Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore shootingstar ดาวตก

shootingstar ดาวตก

Published by wsuththiprapha3, 2019-08-22 12:22:53

Description: shootingstar ดาวตก

Search

Read the Text Version

Shooting star ดาวตก

หากเราเงยหนา มองทองฟายามค่ําคนื เราอาจพบเจอดาวตก หรอื Shooting star ท่ีมี ลกั ษณะเปน เสน แสงสวางเคลอื่ นท่พี าดผา นทองฟา ดาวตก คือสะเก็ดดาว (Meteoroid) ทีล่ ุก ไหมในช้ันบรรยากาศโลก เมื่อสะเกด็ ดาวทล่ี อยอยใู นอวกาศเขาใกลโลก แรงดงึ ดูดของโลก จะทาํ การดึงสะเก็ดดาวเขาสชู ้นั บรรยากาศโลก ทําใหเกิดความรอนจากการเสยี ดสขี อง สะเกด็ ดาวกับช้นั บรรยากาศกอ ใหเ กดิ แสงสวา งขึ้นเปนเสนของดาวตก หากมีสะเก็ดดาว จาํ นวนมากตกลงสูชน้ั บรรยากาศโลกพรอ มๆ กัน ทาํ ใหเ กดิ ดาวตกมากมายอยางตอ เนอื่ ง จะ ถกู เรยี กวา ปรากฏการณฝนดาวตก (Meteor shower) และถา สะเก็ดดาวมีขนาดใหญและ รอดพนจากการลกุ ไหมในชั้นบรรยากาศได เมอ่ื ตกลงมาถงึ พ้นื โลกจะถูกเรียกวา อกุ กาบาต (Meteorite)

ฝนดาวตก คอื ดาวตกหลายดวงทเ่ี หมอื นกันออกมาจาก บริเวณเดยี วกนั ในทอ งฟา ชว งเวลาเดยี วกนั ของป ซงึ่ เกดิ จากเศษชนิ้ สว นในอวกาศที่พุง เขา บรรยากาศโลกดวย อัตราเร็วสูง แตล ะคราวท่ีดาวหางเขามาใกลดวงอาทติ ย จะ มเี ศษชน้ิ สวนขนาดเลก็ ของดาวหางถกู สลดั ท้งิ ไวตามทาง โคจร เรยี กวา \"ธารสะเกด็ ดาว\" หากวงโคจรของโลกและ ของดาวหางซอนทับกัน โลกจะเคลื่อนที่ผานธารสะเกด็ ดาว ในชวงวันเดยี วกันของแตละป ทําใหเกดิ ฝนดาวตก การทสี่ ะเก็ดดาวในธารเดียวกนั เคลอ่ื นทข่ี นานกันและ มอี ตั ราเร็วเทา กนั ดาวตกท่ีเราเหน็ จงึ ดูเหมอื นพงุ ออกมาจาก จดุ เดยี วกันในทอ งฟา ซง่ึ เปนผลจากทัศนมติ ิ (perspective) เปรียบเหมอื นกบั ท่เี ราเห็นรางรถไฟไปบรรจบกนั ที่ขอบฟา เมือ่ ยนื ดูจากกลางราง

ลกู ไฟ (Fireball) หรอื โบลายด (Bolide) คือ ดาวตกท่สี องแสงสวา งมาก ๆ เกิดจากวตั ถุ นอกชัน้ บรรยากาศตกลงมาสโู ลก และเกิดการเผาไหมจ งึ เห็นไฟเปนสีตาง ๆ โดยสที เ่ี ห็นน้ัน ข้นึ อยูก บั องคป ระกอบทางเคมี อาทิ สแี ดง มอี งคประกอบของ ไนโตรเจนและออกซิเจน สีเหลอื ง มอี งคประกอบของ ไอรอน หรือเหลก็ สมี ว ง มีองคประกอบของ แคลเซยี ม สีสม อมน้าํ ตาล มีองคประกอบของ โซเดยี ม สเี ขยี วอมฟา มีองคป ระกอบของ แมกนีเซียม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook