฎในหลักฐานอะไร ตอบ ศิลาจารกึ หลกั ที่ 1 ดา้ นท่ี 2 4. การเผาเทียน ในสมยั สโุ ขทัย หมายถึงอะไร ตอบ การจุดเทยี นบชู าสิง่ ศักดสิ์ ิทธ์ิ 5. การเลน่ ไฟ ในสมัยสโุ ขทยั หมายถึงอะไร ตอบ การจดุ ดอกไม้ไฟ กิจกรรมที่ 1.2 พนมเบยี้ พนมหมาก พนมดอกไม้ จงอธิบายถึงการใช้พนมเบ้ีย พนมหมาก พนมดอกไม้ ว่าใช้ทาอะไร ตามหลักฐานศิลาจารึก หลกั ท่ี 1 ดา้ นที่ 2 บรรทัดท่ี 13 – 17 ตอบ ความในศลิ าจารกึ หลักที่ 1 ดา้ นท่ี 2 บรรทดั ที่ 13 – 17 มีความวา่ “เมื่อออกพรรษา กรานกฐิน เดือนณึ่งจึ่งแล้ว เมื่อกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม้ มีหมอนน่ังหมอนโนน บริพารกฐินโอยทาน แล่ปีแล้ญิบล้าน ไปสูดญัติกฐิน ถึงอรัญญิกพู้น”

38 จากข้อความดงั กลา่ ว แสดงใหท้ ราบว่า พนมเบยี้ พนมหมาก และพนมดอกไม้ ใช้เป็นเคร่ือง ไทยธรรม สาหรบั ถวายพระสงฆใ์ นพิธกี รานกฐิน กิจกรรมท่ี 1.3 ลายสือไทย ก. พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช จงจบั ค่ใู หถ้ กู ตอ้ ง ข. หลกั ฐานที่ปรากฏลายสือไทย ค. อักษรตัวเหลยี่ ม ....ง..... 1. พ.ศ. 1826 ง. ปีท่ีประดิษฐล์ ายสอื ไทย ....ก..... 2. ประดษิ ฐล์ ายสือไทย จ. เขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ....ข..... 3. ศิลาจารกึ หลกั ท่ี 1 ....จ..... 4. หลักการเขียนลายสือไทย อย่ใู นบรรทดั เดยี วกนั ....ค..... 5. ลกั ษณะตัวอกั ษรลายสอื ไทย กิจกรรมท่ี 1.4 ไตรภมู ิพระรว่ ง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ไตรภูมพิ ระรว่ ง แต่งโดยใคร เมอื่ ใด ตอบ พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (พญาลไิ ท) ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อปี พ.ศ. 1888 2. ไตรภมู พิ ระรว่ ง มีเนอ้ื หาครอบคลมุ พระไตรปฎิ กในเร่ืองใดบ้าง ตอบ 1. พระสุตตันตปฎิ ก 2. พระวินัยปิฎก 3. พระอภธิ รรมปฎิ ก 3. วัตถุประสงค์ในการแต่งไตรภมู พิ ระร่วง มอี ะไรบ้าง ตอบ 1. เพือ่ เผยแผ่พระอภธิ รรม ซึ่งเปน็ หลกั การสาคญั ในทางพระพุทธศาสนา 2. เพือ่ เป็นบทเรยี นพระอภธิ รรมแกพ่ ระราชมารดาของพระองค์ 3. เพอื่ เสรมิ บารมีกอ่ นเสด็จขึ้นครองราชย์

39 กิจกรรมที่ 1.6 ประเพณีกนิ ส่ีถ้วย จงตอบคาถามให้ถูกตอ้ ง 1. ประเพณีกินสี่ถว้ ย ใช้เลย้ี งในพธิ อี ะไร ตอบ พธิ ีแต่งงาน 2. ขนม 4 อย่าง ในประเพณีกินส่ถี ว้ ย มีชอ่ื เรียกว่าอะไรบ้าง ตอบ ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อา้ ยตื้อ 3. จงจบั คใู่ ห้ถูกตอ้ ง ก. เม็ดแมงลกั ....ก..... 1. ไขก่ บ ข. ขา้ วเหนียวดา ....ค..... 2. นกปล่อย ค. ลอดชอ่ ง ....ง..... 3. มะลลิ อย ง. ข้าวตอก ....ข..... 4. อ้ายต้ือ กิจกรรม 1.7 ดนตรีไทยและดนตรีพ้ืนบ้านสมยั สุโขทัย 1. จงจับคู่ใหถ้ ูกตอ้ ง ....ง..... 1. เสียงพาด หรอื เสยี งพาทย์ ก. การรอ้ งเพลงโต้ตอบโดยใช้เสียงปรบมอื ....ข..... 2. เสียงพิณ กากับจงั หวะ ....ก..... 3. เสยี งเลื้อน ข. เครอื่ งดนตรปี ระเภทเครื่องดดี ....ค..... 4. เสยี งขับ ค. การรอ้ งเพลงรว่ มกับดนตรี ง. เสียงเครื่องดนตรปี ระกอบเครื่องตี 2. จงตอบคาถามต่อไปน้ี 2.1 วงแตรสังข์ ประกอบดว้ ยเครือ่ งดนตรอี ะไรบา้ ง ตอบ แตรฝรั่ง แตรงอน ป่ีไฉนแก้ว กลองชนะ บณั เฑาะว์ และมโหระทึก 2.2 วงปีพ่ าทย์เคร่ืองหา้ ประกอบด้วยเครอ่ื งดนตรอี ะไรบ้าง ตอบ ป่ีใน ฆ้องวง ตะโพน กลองทัด และฉ่งิ

40 2.3 เครอ่ื งดนตรมี ังคละ ประกอบด้วยเคร่ืองดนตรอี ะไรบ้าง ตอบ กลองสองหนา้ จานวน 2 ใบ กลองมังคละ 1 ใบ ฆ้องโหมง่ จานวน 3 ใบ ปช่ี วา 1 เลา ฉาบเล็ก 1 คู่ ฉาบใหญ่ 1 คู่ และกรบั ไม้ 1 คู่ 2.4 เครื่องดนตรเี ครอ่ื งสาย ท่ีมใี นสมยั สโุ ขทยั มอี ะไรบา้ ง ตอบ พณิ และซอสามสาย กิจกรรม 1.8 สถาปัตยกรรมและปฏมิ ากรรมสมยั สโุ ขทยั จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. เจดียส์ มัยสุโขทัย มีกีแ่ บบ อะไรบ้าง ตอบ มี 6 แบบ คอื 1. เจดีย์ทรงดอกบัวตมู 2. เจดีย์ทรงกลมแบบลังกา 3. เจดยี ผ์ สมแบบลังกาและศรีวชิ ัย 4. เจดยี ์แบบลังกาผสมปรางค์ 5. เจดยี ์ทรงมณฑปภายในตงั้ พระพุทธรูปองค์เดยี ว และพระพุทธรูป 4 อิริยาบท 6. เจดียแ์ บบเบ็ดเตล็ด 2. พระพทุ ธรูปสมัยสุโขทยั มีกห่ี มวด อะไรบา้ ง ตอบ มี 4 หมวด ได้แก่ 1. หมวดใหญ่ 2. หมวดกาแพงเพชร 3. หมวดพระพทุ ธชนิ ราช 4. หมวดเบ็ดเตลด็ หรือหมวดวัดตะกวน

41 กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 2 แนวทางการสบื สานมรดกทางวัฒนธรรมสมัยสโุ ขทัย ใหผ้ เู้ รยี นจดั ทารายงานเรือ่ งประเพณี วฒั นธรรมสมยั สโุ ขทยั ความยาว 2 หน้ากระดาษ A4 ตอบ แนวทางการสืบสานมรดกทางวฒั นธรรมสมยั สุโขทยั มีดังตอ่ ไปน้ี 1. ศกึ ษาหาความรู้จากหนังสอื ไตรภูมิพระรว่ ง 2. ศึกษาหาความรู้จากหนังสือหรืออินเทอร์เน็ต เร่ือง ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม สมัยสโุ ขทัย เช่น การเผาเทยี น เลน่ ไฟ งานกฐนิ ดนตรีไทยและดนตรพี น้ื บา้ น พทุ ธรปู เจดีย์ เปน็ ตน้ 3. การปลูกและสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม เช่น การแต่งกายสมัยสุโขทัย การเข้าชมพพิ ธิ ภัณฑ์ การเข้าร่วมงานศลิ ปวัฒนธรรมของสโุ ขทัย เป็นตน้ 4. การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของสมัยสุโขทัย เช่นการจัดทาบอร์ด หรือนิทรรศการ การจัดทาหนังสือ แผ่นพับ การเล่าเร่ืองเกี่ยวกับถ้วยชามสังคโลก พระพุทธรูปปางต่าง ๆ สมัยสุโขทัย เป็นตน้

42 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตรส์ มยั สุโขทยั กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 1 ความเปน็ มาของประวัตศิ าสตร์การบริหารจดั การน้า การตั้งถน่ิ ฐานบ้านเรอื นสมัยสโุ ขทยั พจิ ารณาจากสง่ิ ใดเปน็ สาคญั ตอบ 1. มีแหล่งน้า คือ ปัจจัยสาคัญที่สุดสาหรับการทาเกษตร โดยอาณาบริเวณสมัยสุโขทัย มีลานา้ ขนาดใหญผ่ ่านถึง 3 สาย คือ ลาน้าปงิ ลาน้ายม ลาน้านา่ น 2. สภาพพ้ืนที่ดิน คือ ปัจจัยสาคัญรองลงมา สภาพพ้ืนท่ีดินมี 3 แบบด้วยกัน คือ พ้ืนท่ีท่ี อยู่ระหว่างเขาลงมาตามท่ีราบลุ่มแม่น้า พื้นที่บริเวณลุ่มน้าใกล้เคียงกัน และพ้ืนท่ีราบลุ่มน้า เปน็ พ้นื ทท่ี ่เี หมาะกับการทาการเกษตร กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 การอย่กู บั นา้ ในสมัยโบราณ อธบิ ายประโยชน์ของระบบชลประทาน (เหมอื ง ฝาย ทานบ) ท่มี ีต่อชาวสุโขทยั ตอบ สมัยสุโขทัย มีระบบการบริหารจัดการน้า เพ่ือการเกษตร โดยมีการจัดทา “สรีดภงส์” (เข่ือน หรือทานบ) เช่ือมระหว่างเขาเพ่ือกักเก็บน้า และมีการจัดทาท่อดินเผาขนาดต่างๆ เพื่อบังคับน้าจาก คลองใหไ้ หลเข้าไปในกาแพงเมืองไปสตู ระพัง (สระน้าหรือหนองนา้ ) ขนาดกลางเมืองสโุ ขทัย การชลประทานของเมืองสุโขทัย เป็นประโยชน์ทั้งด้านการเกษตรและการคมนาคม เพราะชาวสุโขทัยใช้น้าที่มาทางท่อของพระยาร่วง สาหรับการเกษตรจากเหมืองฝาย โดยไม่ต้องอาศัย น้าฝนอย่างเดียว รวมท้ังประโยชน์ทางด้านอุปโภคบริโภคภายในเมืองสุโขทัย เพราะชาวสุโขทัยจะขุด ตระพงั จานวนมาก

43 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ก 11. ง 21. ค 2. ข 12. ค 22. ก 3. ข 13. ข 23. ข 4. ก 14. ค 24. ก 5. ง 15. ง 25. ง 6. ก 16. ค 26. ค 7. ง 17. ข 27. ข 8. ค 18. ค 28. ข 9. ข 19. ง 29. ง 10. ข 20. ก 30. ค

44 คณะผจู้ ดั ทา คณะท่ปี รึกษา เลขาธิการ กศน. รองเลขาธกิ าร กศน. นายกฤตชัย อรุณรัตน์ ผอู้ านวยการกลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ์ และการศึกษาตามอัธยาศัย นางรุ่งอรุณ ไสยโสภณ ขา้ ราชการบานาญ คณะทางาน โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน กทม. ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย นางกมลวรรณ มโนวงศ์ ผ้อู านวยการ กศน. อาเภอบา้ นผอื จงั หวดั อดุ รธานี นายปวติ ร พทุ ธริ านนท์ ผู้อานวยการ กศน. อาเภอเมืองแม่ฮอ่ งสอน นายจิรพงศ์ ผลนาค จังหวัดแมฮ่ ่องสอน นางสารอรพร อนิ ทรนฎั ศนู ยว์ งเดือนอาคมสุรทัณฑ์ จังหวดั อทุ ยั ธานี นางมัณฑนา กาศสนุก กศน.อาเภอเมอื งกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร กศน.อาเภอสันป่าตอง จงั หวัดเชียงใหม่ นางสาวอนงค์ ชชู ัยมงคล กศน.อาเภอเมอื งอานาจเจรญิ จังหวัดอานาจเจรญิ นางสาวพจนีย์ สวัสดิ์รตั น์ กศน.อาเภอเมอื งอานาจเจรญิ จังหวัดอานาจเจรญิ นายโยฑนิ สมโณนนท์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางมยรุ ี ช้อนทอง กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวหทัยรัตน์ ศิริแก้ว กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป์ กล่มุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางเยาวรตั น์ ปิ่นมณีวงศ์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นางกมลทิพย์ ช่วยแก้ว กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสุกัญญา กลุ เลศิ พิทยา นางสาวทพิ วรรณ วงค์เรือน นางสาววิยะดา ทองดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook