Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10สุขศึกษา พลศึกษา-ทช21002

10สุขศึกษา พลศึกษา-ทช21002

Published by sawitree.icando9, 2022-05-17 00:27:20

Description: 10สุขศึกษา พลศึกษา-ทช21002

Search

Read the Text Version

94 แบบฝก ทา ยบทท่ี 7 1.ใหผูเรยี นอธบิ ายสาเหตุทีท่ ําใหเ กิดอบุ ัตเิ หตุ อบุ ัติภัย ไดแก อะไรบา ง ...................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. 2.ใหผเู รียนวิเคราะหพฤตกิ รรมเสย่ี งทจ่ี ะนําไปสคู วามไมปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยสนิ พอ สงั เขป ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 3.เมื่อผเู รยี นมาเรียนแลวถกู หาเรอ่ื งจากผูเรยี นตาํ บลอ่ืน ซ่งึ ในขณะนน้ั มเี พียงตัวเราคนเดยี ว ผเู รียนมีวธิ ีการปฏิบัตติ นอยา งไร ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 4.เมอ่ื ผเู รยี นพบเหน็ คนหนามดื เปนลมหมดสติ จะมีวธิ กี ารปฐมพยาบาลอยางไร ...................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

95 บทที่ 8 ทักษะชีวิตเพ่ือการสื่อสาร สาระสําคญั กกกกกกกกการมีความรูความเขาใจเกยี่ วกบั ทักษะทจี่ าํ เปนสําหรบั ชวี ิตมนุษย โดยเฉพาะทักษะ การส่ือสาร ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล ทักษะการเขาใจผูอ่ืน จะชวยใหบุคคล ดาํ รงชวี ิตอยูในครอบครวั ชุมชน และสงั คมอยา งมีความสุข ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง กกกกกกกก1. บอกความหมายและความสาํ คัญชองทักษะชวี ิตได 2. อธบิ ายทกั ษะชีวิตที่จาํ เปนไดอ ยา งนอ ย 3 ประการ 3. นาํ กระบวนการทักษะชวี ิต'ไป1ใชในการดาํ เนินชวี ิตประจําวนั ไดอ ยางเหมาะสม 4. แนะนาํ ผูอ น่ื ในการนําทักษะการแกปญหาในครอบครวั และการทํางาน ขอบขา ยเน้อื หา กกกกกกกกเรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทกั ษะชีวิต 10 ประการ เรอ่ื งที่ 2 ทักษะชวี ติ ที่จาํ เปน 3 ประการ

96 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของทกั ษะชวี ติ 10 ประการ ทกั ษะชีวติ หมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา ท่ีเปนทักษะ ภายในจะชวยใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ และมีความสามารถท่ีจะปรับตัวไดในอนาคต ทักษะชีวิตจะมีสวนชวยใหวัยรุน สามารถนาํ ความรใู นเรือ่ งตางๆ มาเช่ือมโยงกบั ทัศนคติ ผานการคดิ วเิ คราะหไ ตรต รองถึงผล ที่จะเกิดข้ึน และตัดสินใจปฏิบัติในส่ิงที่เหมาะสมได ซ่ึงจําเปนอยางมากในเรื่องของการดูแล สุขภาพ การปอ งกนั การติดเช้อื เอชไอวี ยาเสพติด การทองไมพรอม ความปลอดภัย คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ เพ่ือใหสามารถมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข และรับมือกับปญหาและ ความเปล่ียนแปลงตา งๆได องคประกอบของทักษะชีวิต จะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรม และสถานที่ แตทักษะชีวิตท่ีจําเปนท่ีสุดที่ทุกคนควรมี ซึ่งองคการอนามัยโลกไดสรุปไว และถือเปนหัวใจ สาํ คญั ในการดํารงชวี ติ คอื 1. ทกั ษะการตัดสนิ ใจ เปน ความสามารถในการตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั เรือ่ งราวตาง ๆ ในชีวติ ไดอ ยา งมรี ะบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเก่ียวกับการกระทําของตนเองที่เกี่ยวกับ พฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลท่ีไดจากการ ตัดสนิ ใจเลือกทางทถี่ ูกตอ งเหมาะสม กจ็ ะมีผลตอ การมสี ขุ ภาพทด่ี ที ง้ั รา งกาย และจติ ใจ 2. ทกั ษะการแกปญหา เปนความสามารถในการจัดการกับปญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิต ไดอยางมีระบบ ไมเกิดความเครียดทางกาย และจิตใจ จนอาจลุกลามเปนปญหาใหญโตเกิน แกไข 3. ทักษะการคิดสรางสรรค เปนความสามารถในการคิดท่ีจะเปนสวนชวยในการ ตัดสินใจและแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมทั้งผลท่ีจะ เกิดขึ้นในแตละทางเลือก และสามารถนําประสบการณมาปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยาง เหมาะสม 4. ทักษะการคิดอยา งมวี จิ ารณญาณ เปนความสามารถในการคิดวิเคราะหขอมูล ตา ง ๆ และประเมนิ ปญหา หรอื สถานการณท ีอ่ ยูร อบตวั เราท่มี ผี ลตอการดําเนินชีวิต 5. ทกั ษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ เปนความสามารถในการใชคําพูด และ ทาทาง เพ่ือแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรม และ สถานการณต าง ๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคดิ เห็น การแสดงความตองการ การแสดงความ ชื่นชม การขอรอ ง การเจรจาตอรอง การตักเตอื น การชวยเหลือ การปฏิเสธ ฯลฯ

97 6. ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล เปนความสามารถในการสราง ความสมั พนั ธท่ีดรี ะหวางกนั และกนั และสามารถรกั ษาสมั พันธภาพไวไดยนื ยาว 7. ทกั ษะการตระหนกั รใู นตน เปนความสามารถในการคนหารูจ ัก และเขา ใจตนเอง เชน รูขอดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการและสิ่งที่ไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยใหเรา รตู ัวเองเวลาเผชญิ กบั ความเครียด หรือสถานการณตาง ๆ และทักษะน้ียังเปนพ้ืนฐานของการ พฒั นาทักษะอ่ืน ๆ เชน การสอื่ สาร การสรา งสัมพนั ธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเห็นใจผูอื่น 8. ทักษะการเขาใจผูอื่น เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือน หรือความ แตกตา งระหวา งบคุ คล ในดา นความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอ่ืนที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอื่นท่ีดอย กวา หรือไดรับความเดอื ดรอน เชน ผตู ิดยาเสพตดิ ผูตดิ เชอ้ื เอดส 9. ทักษะการจัดการกับอารมณ เปนความสามารถในการรับรูอารมณของตนเอง และผูอ ่นื รวู า อารมณม ีผลตอ การแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับอารมณโกรธ และ ความเศราโศก ทสี่ งผลทางลบตอ รางกายและจิตใจไดอ ยางเหมาะสม 10. ทกั ษะการจัดการกับความเครียด เปนความสามารถในการรับรูถึงสาเหตุของ ความเครียด รูวิธีผอนคลายความเครียดและแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให เกิดการเบย่ี งเบนพฤติกรรมไปในทางทีถ่ ูกตอง เหมาะสม และไมเกิดปญหาดา นสุขภาพ เร่ืองท่ี 2 ทักษะชีวติ ที่จาํ เปน 3 ประการ 2.1. ทกั ษะการสอ่ื สารอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ การสื่อสาร เปน กระบวนการสรา งความเขาใจกันระหวางบุคคล โดยอาจเปน การส่ือสารทางเดยี ว คอื การส่ือขาวสารจากผสู ง สารไปยงั ผูรบั สาร โดยไมม ีการส่ือสารกลับหรือ สะทอนความรูสึกกลับไปยังผูสงสารอีกคร้ัง สวนการสื่อสารสองทาง เปนการส่ือขาวสารจาก ผูสง สารไปยังผูรบั สารและมีการสื่อสารกลับ หรือสะทอนความรูสกึ กลบั จาก ผูรับสารไปยังผูสง สารอีกครั้ง จึงเรียกวา เปนการส่ือสารสองทาง การสอื่ สารระหวา งบุคคล นบั วาเปน ความจาํ เปน อยางย่ิง เพราะในการดําเนิน ชีวติ ปกติในปจจบุ นั การส่อื สารเขามามีบทบาทอยางย่ิงในทุกกิจกรรม ไมวาจะเปนการสื่อสาร ดวย การพูด การเขียน การแสดงกิริยาทาทาง หรือการใชเคร่ืองมือส่ือสารท่ีเปนเทคโนโลยี สมยั ใหมตาง ๆ เชน โทรศัพท อินเทอรเน็ต อีเมลล ฯลฯ ท้ังนี้ การส่ือสารดวยวิธี ใด ๆ ก็ตาม ควรทําใหผูสงสารและผูรับสารเกิดความเขาใจอันดีตอกัน และเกิดสัมพันธภาพท่ีดีตามมา

98 ซึ่งทักษะท่ีจําเปนในการสื่อสาร ไดแก การรูจักแสดงความคิดเห็น หรือความตองการใหถูก กาลเทศะ และการรูจกั แสดงความชนื่ ชมผอู น่ื การรูจักขอรอง การเจรจาตอรองในสถานการณ คับขันจําเปน การตกั เตือนดวยความจริงใจ และใชวาจาสภุ าพ การรจู ักปฏิเสธเม่ือถูกชักชวนให ปฏิบตั ใิ นสงิ่ ทผี่ ดิ ขนบธรรมเนยี มประเพณี หรอื ผิดกฎหมาย เปนตน การสอ่ื สารดวยการปฏเิ สธ หลาย ๆ คนไมกลาปฏิเสธคําชักชวนของเพ่ือนหรือคนรัก เมื่อไปทําในส่ิงท่ี ตนเองไมเห็นดวย เชน การมีเพศสัมพันธที่ไมปลอดภัย การเสพยาเสพติด ฯลฯ อันท่ีจริงการ ปฏิเสธเปนสิทธิของทุกคน การปฏิเสธคําชักชวนของเพื่อน หรือคนรักเมื่อทําในสิ่งที่ตนเองไม เห็นดวยอยางเหมาะสม และไดผลจะชวยปองกันการมีพฤติกรรมเส่ียงได คนสวนใหญไมกลา ปฏิเสธคําชักชวนของเพ่ือน หรือคนรัก เพราะกลัววาเพ่ือน หรือคนรักจะโกรธ แตถาสามารถ ปฏเิ สธไดถูกตอ งตามขน้ั ตอนจะไมท าํ ใหเสยี เพอื่ น การปฏเิ สธทด่ี ี จะตองปฏิเสธอยางจรงิ จัง ท้ังทา ทาง คําพูด และนํ้าเสยี ง เพ่ือแสดงความตั้งใจ อยา งชดั เจนท่ีจะขอปฏิเสธ 2.2. ทกั ษะการสรางสัมพนั ธภาพระหวางบุคคล คงไดยินคําพูดน้ีบอย ๆ วา “คนเราอยูคนเดียวในโลกไมได” เราตองพึ่งพา อาศัยกนั ซึ่งจะตองมีสมั พนั ธภาพท่ดี ีตอ กนั การทจี่ ะสรางสัมพันธภาพใหเกิดข้ึนระหวางกันนั้น เปนเรอ่ื งไมย าก แรกเริ่มคือ 1. มีการติดตอพบปะกัน เราจะตองมีการติดตอพบปะพูดคุยกับคนท่ีตองการมีสัมพันธภาพกับเขา ใหเวลากับเขา ทํางานรวมกัน ทํากิจกรรมรวมกัน เลนกีฬาดวยกัน และในที่สุดเราก็มีโอกาส สรา งมิตรภาพที่ดีตอ กนั 2. มคี วามสนใจและประสบการณร วมกัน ประสบการณเปนส่ิงที่นําคนสองคนใหมารวมมือกัน การชวยเหลือกันใน ระหวางการเลาเรียน หรือการทํางานดวยกัน มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน การรวม ประสบการณและแลกเปล่ียนประสบการณระหวา งกัน เปนการสรางมิตรภาพทด่ี ีใหเ กดิ ขึ้น

99 3. มีทศั นคตแิ ละความเชือ่ ที่คลา ยคลึงกนั ชวงวัยรุนเปนชวงที่ความคิด ทัศนคติ และความรูสึกอาจมีการ เปลีย่ นแปลงอยางรวดเรว็ ถาคนไหนมคี วามคดิ เห็นคลา ยคลึงกับเรา เราจะรูสึกพอใจ แตถาคน ไหนมีความคดิ แตกตา งกับเรา เราจะรูสึกไมพ อใจ แตในความเปนจรงิ ตอ งเขาใจวา คนสวนใหญ ไมไดม ีความเหน็ เหมอื นกันทุกเร่อื ง แมใ นคนที่เปน มติ รตอกันเพยี งใดกต็ าม 2.3 ทกั ษะการเขา ใจผูอน่ื การที่บุคคลจะอยูในครอบครัวอยูในสังคมอยางมีความสุข จําเปนตองรูจัก ตนเอง และรูจ ักผูที่ตนเกี่ยวของสัมพนั ธด วย ดงั ภาษิตจีนที่วา “รูเขา รูเรา รบรอยคร้ัง ชนะ รอ ยคร้ัง” ดงั นนั้ การที่เราจะทําความรจู ักผอู น่ื ซ่ึงเราจะตอ งเกี่ยวของสัมพันธดวย ไมวาจะ เปนภายในครอบครวั ของเราเอง เพราะเราไมสามารถอยูค นเดียวไดในทุกท่ี ทุกสถานการณ หลกั ในการเขาใจผูอนื่ มดี งั น้ี 1. ตองคํานึงวาคนทุกคนมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเชนเดียวกับเรา จึงควร ปฏบิ ัติกับเพื่อนมนุษยทกุ คนดวยความเคารพในศักด์ิศรีของความเปนมนุษยเทาเทียมกัน ไมวา จะเปน คนจน คนรวย คนแก เด็ก คนพิการ ฯลฯ 2. บุคคลทุกคนมีความแตกตางกัน ทั้งพ้ืนฐานความรู ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพความเปนอยู ระดับการศึกษา การปลูกฝงคุณธรรม คานิยม ระเบียบ วินัย ความ รับผิดชอบ ฯลฯ ดังนั้น หากเรายอมรับความแตกตางระหวางบุคคลดังกลาว จะทําใหเรา พยายามทําความเขาใจเขาและส่ือสารกับเขาดวยกิริยาวาจาสุภาพ ซ่ึงหากยังไมเขาใจเราก็ จําเปนตองอดทน และอธิบายดวยภาษาท่ีเขาใจงาย ไมแสดงอาการดูถูกดูแคลน หรือแสดง อาการหงดุ หงดิ รําคาญ เปน ตน 3. การเอาใจเขามาใสใ จเรา บุคคลทัว่ ไปมักชอบใหค นอน่ื เขาใจตนเอง ยอมรบั ในความตองการ ควรเปนตัวตนของตนเอง ดังน้ันจึงมักมีคําพูดติดปากเสมอ เชน ฉันอยางน้ัน ฉันอยา งนี้ ทําไมเธอไมท ําอยา งนั้น ทาํ ไมเธอไมท ําอยางน้ี ทําไมเธอถงึ ไมเ ขาใจฉัน ฯลฯ ซึ่งเปนการ เอาใจเราไปยัดเหยียดใสใ จเขา และมักไมพึงพอใจในทุกเรื่อง ทุกฝาย ทั้งนี้ในดานกลับกัน หากเรา คิดใหม ปฏบิ ัติใหม โดยพยายามทําความเขาใจผูอ่ืนไมวา จะเปน พอแมเขาใจลูก หรือลูกเขาใจพอ แม เพ่อื นเขา ใจเพอ่ื น โดยการทําความเขาใจวา เขาหรือเธอมีเหตุผลอะไร ทําไมจึงแสดงพฤติกรรม เชนนั้น เขามีความตองการอะไร เขาชอบอะไร ฯลฯ เมื่อเราพยายามเขาใจเขา และปฏิบัติให

100 สอดคลอ งกับความชอบ ความตองการของเขาแลว กจ็ ะทําใหก ารอยรู วมกัน หรอื การทาํ งานรว มกัน เปนไปดวยความราบร่ืน และแสดงความสงบสันตสิ ขุ ในครอบครัว ชมุ ชน และสังคม 4. การรบั ฟง ผอู ่นื การที่เราจะเขาใจผูอ่ืนไดดีหรือไม ขึ้นอยูกับวาเรารับฟงความ คิดเห็น ความตองการของเขามากนอ ยเพยี งใด บคุ คลทัว่ ไปในปจจบุ นั ไมชอบฟงคนอ่ืนพูด แตชอบ ท่ีจะพูดใหคนอ่ืนฟง และปฏิบัติตาม ดังนั้น สิ่งสําคัญที่เปนพ้ืนฐานท่ีจะทําใหเราเขาใจผูอื่นก็คือ ทกั ษะการฟง ซงึ่ จะตอ งเปนการฟงอยางตั้งใจ ไมขัดจังหวะ หรือแสดงอาการเบื่อหนาย และควร แสดงกิริยาตอบรับ เชน สบตา ผงกศีรษะ ทั้งนี้ การฟงอยางตั้งใจ จะทําใหเรารับทราบความคิด ความตอ งการ หรอื ปญหาของผูท ีเ่ ราเก่ียวขอ งดว ย ไมวาจะเปน ในฐานะลูกกบั พอแม พอแมกับลูก นายจา งกับลูกจา ง หวั หนา กบั ลกู นอง ฯลฯ ซง่ึ จะทาํ ใหเ ราเกิดอาการเขาใจ และสามารถแกปญหา ไดอ ยางถูกตอ งในทสี่ ุด

101 กจิ กรรมทา ยบทที่ 8 1.ผูท่ีมีทักษะชีวติ ท่ดี ีนน้ั ควรเปนอยา งไร ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ 2.องคประกอบของทกั ษะชีวติ มี 10 ประการ ไดแ ก อะไรบาง ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 3.จงอธิบายทกั ษะทจ่ี ําเปน 3 ประการ มาพอสงั เขป ...................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

102 บทที่ 9 อาชีพแปรรูปสมนุ ไพร สาระสําคญั กกกกกกกกการมคี วามรูความเขา ใจเก่ียวกบั สมุนไพรและการแปรรูปสมนุ ไพรตลอดจนสามารถ นาํ มาบาํ บดั รกั ษาโรคและการแปรรปู สมนุ ไพรเพ่อื การจําหนา ยได ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง 1. อธบิ ายความสัมพนั ธข องสมนุ ไพรกบั บทบาททางเศรษฐกิจได 2. อธบิ ายความสําคัญของกระบวนการแปรรูปสมนุ ไพรเพ่ีอการจาํ หนายได 3. อธบิ ายรปู แบบการแปรรูปสมุนไพรชนิดตา งๆ เพอี่ การจําหนายได 4. จําแนกผลติ ภณั ฑท ี่เปน อาหารและยาไดถูกตอง ขอบขายเนื้อหา กกกกกกก เรอื่ งที่ 1 สมนุ ไพรกับบทบาททางเศรษฐกิจ เร่อื งท่ี 2 การแปรรปู สมนุ ไพรเพอ่ี การจําหนาย เร่ืองท่ี 3 การขออนญุ าตผลิตภัณฑอ าหารและยา (อย.)

103 เร่ืองท่ี 1 สมนุ ไพรกบั บทบาททางเศรษฐกจิ สมุนไพร หมายถึง พืชท่ีมีสรรพคุณในการรักษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตาง ๆ การใชส มนุ ไพรสําหรับรกั ษาโรค หรืออาการเจ็บปวยตางๆ น้ี จะตองนําเอาสมุนไพรตั้งแตสอง ชนิดข้ึนไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกวา “ยา” ในตํารับยานอกจากพืชสมุนไพรแลวยังอาจ ประกอบดวยสตั วแ ละแรธาตอุ ีกดวย เราเรียกพืช สัตว หรือแรธาตุที่เปนสวนประกอบของยาน้ี วา “เภสัชวัตถุ” สมุนไพรเปนสวนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวง สาธารณสุขไดดําเนินโครงการ สมุนไพรกับสาธารณสุขมูลฐาน โดยเนนการนําสมุนไพรมาใช บําบดั รักษาโรคในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐมากขึ้น และสงเสริมใหปลูกสมุนไพรเพื่อใช ภายในหมูบานเปนการสนับสนุนใหมีการใชสมุนไพรมากย่ิงข้ึน อันเปนวิธีหนึ่งท่ีจะชวย ประเทศชาตปิ ระหยัดเงนิ ตราในการสง่ั ซ้ือยาสําเร็จรปู จากตา งประเทศไดปละเปน จํานวนมาก ปจจุบันมผี ูพยายามศกึ ษาคน ควาเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรใหสามารถนํามาใชใน รปู แบบทส่ี ะดวกยง่ิ ขน้ึ เชน นํามาบดเปนผงบรรจุแคปซูล ตอกเปนยาเม็ด เตรียมเปนครีมหรือ ยาขี้ผง้ึ เพอื่ ใชทาภายนอก เปนตน ในการศึกษาวจิ ยั เพ่อื นําสมุนไพรมาใชเปนยาแผนปจจุบันน้ัน ไดม กี ารวจิ ัยอยา งกวางขวาง โดยพยายามสกัดสาระสําคัญจากสมุนไพรเพื่อใหไดสารท่ีบริสุทธ์ิ ศึกษาคณุ สมบัตทิ างดา นเคมี ฟสิกสของสารเพือ่ ใหทราบวาเปนสารชนิดใด ตรวจสอบฤทธ์ิดาน เภสัชวิทยาในสัตวทดลองเพ่ือดูใหไดผลดีในการรักษาโรคหรือไมเพียงใด ศึกษาความเปนพิษ และผลขางเคยี ง เมอ่ื พบวาสารชนิดใดใหผลในการรกั ษาท่ดี ี โดยไมมีพิษหรือมีพิษขางเคียงนอย จงึ นาํ สารนน้ั มาเตรียมเปนยารูปแบบที่เหมาะสมเพ่ือทดลองใชตอไป เรอื่ งที่ 2 การแปรรูปสมุนไพรเพอื่ การจําหนา ย สมนุ ไพรถกู นาํ มาใชส ารพัดประโยชน และถูกแปรรูปออกมาในแบบตาง ๆ เพ่ือการ จําหนา ยซง่ึ สามารถนาํ มาใชป ระกอบอาชพี ทง้ั อาชีพหลกั และอาชีพเสรมิ ได ส่ิงสําคัญท่ีสุดของ การแปรรปู สมนุ ไพร คอื “การปรุงสมุนไพร” การปรงุ สมุนไพร หมายถงึ การสกัดเอาตัวยาออกมาจากเน้ือไมยา สารที่ใชสกัดเอา ตัวยาออกมาที่นิยมใชกัน ไดแก น้ําและเหลา สมุนไพรท่ีนํามาปรุงตามภูมิปญญาดั้งเดิมมี 7 รูปแบบ คอื 1. การตม เปน การสกัดตัวยาออกมาจากไมย าดว ยนํ้ารอ น เปนวธิ ีท่ีนิยมใชมากที่สุด ใชก บั สวนของเน้ือไมท แ่ี นนและแข็ง เชน ลําตน และราก ซ่งึ จะตองใชก ารตมจึงจะไดตัวยาที่เปน สารสาํ คญั ออกมา ขอดีของการตม คือ สะอาด ปลอดจากเชอ้ื โรค มี 3 ลกั ษณะ คอื

104 1.1. การตมกินตางนํ้า คือ การตมใหเดือดกอนแลวตมดวยไฟออน ๆ อีก 10 นาที หลงั จากน้นั นาํ มากนิ แทนนํ้า 1.2. การตมเคีย่ วคือ การตมใหเ ดอื ดออน ๆ ใชเ วลาตม 20-30 นาที 1.3. การตม 3 เอา 1 คือ การตมจากน้ํา 3 สวน ใหเหลือเพียง 1 สวน ใชเวลา ตม 30-45 นาที 2. การชง เปนการสกัดตัวยาสมุนไพรดวยน้ํารอน ใชกับสวนท่ีบอบบาง เชน ใบ ดอก ที่ไมตองการโดนนํ้าเดือดนาน ๆ ตัวยาก็ออกมาได วิธีการชง คือ ใหนํายาใสแกวเติมน้ํา รอ นจัดลงไป ปดฝาแกวทงิ้ ไวจนเยน็ ลักษณะน้เี ปน การปลอยตัวยาออกมาเตม็ ท่ี 3. การใชนาํ้ มนั ตัวยาบางชนิดไมละลายน้ํา แมวาจะตมเคี่ยวแลวก็ตาม สวนใหญ ยาที่ละลายน้ําจะไมละลายในน้ํามันเชนกัน จึงใชน้ํามันสกัดยาแทน แตเนื่องจากยานํ้ามันทา แลวเหนยี ว เหนอะหนะ เปอ นเสอื้ ผา จึงไมน ิยมปรุงใชกนั 4. การดองเหลา เปนการใชกับตัวยาของสมุนไพรท่ีไมละลายน้ํา แตละลายไดดีใน เหลา หรือแอลกอฮอล การดองเหลา มักมีกลิ่นแรงกวายาตม เน่ืองจากเหลามีกล่ินฉุน และหาก กินบอย ๆ อาจทาํ ใหต ดิ เหลา ได จึงไมน ยิ มกินกัน จะใชต อเมอื่ กนิ ยาเม็ดหรอื ยาตมแลวไมไ ดผล 5. การตม ค้ันเอานํา้ เปน การนาํ เอาสวนของตนไมท มี่ ีนํา้ มาก ๆ ออนนุม ตําแหลก งาย เชน ใบ หวั หรอื เหงา นาํ มาตําใหละเอียด และคั้นเอาแตนํ้าออกมา สมุนไพรท่ีใชวิธีการน้ี กินมากไมไดเชน กัน เพราะน้ํายาที่ไดจะมีกล่ินและรสชาติท่ีรุนแรง ตัวยาเขมขนมาก ยากที่จะ กลืนเขาไปท่ีเดยี ว ฉะน้ันกินครัง้ ละหนง่ึ ถวยชากพ็ อแลว 6. การบดเปน ผง เปนการนาํ สมนุ ไพรไปอบหรือตากแหง แลว บดใหเ ปน ผง สมุนไพร ที่เปนผงละเอียดมากย่ิงมีสรรพคุณดี เพราะจะถูกดูดซึมสูลําไสงาย จึงเขาสูรางกายได รวดเร็ว สมนุ ไพรผงชนดิ ใดที่กินยากก็จะใชปนเปนเม็ดท่ีเรียกวา \"ยาลูกกลอน\" โดยใชนํ้าเชื่อม น้าํ ขาวหรอื นาํ้ ผงึ้ เพอ่ื ใหตดิ กันเปนเม็ด สวนใหญนิยมใชน้ําผ้ึงเพราะสามารถเก็บไวไดนานโดย ไมข ึน้ รา 7. การฝน เปนวิธีการท่ีหมอพ้ืนบานนิยมกันมาก วิธีการฝน คือ หาภาชนะใสนํ้า สะอาดประมาณครึ่งหน่ึงแลวนําหินลับมีดเล็ก ๆ จุมลงไปในหินโผลเหนือนํ้าเล็กนอย นาํ สมุนไพรมาฝนจนไดน ้าํ สขี ุนเล็กนอ ย กินครั้งละ 1 แกว อยางไรก็ตาม การแปรรูปผลิตภัณฑสมุนไพร ควรแปรรูปในลักษณะอาหารหรือ เครื่องใชที่ไมจัดอยูในประเภทยารักษา คือ ไมมีสรรพคุณในการรักษาหรือปองกัน บรรเทา

105 บําบัดโรค เน่อื งจากผลิตภัณฑป ระเภทยาจะตองผา นการตรวจสอบที่มีมาตรฐานสูงและถูกตอง มผี ูชํานาญการท่มี คี ณุ วุฒิในการดาํ เนนิ การดว ย ลักษณะของผทู ี่จะประกอบอาชพี ผลิตภัณฑสมุนไพรในการปรุงผลติ ภณั ฑจากสมุนไพร ผปู รงุ จําเปน ตอ งรูหลกั การปรงุ ผลิตภณั ฑจากสมนุ ไพร 4 ประการ คือ 1. เภสัชวตั ถุ ผปู รงุ ตอ งรูจักชื่อและลักษณะของเภสัชวัตถุท้ัง 3 จําพวก คือ พืชวัตถุ สตั ววัตถุ และธาตุวตั ถุ รวมท้งั รูป สี กลน่ิ และรสของเภสชั วตั ถนุ ั้นๆ ตวั อยางเชน กะเพราเปนไม พุม ขนาดเล็ก มี 2 ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกล่ินหอม รสเผ็ดรอน หลักของ การปรงุ ยาขอ นี้จําเปนตองเรียนรูจากของจริง 2. สรรพคุณเภสัช ผูปรุงตองรูจักสรรพคุณของยา ซึ่งสัมพันธกับรสของสมุนไพร เรยี กวา “รสประธาน” แบง ออกเปน 2.1. สมุนไพรรสเย็น ไดแก ยาท่ีประกอบดวยใบไมท่ีรสไมเผ็ดรอนเชน เกสร ดอกไม สัตตะเขา (เขาสัตว 7 ชนิด) เนาวเขี้ยว (เขี้ยวสัตว 9 ชนิด) และของท่ีเผาเปนถาน ตวั อยา งเชน ยามหานลิ ยามหากาฬ เปนตน ยากลุมนี้ใชสําหรับรักษาโรคหรืออาการผิดปกติทาง เตโชธาตุ (ธาตไุ ฟ) 2.2. สมนุ ไพรรสรอ น ไดแ ก ยาท่ีนําเอาเบญจกูล ตรีกฏก หัสคุณ ขิงและขามาปรุง ตวั อยา งเชน ยาแผนโบราณทเ่ี รียกวา “ยาเหลอื งทัง้ หลาย” ยากลุมนใ้ี ชสําหรับรกั ษาโรคและอาการ ผิดปรกติทางวาโยธาตุ (ธาตลุ ม) 2.3. สมุนไพรรสสุขุม ไดแก ยาท่ีผสมดวยโกฐ เทียน กฤษณา กระลําพัก ชะลูด อบเชย ขอนดอก และแกนจันทนเ ทศ เปนตน ตวั อยางเชน ยาหอมทัง้ หลาย ยากลุม นใ้ี ชรักษา ความผิดปรกตทิ างโลหิต นอกจากรสประธานของสมุนไพรดังท่ีกลาวน้ี เภสัชวัตถุยังมีรสตางๆ อีก 9 รสคือ รสฝาด รสหวาน รสเบื่อเมา รสขม รสมัน รสหอมเย็น รสเค็ม รสเปร้ียวและรสเผ็ดรอน ในตํารา สมุนไพรแผนโบราณบางตําราไดเพม่ิ รสจืดอกี รสหนง่ึ ดวย 3. คณาเภสัช ผูปรุงสมุนไพรตองรูจักเคร่ืองสมุนไพรท่ีประกอบดวยเภสัชวัตถุ มากกวา 1 ชนดิ ทนี่ าํ มารวมกนั แลวเรียกเปน ช่อื เดียว ตวั อยา งเชน ทเวคันธา หมายถึง เครื่องสมุนไพรท่ีประกอบดวยเภสัชวัตถุ 2 ชนิด คือ ราก บนุ นาคและรากมะซาง ตรีสุคนธ หมายถึง เคร่ืองสมุนไพรท่ีประกอบดวยเภสัชวัตถุ 3 ชนิด คือ ราก อบเชยเทศ รากอบเชยไทย และรากพมิ เสนตน

106 4. เภสัชกรรม ผูปรุงสมนุ ไพรตอ งรูจักการปรุงยาซ่ึงมีสงิ่ ทค่ี วรปฏบิ ัติ คอื 4.1. พจิ ารณาตัวสมนุ ไพรวาใชสวนไหนของเภสัชวัตถุ เชน ถาเปนพืชวัตถุ จะใช สวนเปลือกรากหรือดอก ใชสดหรือแหง ตองแปรสภาพกอนหรือไม ตัวอยางสมุนไพรที่ตอง แปรสภาพกอน ไดแก เมล็ดสลอด เพราะสมุนไพรนี้มีฤทธิ์แรงจึงตองแปรสภาพเพื่อลดฤทธ์ิ เสยี กอน 4.2 ดูขนาดของตัวสมนุ ไพรยาวาใชอยา งละเทา ไร และผูปรงุ สมุนไพรควรมีความรู ในมาตราโบราณ ซงึ่ ใชสวนตางๆ ของรางกาย หรือเมล็ดพืชที่เปนท่ีรูจักคุนเคยมาเปนตัวเทียบ ขนาด เชน คําวาองคุลี หมายถึง ขนาดเทา 1 ขอของน้ิวกลาง กลอมหมายถึง ขนาดเทากับ เมลด็ มะกลํา่ ตาหนู และกล่าํ หมายถึงขนาดเทา กับเมล็ดมะกล่ําตาชา ง เปนตน เร่อื งท่ี 3 การขออนญุ าตผลิตภณั ฑอ าหารและยา (อย.) “อาหาร” ในพระราชบัญญตั อิ าหาร พ.ศ.2522 หมายถึง “วัตถุทกุ ชนิดท่ีคนกนิ ด่ืม หรือนําเขาสูรางกาย แตไมรวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท หรือยาเสพติดใหโทษ นอกจากนีอ้ าหารยงั รวมถงึ วตั ถทุ ่ีใชเ ปนสว นผสมในการผลิตอาหาร วตั ถเุ จอื ปนอาหาร สี เครือ่ งปรุงแตงกล่ินรสดวย” ผลติ ภัณฑท ่ีผลิตเพ่ือจําหนายมีจํานวนหน่ึงที่เปนผลิตภัณฑท่ีคาบเกี่ยวหรือกํ้าก่ึงวา จะเปนยาหรอื อาหาร เพื่อปองกันความสับสนในเรื่องนี้ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา จงึ กาํ หนดแนวทางในการพจิ ารณาวา ผลติ ภณั ฑใดทจี่ ัดเปน อาหาร ตองมลี ักษณะ ดังน้ี 1. มีสวนประกอบเปน วัตถุทมี่ ใี นตาํ ราท่รี ัฐมนตรีประกาศตามพระราชบัญญัติยาและ โดยสภาพของวตั ถนุ ้นั เปน ไดท ้ังยาและอาหาร 2. มขี อบง ใชเปนอาหาร 3. ปริมาณการใชไมถงึ ขนาดท่ใี ชใ นการปอ งกนั หรือบําบัดรกั ษาโรค 4. การแสดงขอ ความในฉลากและการโฆษณาอาหารที่ผสมสมุนไพรซึ่งไมจัดเปนยา น้นั ตองไมม กี ารแสดงสรรพคุณเปน ยากลา วคอื ปอ งกัน บรรเทา บาํ บัด หรือรักษาโรค ตา ง ๆ การแบงกลมุ ผลติ ภณั ฑอาหาร อาหารแบง ตามลักษณะการขออนุญาตผลติ ออกเปน 2 กลมุ คอื 1. กลมุ อาหารท่ไี มตอ งมเี ครอื่ งหมาย อย. อาหารกลมุ นี้ สว นใหญเปน อาหารที่ไมแ ปรรปู หรอื ถาแปรรูปก็จะใชกระบวนการผลติ งาย ๆ ในชุมชน ผบู รโิ ภคจะตอ งนาํ มาปรุงหรือผานความรอนกอนบริโภค อาหารกลุมน้ีผูผลิตท่ีมี

107 สถานท่ีผลติ ไมเขา ขา ยโรงงาน (ใชอปุ กรณหรือเครอื่ งจักรตํ่ากวา 5 แรงมา หรือคนงานนอยกวา 7 คน) สามารถผลติ จําหนา ยไดโดยไมต องมาขออนญุ าตจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรอื สํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั แตต องแสดงฉลากอาหารทถ่ี กู ตองไวด ว ย 2. กลมุ อาหารท่ตี อ งมเี คร่อื งหมาย อย. อาหารกลุมน้เี ปนอาหารทีม่ กี ารแปรรูปเปน อาหารกึ่งสําเร็จรูปหรืออาหารสําเร็จรูป แลว ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสี่ยงตอผูบริโภคในระดับตํ่า ปานกลางหรือสูง แลวแตกรณี ไดแก อาหารที่ตองมีฉลาก อาหารกําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน หรืออาหารควบคุมเฉพาะ ดังนั้น จึงจําเปนตองขออนุญาตสถานท่ีผลิตอาหารและขอข้ึนทะเบียนตํารับอาหาร หรือจดทะเบียน อาหาร หรือแจงรายละเอียดของอาหารแตละชนิดแลวแตกรณี ไดที่สํานักงานคณะกรรมการ อาหารและยาหรอื สาํ นักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ตัวอยางผลิตภัณฑจากสมุนไพรที่ไมเขาขายการเปนยา ไดแก สบูสมุนไพร แชมพู สระผม สมุนไพร ผงขัดผิวสมุนไพร เกลือผสมสมุนไพรสําหรับขัดผิว เทียนหอม เครื่องดื่มจาก สมุนไพร นํา้ หอมปรับอากาศจากสมุนไพร นํ้าจิ้มน้ําซอสปรุงรสผสมสมุนไพร ผลิตภัณฑสมุนไพร อบแหง พรอมรบั ประทาน ลกู อมสมุนไพร ชาสมนุ ไพรสาํ เร็จรปู พรอ มชง เปนตน สวนตัวอยางผลิตภัณฑจากสมุนไพรที่เขาขายเปนยา ไดแก สมุนไพรลดนํ้าหนัก เครื่องสําอางบํารุงผิว แกอาการทางผิวหนังหรือทําใหขาว เครื่องด่ืมสมุนไพรท่ีมีสรรพคุณรักษา บาํ บดั หรือบรรเทาอาการจากโรคตา ง ๆ เปนตน

108 กิจกรรมทายบทท่ี 9 1. การปรุงสมนุ ไพรมคี วามหมายวา อยางไร ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 2. การปรุงสมนุ ไพร ในการตมมกี ลี่ ักษณะ อะไรบาง จงอธบิ าย ...................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

109 เฉลยกิจกรรมทา ยบท บทที่ 1 พัฒนาการของรา งกาย เรือ่ งท่ี 1 แนวคาํ ตอบ 1. ระบบผิวหนงั ประกอบดว ย 2 สว น คอื สวนท่อี ยูบ นพื้นผวิ เรยี กวา หนังกําพรา สว นท่อี ยูลึกลงไป เรยี กวา หนงั แท การดูแล อาบน้าํ ชาํ ระลางรางกายใหส ะอาดดว ยสบอู ยา งนอ ยวนั ละ 1-2 คร้ัง ทาครมี บาํ รงุ ผวิ ทาครมี กันแดดกอนออกจากบานเมอื่ ตอ งไปเผชญิ กับแดดรอ นจดั 2. ระบบกลามเนอ้ื เปนแหลงพลงั งานที่ทาํ ใหเกดิ การเคลอ่ื นไหว ชวยใหรา งกาย สามารถเคล่อื นไหวไดจ ากการทาํ งาน การดแู ล ควรรบั ประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน โดยเฉพาะสารอาหารประเภท โปรตีน แคลเซียม วิตามิน และเกลือแร ด่ืมน้าํ มาก ๆ อยางนอ ยวนั ละ 6-8 แกวและออกกําลงั กาย 3. ระบบกระดกู เปน อวัยวะสําคญั ในการชว ยพยุงรางกายและประกอบเปนโครงราง เปน ท่ยี ดึ เกาะของกลามเนื้อ และปอ งกันการกระทบกระเทอื นตอ อวัยวะภายในของรางกาย การดูแล รับประทานอาหารใหครบทกุ หมูโดยเฉพาะอาหารทม่ี สี ารแคลเซียมและ วิตามนิ ดี ออกกําลงั กายเปนประจําสมํ่าเสมอ ระมัดระวังการเกิดอบุ ตั ิเหตกุ ับกระดูก 4. ระบบไหลเวียนโลหิต เลือดทําหนาท่ีลําเลียงอาหารไปเล้ียงเซลลตาง ๆ ของ รางกาย การดูแล รับประทานอาหารใหครบ 5 หมูและมีปริมาณที่เพียงพอตอความ ตอ งการของรา งกาย 5. ระบบหายใจ เปนกระบวนการนําออกซเิ จนในอากาศเขา สูปอด โดยออกซิเจนจะ ไปสลายสารอาหารและไดพ ลังงานออกมา รวมถึงการกําจัดคารบ อนไดออกไซด ซึ่งเปนของเสีย ออกจากรา งกาย การดแู ล หลกี เลีย่ งที่ทอ่ี ากาศไมบ รสิ ุทธ์ิ หาโอกาสไปอยูที่ท่ีอากาศบริสุทธิ์หายใจ เปนตน ไมสบู บหุ ร่ี และไมอยใู กลค นสูบบุหร่ี

110 เรือ่ งท่ี 2กแนวคําตอบ กกกกกกกขอท่ี 1 ผูหญิงเมื่อเริ่มยางเขาสูวัยสาวก็จะมีการเปล่ียนแปลงทางดานอารมณ หรือภาวะ ทางดานจิตใจ โดยที่เด็กผหู ญิงจะเรมิ่ มคี วามสนใจตัวเองมากขึ้น กกกกกกกผชู ายเมื่อเขาสชู ว งวัยรุนจะเริ่มมีความสนใจและใกลชิดกับกลุมเพื่อนมากข้ึน วัยรุน จะมีกิจกรรมตาง ๆ รวมกัน ซึ่งอาจจะเปนการเลนกีฬา ดนตรีหรือการออกไปเดินตาม หางสรรพสินคา กกกกกกกขอ ที่ 2 กกกกกกกทางดานรา งกาย ออกกําลงั สมา่ํ เสมอ ดืม่ น้ําสะอาดใหเพยี งพอ กกกกกกกดานอารมณแ ละจติ ใจ หางานอดเิ รกทีเ่ หมาะกบั ผูสงู อายุใหท ํา กกกกกกกดา นสงั คม แบง เวลา หรือจดั ตารางทํากิจกรรมตางๆ รวมกับผสู ูงอายุ กกกกกกกดานสติปญญา รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชนทางดานความจํา อานหนังสือแบบ ผอ นคลาย บทท่ี 2 การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ เร่ืองที่ 1 แนวคําตอบ กกกกกกกอาหาร ทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน กกกกกกกอากาศ อยูใ นทที่ ม่ี ีอากาศบริสุทธ์ิ หลีกเลีย่ งการในท่ที มี่ ลพิษ กกกกกกกอารมณ ทําจิตใจใหผ อ นคลาย ไมเ ครยี ด กกกกกกกอุจจาระ คือ รบั ประทานอาหารทีม่ ีกากใย ดม่ื นํ้าใหม ากๆ กกกกกกกออกกําลงั กาย ออกกําลังอยางสมํา่ เสมอ เร่อื งท่ี 2 แนวคําตอบ กกกกกกก1. ทางดา นรางกาย ชวยเสริมสรางสมรรถภาพทางดา นรางกายใหเปน ผทู ี่แข็งแรง มี ประสทิ ธิภาพในการทาํ งาน สรา งความแข็งแกรง ของกลามเนือ้ ฯลฯ กกกกกกก2. ทางดานอารมณ ชวยสามารถควบคุมอารมณไดเปนอยางดีไมวาจะอยูในสภาพ เชนไร ชว ยใหค นท่มี อี ารมณเบกิ บาน ย้มิ แยม แจม ใส ฯลฯ กกกกกกก3. ทางดานจิตใจ ชวยใหเปนคนที่มีจิตใจบริสุทธิ์มองโลกในแงดี ชวยใหเกิดความ เชอื่ มัน่ ตดั สินใจไดดี ฯลฯ

111 กกกกกกก4. ทางดานสังคม เปนผูที่มีระเบียบวินัย สามารถอยูในสภาพแวดลอมตางๆ ได เปน ผทู เ่ี ขา กบั สังคม เพ่อื นฝูง และบุคคลท่ัวไปไดเ ปน อยางดี ไมป ระหมา หรอื เคอะเขิน เรอื่ งท่ี 3กแนวตอบ กกกกกกกการเดินเร็ว การเดินเร็วกวาปกติ ชีวิตประจําวัน กกกกกกกการว่ิงเหยาะ คอื การว่ิงที่ไมต อ งการความเร็ว เปน การวงิ่ แบบเบาๆ ไมหักโหม กกกกกกกการข่จี กั รยาน การออกกาํ ลงั กายโดยการขีจ่ กั รยานสามารถกระทาํ ไดท กุ อายุ และ ทกุ สภาพความแขง็ แรง เปนการออกกําลงั กายที่ไมท าํ ใหขอเขา เสือ่ มเพม่ิ ขน้ึ กกกกกกกการเลน โยคะ คอื การบริหารกาย ลมหายใจ และ การผอ นคลาย โดยเวน หรอื ขา ม สว นที่เปนการฝก จติ โดยตรง ขณะเดยี วกันยังคงแฝงนัยแหง การฝก จิตโดยออมอยอู ยา ง ครบถว น กกกกกกกการออกกําลังกายแบบแอโรบคิ เปน กจิ กรรมท่ีไดร ับการยอมรับ และเปน ที่นยิ มกนั อยางแพรห ลายท่ัวโลก กกกกกกกการวา ยนา้ํ ทําใหเ กดิ ความปลอดภัยแลว การวายนาํ้ เปนกิจกรรมสําหรบั การพกั ผอ น หยอนใจ สนุกสนานเหมาะสมสําหรับสมาชิกทุกคนในครอบครัว เรอ่ื งท่ี 4กแนวคําตอบ กกกกกกกพอ เปน โรคกระดกู พรุน ควรออกกําลังกายเบา เชน วา ยนํา้ ปนจักรยาน ฯลฯ เรื่องท่ี 5กแนวคําตอบ กกกกกกกการมเี พศสมั พนั ธ การใชเข็มรวมกนั การคลอดบตุ รจากมารดาท่ีติดเชื้อเอชไอวี เร่อื งที่ 6 แนวคําตอบ ตอ งระมัดระวังในเร่ืองการแตงกาย ควรหลีกเล่ียงการเดินทางตามลําพังในยามวิกาล หรือในเสนทางที่เปล่ียว อยาไวใจคนแปลกหนาเปนอันขาด โดยเฉพาะถาพบกันใน สถานบันเทิง ฯลฯ

112 บทที่ 3 สารอาหาร เรอื่ งท่ี 1กแนวคาํ ตอบ กกกกกกกเชน แม นํา้ หนกั 65 กิโลกรมั สวนสูง 155 เซนติเมตร หาผลลพั ธได 27.05 อยูใ นเกณฑ อว น เพราะขาดการออกกาํ ลงั กาย เรื่องที่ 2 แนวคําตอบ กกกกกกก1. ความตอ งการสารอาหารในวยั เด็ก อาหารทีใ่ หโ ปรตนี อาหารที่ใหพลังงาน อาหารท่ใี หว ติ ามินและเกลือแร ฯลฯ กกกกกกก2. ความตอ งการสารอาหารของเด็กวัยเรียน นมสด 1 กลอง ขาวหรือขนมปง ไข อาจจะเปนไขดาว ไขลวกหรือไขเจียว ผลไมท่ีหาไดงาย เชน กลวยน้ําวา มะละกอ หรือ สม ฯลฯ กกกกกกก3. ความตองการสารอาหารในวยั รนุ อาหารท่ีใหโปรตีน พลังงาน และวิตามินตอง เพยี งพอสาํ หรับวยั รุน วติ ามนิ ตองเหมาะสมและโดยเฉพาะอยางย่ิงอาหารท่ีมีเกลือแรประเภท แคลเซียมและเหล็กตอ งเพียงพอ กกกกกกก4. ความตอ งการสารอาหารในวยั ผใู หญใหบรโิ ภคอาหารหลายชนิด บริโภคอาหาร ในปรมิ าณทพ่ี อเหมาะ หลีกเลี่ยงการรบั ประทานทมี่ ีไขมันมากเกินไป ฯลฯ กกกกกกก5. ความตอ งการสารอาหารของวัยชรา โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต คนสูงอายุ ควรรบั ประทานขาวลดลงและไมควรรับประทานน้ําตาลในปริมาณท่ีมาก ใยอาหาร คนสูงอายุ ควรรบั ประทานอาหารท่เี ปนพวกใยอาหารมากขึ้น กกกกกกก6. ความตองการสารอาหารในสตรตี ั้งครรภ อาหารที่ใหโ ปรตีน อาหารทใ่ี หพลังงาน อาหารท่ใี หว ติ ามินและเกลือแร สตรตี งั้ ครรภตองการอาหารท่ีมีวิตามินและเกลือแรเพ่ิมข้ึนควร รบั ประทานอาหารประเภทผกั และผลไมทกุ ๆวัน เชน สม มะละกอ กลว ย สลบั กันไป เรอ่ื งที่ 3กแนวคาํ ตอบ กกกกกกกการปรงุ อาหารที่ถกู สุขลกั ษณะ สุกเสมอ สะอาด ปลอดภัย กกกกกกกการทาํ อาหารใหส ะดวกและรวดเร็ว เก็บไวในตเู ย็นแลวนาํ มาปรงุ ใหมไ ดโ ดยใชเวลา นอยแตไดคุณคา มากเริม่ จากอาหารประเภทเน้ือสัตว เชน หมู ไก กุง ปลา เม่ือซื้อมาจัดเตรียม

113 ตามชนดิ ท่ีตอ งการปรุงหรอื หุงตมแลวทาํ ใหส ุก ดวยวิธีการตมหรือรวน แลวแบงออกเปนสวนๆ ตามปริมาณทจี่ ะใชแตล ะคร้งั แลว เก็บไวใ นตเู ย็น กกกกกกกการเก็บอาหารใหสะอาดปลอดภยั คอื สดั สวนเฉพาะ ส่งิ แวดลอมเหมาะสม สะอาด ปลอดภยั กกกกกกกอุณหภมู เิ ทาไหรจึงจะทําลายเช้ือโรคได อาหารเนื้อสัตวควรปรุงอาหารใหสุกเสมอ โดยท่ัวทกุ สวนทอ่ี ุณหภูมิสูงกวา 80 องศาเซลเซยี ส ข้ึนไปหรอื สกุ เสมอ สะอาด ปลอดภยั กกกกกกกอุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการเกบ็ อาหารสดประเภทเนอื้ สตั วเ ก็บไวในอุณหภูมิตูเย็น ระหวา ง 5 - 7 องศาเซลเซียสในขณะทเ่ี น้ือสตั วส ดท่ตี อ งการเก็บไวใ ชนาน (ไมเกิน7วัน)ตองเก็บ ไวในอุณหภูมิตูแชแข็ง อุณหภูมิต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส ท้ังนี้เมื่อจะนํามาใชจําเปนจะตอง นาํ มาละลายในไมโครเวฟ แตถา ละลายในน้าํ เยน็ จะตอ งเปลยี่ นน้าํ ทกุ 30 นาที บทที่ 4 โรคระบาด เรื่องท่ี 1กแนวคาํ ตอบ กกกกกกกโรคไขเ ลือดออก คือ โรคตดิ เชอื้ ซึง่ มสี าเหตุมาจาก ไวรสั เดงกี่ มีอาการไข ออนเพลีย ปวดเม่ือยกลามเนื้อ ไขจะสูงกวามาก โดยอาจมีไขสูงกวา 40 องศาเซลเซียส ผูปวยจะมีหนา แดง และปวดเมือ่ ยกลา มเนื้อคอนขางมากกวา หากทําการทดสอบโดยการรัดตนแขนดวยสาย รัด จะพบจุดเลือดออก การรักษาทานยาลดไข การปองกัน ปดภาชนะเก็บน้ําดวยฝาปด เชน มีผาปด ปากโองนา้ํ ตมุ นาํ้ ถงั เกบ็ นา้ํ หรอื ถาไมมฝี าปด กว็ างควา่ํ ลงหากยงั ไมตอ งการใช กกกกกกกโรคมาลาเรีย เกิดจากยุงกนปลองเปน พาหะนําโรคมาสคู น และเปน โรคที่มีสถิติการ ระบาดสูงมาก โดยเฉพาะในภาคใตและในจังหวัดท่ีเปนปาเขาท่ีมีฝนตกชุกอยูบอย ๆ มีอาการ วิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย มีไขสูง หนาวสั่น อาเจียน และมีเหงื่อมาก การรักษา เน่ืองจากใน ปจจุบนั พบเชื้อมาลาเรียที่ด้ือตอยา และอาจมีโรคแทรกซอนรายแรง (เชน มาลาเรียข้ึนสมอง) โดยเฉพาะอยางยิง่ สาํ หรบั ผทู ่อี ยูในเมอื ง ซ่งึ ไมม ีภมู ิตา นทานโรคนี้ การปองกัน นอนในมุง อยาใหย ุงกัดได ทําลายแหลงเพาะพันธุยุง เม่ือเขาปาหรือแหลงท่ีมีไข มาลาเรยี ระบาด ระวังอยาใหย ุงกดั โดยใชย ากนั ยุงทา ผอู ยูในพืน้ ท่ีแหลง ไขมาลาเรียระบาดควร ปลกู ตนตะไครห อมไวกันยุงกกกกกกก

114 กกกกกกกโรคไขหวัดนก พบในนก ไก เปด อาการผูปวยมีอาการคลายไขหวัดใหญ ไขสูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเม่ือยกลามเนื้อ ออนเพลีย เจ็บคอ การปองกัน รับประทานอาหาร ประเภทไกแ ละไขที่ปรงุ สุกเทาน้ัน กกกกกกกโรคซารส เกิดจาก เช้อื ไวรัสโคโรนา อาการ อาการสาํ คญั ของผูปว ยโรคซารส ไดแก มีไขตัวรอน หนาวสั่น ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ไอ ปวดศีรษะ และหายใจลําบาก สวนอาการอื่นที่ อาจพบไดมีทองเดิน ไอมีเสมหะ น้ํามูกไหล คล่ืนไสอาเจียนผูปวยท่ีสงสัยวาจะเปนโรคซารส ผูปวยมีอาการปวยเก่ียวกับโรคทางเดินหายใจและสงสัยวาจะเปนโรคซารส มีไขสูงเกิน 30 องศาเซลเซยี ส และมอี าการไอ หายใจตดิ ขัด การปอ งกนั ท่ีดีที่สุดไดแก การลางมือ การปฏิบัติ ตามหลักสขุ อนามยั อยา งเครง ครัด และการใสห นากากอนามัย กกกกกกกโรคอหวิ าตกโรค อหวิ าตกโรค เกดิ จากเชอ้ื แบคทีเรียใน สายพันธุเฉพาะชื่อ ไวบริโอ คอเลอรี โดยท่วั ไปมอี าการไมมาก กกกกกกกอาการ กกกกกกก1. เปนอยางไมร ุนแรง พวกนี้มักหายภายใน 1 วัน หรืออยางชา 5 วัน มีอาการถาย อจุ จาระเหลวเปนนํ้า วนั ละหลายครง้ั กกกกกกก2. เปน อยางรุนแรง อาการระยะแรก มที อ งเดนิ มเี น้อื อจุ จาระมาก ตอมามีลักษณะ เปนน้ําซาวขาว เพราะวามีมูกมาก มีกล่ินเหม็นคาว ถายอุจจาระไดโดยไมมีอาการปวดทอง บางครง้ั ไหลพงุ ออกมาโดยไมร ูส ึกตัว มีอาการอาเจยี นโดยไมค ลืน่ ไส กกกกกกกการปองกัน รับประทานอาหารท่ปี รงุ สุกใหม ๆ และดม่ื นาํ้ สะอาด ลางมือฟอกสบูให สะอาดทุกครง้ั กอ นกนิ อาหารหรือกอนปรุงอาหารและหลังเขา สว ม กกกกกกกการรักษา ภาวะขาดนาํ้ โดยดว น ดวยการใหน้ําและเกลือแรทดแทนการสูญเสียทาง อจุ จาระ

115 บทท่ี 5 ยาแผนโบราณและยาสมนุ ไพร เรอื่ งที่ 1กแนวคําตอบ กกกกกกกกการเลือกซ้ือยาแผนโบราณ ควรซื้อยาแผนโบราณจากรานขายยาท่ีมีใบอนุญาต และมีเลขทะเบยี นตาํ รบั ยา ไมควรซ้อื ยาแผนโบราณจากรถเรขาย เพราะอาจไดรับยาที่ผลิตข้ึน โดยผผู ลิตท่ไี มไดม าตรฐาน ซ่งึ อาจมีการปนเปอนของจุลินทรียในระหวางการผลิตอาจทําใหเกิด อนั ตรายตอ ผบู ริโภคได กอนซอื้ ยาแผนโบราณ ควรตรวจดฉู ลากยาทุกคร้ังวามีขอความดังกลาว น้ีหรอื ไม ฯลฯ กกกกกกกหลักการใชยาสมนุ ไพร สมนุ ไพรท่มี ีการนํามาใชใ นปจ จบุ ันนีม้ กั นาํ มาปรงุ เปนยาเพอื่ ใชร ักษา ปองกนั และสรา งเสรมิ สุขภาพ แตส วนมากจะเปนการรักษาโรค ทพ่ี บมากมีดงั น้ี ยาตม ยาผง ยาชง ยาลูกกลอน ยาเมด็ ยาดอง นาํ มาใชสด ๆ เรอื่ งท่ี 2 แนวคําตอบ กกกกกกกอันตรายจากการใชยาแผนโบราณ ทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ทําใหเกิดการ บวม (ตึง) ที่ไมใชอว น ทําใหก ระดกู ผุกรอน และเปราะงาย นาํ ไปสูความทุพพลภาพได กกกกกกกอันตรายจากการใชยาสมุนไพร พืชสมุนไพรหลายชนิดมีพิษโดยเฉพาะถาใชไมถูก สว น เชน ฟาทะลายโจร ควรใชสวนใบออน แตไมควรใชกานหรือลําตน เพราะมีสารไซยาไนต ประกอบอยู ดงั น้นั กอ นใชยาสมนุ ไพรตองแนใ จวามอี ะไรเปนสว นประกอบบา ง ฯลฯ บทท่ี 6 การปอ งกนั สารเสพตดิ เรื่องที่ 1กแนวคําตอบ กกกกกกกสาเหตขุ องการตดิ สารเสพตดิ เชน อยากทดลอง ความคกึ คะนอง การชักชวนของ คนอ่นื ฯลฯ กกกกกกกประเภทของยาเสพติด 1. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท 1 เชน เฮโรอีน เมทแอมเฟตามนี เอม็ ดเี อม็ เอ 2. ยาเสพติดใหโทษประเภท 2 เชน มอรฟ น โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และฝน 3. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท 3 เปนยาสาํ เร็จรปู ที่ผลิตข้ึนตามทะเบียนตํารับ ท่ีไดรับ อนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุขแลว มีจําหนายตามรานขายยา ไดแก ยาแกไอ ที่มีตัวยา โคเคอีน หรือยาแกท องเสียทมี่ ีตวั ยาไดเฟนอกซนิ เปน ตน

116 4. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท 4 เปนน้าํ ยาเคมีท่ีนาํ มาใชในการผลิตยาเสพติดใหโทษ ประเภท 1 ไดแก นา้ํ ยาเคมี อาซิติกแอนไฮไดรด อาซติ ลิ คลอไรด เอทิลิดีน ไดอาเซเตท 5. ยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ไดแก พืชกัญชา พืชกระทอม พืชฝน และพืชเห็ด ขีค้ วาย ยาเสพตดิ ใหโทษประเภทนไ้ี มม ปี ระโยชนทางการแพทย กกกกกกกลักษณะการติดยาเสพติด ตาโรยขาดความกระปร้ีกระเปรา น้ํามูกไหล น้ําตาไหล ริมฝปากเขียวคลา้ํ แหง แตก เหงือ่ ออกมาก กลน่ิ ตัวแรง พดู จาไมสมั พันธกบั ความจริง เรอ่ื งท่ี 2 แนวคาํ ตอบ กกกกกกก1. ฝน ทําใหนอนหลบั เคลบิ เคลมิ้ ผูท่ีติดฝนจะมีความคิดอานชาลง การทํางานของ สมอง หวั ใจ และการหายใจชา ลง กกกกกกก2. มอรฟ น มฤี ทธทิ์ ั้งกดและกระตนุ ระบบประสาทสวนกลาง ทําใหศูนยประสาทรับ ความรูสึกชา อาการเจ็บปวดตาง ๆ หมดไป กลามเนื้อคลายตัว มีความรูสึกสบายหายกังวล นอกจากน้ยี ังมฤี ทธ์กิ ดศนู ยการไอทําใหร ะงบั อาการไอ กกกกกกก3. เฮโรอนี มีฤทธิท์ ําใหง วงนอน งุนงง คลื่นไส อาเจียน เบื่ออาหาร รางกายผอมลง อยางรวดเร็ว ออนเพลีย ไมกระตือรือรน ไมอยากทํางาน หงุดหงิด โกรธงาย มักกอ อาชญากรรมไดเสมอ มกั ตายดวยมโี รคแทรกซอน หรือใชย าเกนิ ขนาด กกกกกกก4. บารบิทูเรต จะมีอาการมึนงงในใจหงุดหงิด เล่ือนลอย ขาดความรับผิดชอบ มีความกลาอยางบา บ่ิน ชอบทะเลาะววิ าท กา วรา ว ทาํ รายตนเอง คลุมคลั่ง พูดไมชัด เดินโซเซ คลา ยกับคนเมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลือ้ งเสอื้ ผา เพ่ือเตนโชวไ ด กกกกกกก5. ยากลอ มประสาท เปนยาที่มีฤทธ์กิ ดสมอง ทําใหจ ติ ใจสงบหายกังวล กกกกกกก6. แอมเฟตามีน ทําใหม ีอาการต่นื ตวั หายงวง พดู มาก หัวใจเตนเรว็ ข้ึน มือสั่นใจสั่น ถา ใชเกนิ ขนาดจะทําใหเวียนศรี ษะนอนไม กกกกกกก7. กัญชา ทําใหมีอาการตื่นเตน ชางพูด หัวเราะสงเสียงดัง กลามเน้ือแขนขาออน เปล้ียคลายคนเมาสรุ า กกกกกกก8. ยาหลอนประสาท มีอารมณออนไหวงาย ประสาทรับความรูสึกแปรรวน ไมส ามารถควบคุมสติได กกกกกกก9. สารระเหย ตอนแรกจะรูสึกเปนสุข ราเริง ควบคุมตัวเองไมได คลายกับคนเมา สุรา ระคายเคอื งเยือ่ บภุ ายในปากและจมูก น้ําลายไหลมาก

117 กกกกกกก10. ยาบา เมอ่ื เสพเขาสรู า งกาย ในระยะแรกจะออกฤทธิท์ ําใหร า งกายตนื่ ตัว หวั ใจเตนเร็ว ความดนั โลหิตสูง ใจส่ัน ประสาทตึงเครียด แตเมื่อหมดฤทธ์ิยา จะรูสึกออนเพลีย มากกวา ปกตไิ ด กกกกกกก11. ยาอี ยาเลฟิ เหงอื่ ออกมาก หัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง ระบบประสาทการ รับรูเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ทําใหการไดยินเสียงและการมองเห็นแสงสีตางๆ ผิดไปจาก ความเปนจรงิ เคลิบเคลม้ิ ควบคมุ อารมณไ มไ ด บทท่ี 7 อบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั ภิ ยั ขอ 1. แนวคําตอบ กกกกกกก1. สาเหตุท่เี กิดจากบุคคล กกกกกกก2. สาเหตุทเี่ กิดจากเคร่อื งจกั รและอุปกรณห รือยานพาหนะในการทํางาน กกกกกกก3. สาเหตุจากสภาพแวดลอม ขอ 2. แนวคาํ ตอบ กกกกกกก1. ไมค วรใสข องมคี า ไปในท่ีอาจถกู จี้ หรือชกชงิ วิ่งราวได กกกกกกก2. ไมค วรไปในทีเ่ ปล่ียวตามลําพงั โดยเฉพาะผูหญงิ ควรมเี พือ่ นไปดว ย แตถ าหลกี เลยี่ งการไปในท่ีเปล่ียวไดจ ะเปนการดี กกกกกกก3. ผหู ญงิ ไมควรแตงกายโปห รือโชวสัดสวนมากเกินไป เพราะจะเปน การยัว่ ยุอารมณ ทางเพศของผชู ายได อาจถกู ขม ขื่นได ถา อยใู นสถานท่เี ปลี่ยว กกกกกกก4. อยาหลงเชือ่ คนทตี่ ิดตอ คยุ กันทางอินเทอรเนต็ เพราะถอื วา เปนคนแปลกหนา อาจนาํ ไปสกู ารลอลวง กกกกกกก5. ถา มีคนแปลกหนา มาขอเชาบา นเพื่อกิจกรรมตา งๆอยา ไวใจ ตองพิจารณาดูใหด ี เพราะอาจเปน มจิ ฉาชพี ได ขอ 3. แนวคําตอบ กกกกกกกควรพยายามพูดกบั คนรา ยดีๆอยาโตเถยี งใหคนรา ยโกรธ พยายามอยา ใหถูกทําราย รางกาย ในกรณีท่คี ิดวาตองถูกทํารายแนนอนใหวิง่ หนีเขาไปในฝูงชน

118 ขอ 4. แนวคาํ ตอบ กกกกกกก1. ควรใหผปู วยนอนราบลงพื้น ยกปลายเทาสงู เพ่ือใหเ ลือดไหลไปเลย้ี งสมอง กกกกกกก2. คลายเสื้อผา ใหหลวม กกกกกกก3. อยใู นท่อี ากาศถายเท กกกกกกก4. ดมแอมโมเนียหรอื ยาหมอง บทที่ 8 ทกั ษะชีวติ เพอื่ การสอ่ื สาร ขอ 1. แนวคาํ ตอบ กกกกกกกเปนคนมีความสามารถในการแกป ญ หาทต่ี องเผชญิ ในชีวิตประจําวนั เพื่อใหอ ยูรอด ปลอดภยั และสามารถอยูรวมกบั ผอู ่ืนไดอ ยางมคี วามสขุ ขอ 2. แนวคาํ ตอบ กกกกกกก1. ทักษะการตัดสินใจ กกกกกกก2. ทกั ษะการแกป ญ หา กกกกกกก3. ทักษะการคดิ สรางสรรค กกกกกกก4. ทักษะการคิดอยา งมีวิจารณญาณ กกกกกกก5. ทักษะการสื่อสารอยางมีประสทิ ธภิ าพ กกกกกกก6. ทักษะการสรางสมั พนั ธภาพระหวา งบุคคล กกกกกกก7. ทกั ษะการตระหนกั รใู นตน กกกกกกก8. ทกั ษะการเขาใจผอู นื่ กกกกกกก9. ทกั ษะการจัดการกบั อารมณ กกกกกกก10. ทกั ษะการจัดการกับความเครยี ด ขอ 3. แนวคําตอบ กกกกกกก1. ทกั ษะการสอื่ สารอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ควรใหผสู งสารและผรู บั สารเกดิ ความเขาใจ อนั ดตี อกัน เกดิ ความสัมพันธภาพที่ดซี ่ึงทกั ษะจาํ เปนในการส่ือสารไดแก รูจักแสดงความคิดเห็น ช่นื ชมผูอ ่ืน ใชวาจาสุภาพ รจู ักปฏเิ สธเมื่อถูกชักชวนใหปฏิบัติผิดประเพณีหรือผดิ กฎหมาย กกกกกกก2. ทกั ษะการสรา งสัมพันธระหวา งบุคคล มีความใสใจ เอาใจใสซ งึ่ กนั และกัน มคี วาม ไวเน้ือเชือ่ ใจ การยอมรบั การมีสวนรวม การเหน็ อกเหน็ ใจผอู นื่ กกกกกกก3. ทกั ษะการเขาใจและเหน็ ใจผอู นื่ ตอ งคาํ นงึ วา ทุกคนมศี ักดิ์ศรีเทา เทียมกันทกุ คน มีความแตกตางกัน การเอาใจเขาใสใจเรา และการรบั ฟง ผูอื่น

119 บทท่ี 9 อาชพี แปรรปู สมนุ ไพร ขอ 1. แนวคําตอบ กกกกกกกการสกดั เอาตัวยาออกจากเนือ้ ไมย า สารท่ีใชส กดั เอาตัวยาออกมาทนี่ ยิ มใชกนั ไดแ ก น้าํ และเหลา ขอ 2.แนวคําตอบ กกกกกกกการตม เปน การสกัดตวั ยาออกมาจากไมย าดวยน้าํ รอ น เปน วธิ ีทีใ่ ชม ากทสี่ ุดใชก บั สว นของเน้ือไมท แ่ี นน และแขง็ เชน ลําตนและราก มี 3 ลักษณะ 1. การตม กนิ ตา งนา้ํ คอื การตม ใหเ ดอื ดกอ นแลว ตม ดวยไฟออนๆอีก 10 นาทนี ํามา กนิ แทนนํา้ 2. การตม เคีย่ ว คือ การตมใหเดอื ดออนๆใชเวลาตม 20 – 30 นาที 3. การตม 3 เอา 1 คอื การตมจากน้ํา 3 สวนใหเ หลอื เพยี ง 1 สว น ใชเวลาตม 30 – 45 นาที

120 บรรณานุกรม กติ ติ ปรมตั ถผล, นายปรชี า ไวยโภคา : รวมชดุ สาระการเรียนรพู ื้นฐาน “สขุ ศึกษา 2” กกกกกกกกชวงชนั้ ที่ 3 ม.2, 2550. บริษัท สํานักพิมพเ อมพันธ จาํ กัด กติ ติ ปรมตั ถผล, นายปรีชา ไวยโภคา : รวมชุดสาระการเรียนรูพืน้ ฐาน “สุขศึกษา 3” กกกกกกกกชว งช้ันที่ 3 ม.3, 2550. บรษิ ัท สํานักพิมพเอมพนั ธ จาํ กดั กสุ มุ าวดี ดาํ เกลีย้ ง, ปรีชา ไวยโภคา และคณะ : รวมชดุ สาระการเรียนรพู นื้ ฐาน กกกกกกกก“สขุ ศึกษา 6” ชวงช้ันท่ี 4 ม.6, 2550. บรษิ ทั สาํ นักพิมพเ อมพันธ จํากัด โกวิท ประวาลพฤกษ และคณะ. หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรพู น้ื ฐานสขุ ศกึ ษาและ พลศึกษา.กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พบ ริษทั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว), 2547. สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชนฯ / เลมที่ 7 / เรือ่ งท่ี 8 อุบัติเหตแุ ละการ ปฐมพยาบาล ความรูเรื่องโชค : ทางแก ดูแล ปองกัน, 2543 : บริษัท รีดเดอรส ไดเจสท (ประเทศไทย) จาํ กดั . กรุงเทพมหานคร วาสนา คณุ าอภิสทิ ธ์ิ และคณะ. หนังสอื เรยี นสาระการเรียนรพู ื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูกก กกกกกกสุขศกึ ษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พครุ สุ ภาลาดพรา ว, 2546. สมหมาย แตงสกลุ และธาดา วมิ ลวัตรเวที. หนังสอื เรียนสาระการเรียนรพู ื้นฐานกลมุ สาระ สุขศกึ ษาพลศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พไทยวฒั นาพานชิ ,2546.

121 คณะผูจัดทํา ที่ปรกึ ษา เลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ จาํ จด รองเลขาธกิ าร กศน. นายประเสริฐ หอมดี ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ นางตรนี ุช สุขสุเดช และการศึกษาตามอธั ยาศัย ผอู ํานวยการ สถาบัน กศน. ภาคกลาง นายวมิ ล ชาญชนบท รองผูอาํ นวยการ สถาบนั กศน. ภาคกลาง ด.ต.ชาติวุฒิ เพ็ชรนอ ย ผูสรปุ เนื้อหา ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอเมอื งนครปฐม นายประชาลกั ณ ศรีคณุ าภรณ ครู สถาบัน กศน.ภาคกลาง นายไพโรจน ขุนทอง ครู กศน.อําเภอเมืองนครปฐม ครู กศน.อําเภอเมอื งนครปฐม นางสาวนฤมล มลู ทองชุน เจาหนาท่ี สถาบัน กศน. ภาคกลาง ครู สถาบนั กศน. ภาคกลาง นางสธุ าสินี บารมรี ังสกิ ุล นางสาวกัญญาณัฐ หนอทองคาํ นางสาวโชติกา ชยั ชนะ ผตู รวจและบรรณาธกิ าร ผูอาํ นวยการสํานกั งาน กศน.จงั หวดั เพชรบรุ ี นายศุภัชณัฏฐ หลักเมอื ง ศึกษานิเทศก กศน.จงั หวดั เพชรบรุ ี นางทองสุข รตั นประดษิ ฐ ครู กศน.อําเภอหัวหนิ นางสาวณฐั กฤตา ทับทิม ครู กศน.อาํ เภอเมืองสมุทรสงคราม นางสาวจรยิ า สมุทวนิช ครู กศน.อําเภอเมอื งเพชรบุรี นางสาวสาํ ราญ นาคทอง

ผพู มิ พต น ฉบับ 122 นางสาวโชตกิ า ชยั ชนะ ครู สถาบัน กศน. ภาคกลาง กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ ผูอ อกแบบปก และการศึกษาตามอัธยาศัย นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป

123


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook