Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore solar system ระบบสุริยะ

solar system ระบบสุริยะ

Published by wsuththiprapha3, 2019-09-10 08:04:41

Description: solar system ระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

Solar system ระบบสรุ ิยะ

ระบบสรุ ยิ ะ(Solar System) ประกอบดว ยดวงอาทิตยและวตั ถอุ น่ื ๆ ท่โี คจรรอบดวงอาทติ ยเ นื่องจากแรงโนม ถวง ไดแ ก ดาวเคราะห 8 ดวงกับดวงจนั ทรบรวิ ารทคี่ นพบแลว 166 ดวง ดาวเคราะหแ คระ 5 ดวงกับดวงจนั ทรบริวารท่คี น พบแลว 4 ดวง กับวัตถขุ นาด เลก็ อน่ื ๆ อีกนับลา นชิน้ ซ่งึ รวมถงึ ดาวเคราะหน อย วตั ถุในแถบไคเปอร ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุนระหวา งดาวเคราะห โดยทัว่ ไปแลว จะแบง ยา นตา ง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตยอ อกมาดังน้ีคอื ดาวเคราะหชน้ั ในจํานวน 4 ดวง แถบดาวเคราะหน อ ย ดาวเคราะหขนาดใหญรอบนอกจาํ นวน 4 ดวง และแถบไคเปอรซ่งึ ประกอบดว ยวตั ถทุ เ่ี ย็นจัดเปน นา้ํ แขง็ พน จากแถบไคเปอรอ อกไปเปน เขต แถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลโิ อพอส (เขตแดนตามทฤษฎีทซ่ี ึง่ ลมสุริยะสนิ้ กําลังลงเนอ่ื งจากมวลสารระหวางดวงดาว) และพน ไปจากนนั้ คือ ยา นของเมฆออรต กระแสพลาสมาท่ีไหลออกจากดวงอาทติ ย(หรือลมสรุ ยิ ะ)จะแผต ัวไปทัว่ ระบบสุรยิ ะสรา งโพรงขนาดใหญข ้นึ ในสสารระหวางดาวเรยี ก กันวา เฮลโิ อสเฟยร ซ่ึงขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะหช้นั เอกทง้ั 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลําดบั จากใกลดวงอาทิตยท ่สี ุดออกไป มดี งั น้ีคือ ดาวพุธ ดาวศกุ ร โลก ดาวอังคาร ดาว พฤหสั บดี ดาวเสาร ดาวยูเรนสั และดาวเนปจูน นบั ถึงกลางป ค.ศ. 2008 วตั ถขุ นาดยอมกวา ดาวเคราะหจาํ นวน 5 ดวง ไดร บั การจัดระดบั ใหเปนดาวเคราะหแคระ ไดแก ซีรีสในแถบ ดาวเคราะหน อย กบั วัตถอุ กี 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทติ ยอยูใ นยา นพนดาวเนปจนู คือ ดาวพลูโต (ซ่ึงเดิมเคยถกู จดั ระดบั ไวเปนดาวเคราะห) เฮาเมอา มาคมี าคี และ อีรสี มีดาวเคราะห 6 ดวงและดาวเคราะหแ คระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยรู อบ ๆ เราเรยี กดาวบริวารเหลา นีว้ า \"ดวงจันทร\" ตามอยางดวงจนั ทร ของโลก นอกจากน้ดี าวเคราะหช้นั นอกยงั มีวงแหวนดาวเคราะหอยูรอบตัวอนั ประกอบดวยเศษฝนุ และอนภุ าคขนาดเลก็ สาํ หรับคาํ วา ระบบดาวเคราะห ใชเมอ่ื กลา วถึงระบบดาวโดยทัว่ ไปท่มี วี ตั ถุตา ง ๆ โคจรรอบดาวฤกษ คาํ วา \"ระบบสุริยะ\" ควรใช เฉพาะกบั ระบบดาวเคราะหท ีม่ ีโลกเปนสมาชิก และไมควรเรียกวา \"ระบบสุรยิ จักรวาล\" อยา งท่ีเรยี กกันติดปาก เน่ืองจากไมเก่ยี วขอ งกบั คําวา \"จกั รวาล\" ตามนยั ทีใ่ ชใ นปจจุบนั

ระบบสุริยะ คือระบบดาวทม่ี ีดาวฤกษเ ปนศูนยก ลาง และมดี าวเคราะห (Planet) เปนบรวิ ารโคจรอยโู ดยรอบ เม่อื สภาพแวดลอม เออื้ อาํ นวย ตอ การดาํ รงชวี ิต สิ่งมีชีวติ กจ็ ะเกิดข้นึ บนดาวเคราะหเหลา นน้ั หรือ บริวารของดาวเคราะหเ องท่ีเรยี กวาดวงจันทร (Satellite) นกั ดาราศาสตรเ ชอื่ วา ในบรรดาดาวฤกษท ง้ั หมดกวา แสนลา นดวงในกาแลกซี่ทางชา งเผอื กตองมีระบบสุริยะท่ีเอื้ออํานวยชวี ิตอยางระบบสุรยิ ะท่ี โลกของเราเปนบรวิ ารอยูอยา งแนน อน เพยี งแตว าระยะทางไกลมากเกนิ กวาความสามารถในการติดตอจะทาํ ไดถึงทโี่ ลกของเราอยเู ปนระบบท่ีประกอบดวย ดวงอาทิตย (The sun) เปน ศูนยก ลาง มีดาวเคราะห (Planets) 9 ดวง ทีเ่ ราเรียกกนั วา ดาวนพเคราะห ( นพ แปลวา เกา ) เรยี งตามลําดบั จากในสดุ คอื ดาวพธุ ดาว ศุกร โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลโู ต ( ตอนนไ้ี มมพี ลโู ตแรว เหลือแค 8 ดวง ) และยังมีดวงจันทรบริวาร ของ ดวงเคราะหแ ตละดวง (Moon of sattelites) ยกเวนเพียง สองดวงคอื ดาวพธุ และ ดาวศกุ ร ที่ไมมีบรวิ าร ดาวเคราะหนอย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อกุ กาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลมุ ฝุนและกา ซ ซง่ึ เคล่อื นทีอ่ ยใู นวงโคจร ภายใตอ ทิ ธพิ ลแรงดงึ ดูด จากดวงอาทติ ย ขนาด ของระบบสุริยะ กวา งใหญไพศาลมาก เมอ่ื เทยี บระยะทาง ระหวางโลกกับดวงอาทติ ย ซึง่ มีระยะทางประมาณ 150 ลานกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) หนว ยดาราศาสตร กลา วคือ ระบบสุริยะมรี ะยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลโู ต ดาว เคราะหท ม่ี ีขนาดเล็กท่สี ุด ใน ระบบสุรยิ ะ ซ่งึ อยไู กล เปน ระยะทาง 40 เทา ของ 1 หนวยดาราศาสตร และยังไกลหางออก ไปอกี จนถึงดงดาวหางออ ต (Oort\"s Cloud) ซง่ึ อาจอยู ไกลถงึ 500,000 เทา ของระยะทางจากโลกถงึ ดวงอาทิตยด ว ย ดวงอาทติ ยม ีมวล มากกวารอ ยละ 99 ของ มวลท้งั หมดในระบบสุริยะ ท่เี หลอื นอก นั้นจะเปนมวลของ เทหวตั ถตุ างๆ ซ่งึ ประกอบดวยดาวเคราะห ดาวเคราะหนอ ย ดาวหาง และอกุ กาบาต รวมไปถงึ ฝุนและกา ซ ที่ลองลอยระหวาง ดาวเคราะห แตล ะดวง โดยมแี รงดึงดูด (Gravity) เปน แรงควบคมุ ระบบสรุ ยิ ะ ใหเ ทหวัตถบุ นฟา ทงั้ หมด เคลือ่ นที่เปนไปตามกฏแรง แรงโนม ถว ง ของนวิ ตัน ดวงอาทติ ยแพรพลงั งาน ออกมา ดว ยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรตี อ วินาที เปน พลังงานท่เี กิดจาก ปฏกิ รยิ าเทอรโ มนวิ เคลียร โดยการเปล่ียนไฮโดรเจนเปนฮเี ลยี ม ซ่งึ เปนแหลงความรอนใหก ับดาว ดาวเคราะหตา งๆ ถงึ แมวา ดวงอาทิตย จะเสยี ไฮโดรเจนไปถงึ 4,000,000 ตนั ตอวนิ าทกี ็ตาม แตน ักวิทยาศาสตรก ย็ งั มีความเชอื่ วาดวงอาทติ ย จะยงั คงแพรพลงั งานออกมา ในอตั รา ทเ่ี ทา กันนี้ ไดอ กี นานหลายพันลา นป

ดาวเคราะห์ทัง้ 9 ดวง ชอ่ื ของดาวเคราะหท ้ัง 9 ดวงยกเวน โลก ถกู ตงั้ ชอ่ื ตามเทพของชาวกรกี เพราะเชอ่ื วาเทพเหลานนั้ อยบู นสรวงสวรค และเคารพบูชาแต โบราณกาล ในสมยั โบราณจะรจู ักดาวเคราะหเพียง 5 ดวงเทานัน้ (ไมนบั โลกของเรา) เพราะสามารถเหน็ ได ดว ยตาเปลา คอื ดาวพธุ ดาว ศกุ ร ดาวองั คาร ดาวพฤหสั ดาวเสาร ประกอบกบั ดวงอาทิตย และดวงจนั ทร รวมเปน 7 ทําใหเ กิดวนั ท้ัง 7 ในสปั ดาหนั่นเอง และดาวทง้ั 7 นี้ จงึ มอี ิทธิกบั ดวงชะตาชีวติ ของคนเราตามความเชอื่ ถือทางโหราศาสตร สวนดาวเคราะหอกี 3 ดวงคอื ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ถกู คนพบภายหลัง แตน กั ดาราศาสตรก็ตง้ั ชอื่ ตามเทพของกรกี เพ่อื ใหสอดคลองกันนน่ั เอง

วัตถุในระบบสรุ ิยะ ดวงอาทติ ยด วงอาทิตย เปน ดาวฤกษทม่ี ชี นิดสเปกตรัม G2 มีมวลประมาณ 99.86% ของทั้งระบบ ● ดาวเคราะหใ นระบบสรุ ยิ ะมี 8 ดวง ไดแก ดาวพธุ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร ดาวยูเรนัส และ ดาวเนปจูน ดาวบริวาร คือ วัตถทุ โ่ี คจรรอบดาวเคราะห ฝุนและอนภุ าคขนาดเล็กอ่ืนๆ ทป่ี ระกอบกันเปนวงแหวนโคจรรอบดาวเคราะห ขยะอวกาศท่โี คจรรอบโลก เปน ชนิ้ สว นของจรวด ยานอวกาศ หรือดาวเทียมท่มี นุษยสรางขน้ึ

● ซากจากการกอ ตวั ของดาวเคราะห เปนเศษฝนุ ท่ีจบั ตวั กันในยุคแรกทรี่ ะบบสรุ ยิ ะกอ กาํ เนดิ อาจ หมายรวมถึงดาวเคราะหนอ ยและดาวหาง ● ดาวเคราะหนอ ย คือ วัตถทุ ี่มีขนาดเลก็ กวาดาวเคราะห สวนใหญม ีวงโคจรไมเ กินวงโคจรของ ดาวพฤหสั บดี อาจแบง ไดเ ปน กลมุ และวงศ ตามลกั ษณะวงโคจร ● ดาวบรวิ ารดาวเคราะหน อย คอื ดาวเคราะหนอยขนาดเล็กท่ีโคจรรอบดาวเคราะหน อ ยทีม่ ขี นาด ใหญก วา หรืออาจมขี นาดพอๆ กัน ● ดาวเคราะหน อยทรอย คือ ดาวเคราะหนอยทีม่ วี งโคจรอยใู นแนววงโคจรของดาวพฤหัสบดีท่จี ุด L4 หรือ L5 อาจใชชื่อน้สี าํ หรบั ดาวเคราะหน อ ยที่อยูทจ่ี ุดลากรางจของดาวเคราะหด วงอื่นๆ ดว ย ● สะเก็ดดาว คอื ดาวเคราะหนอ ยทมี่ ขี นาดเทา กอนหินขนาดใหญลงไปถึงผงฝุน ● ดาวหาง คือ วตั ถุท่มี ีองคประกอบสวนใหญเปน น้าํ แขง็ มวี งโคจรทมี่ ีความรีสงู โดยปกติจะมีจดุ ใกลดวงอาทติ ยท่ีสุดอยภู ายในวงโคจร ของดาวเคราะหวงใน และมจี ดุ ไกลดวงอาทติ ยทส่ี ดุ หา งไกลเลยวงโคจรของดาวพลูโต ดาวหางคาบสัน้ มีวงโคจรใกลด วงอาทิตยมาก กวาน้ี อยางไรกต็ าม ดาวหางท่มี อี ายเุ กาแกมักสญู เสยี น้ําแข็งไปหมดจนกลายเปนดาวเคราะหนอ ย ดาวหางท่ีมวี งโคจรเปน รูปไฮเพอ รโ บลา อาจมกี าํ เนิดจากภายนอกระบบสุริยะ ● เซนทอร คอื วัตถคุ ลา ยดาวหางที่มีวงโคจรรีนอ ยกวา ดาวหาง มกั อยใู นบริเวณระหวางวงโคจรของดาวพฤหสั บดแี ละดาวเนปจูน ● วตั ถทุ ีเอน็ โอ คือ วัตถทุ ม่ี ีก่งึ แกนเอกของวงโคจรเลยดาวเนปจูนออกไป ● วัตถแุ ถบไคเปอร มวี งโคจรอยรู ะหวา ง 30 ถึง 50 หนวยดาราศาสตร คาดวาเปนทกี่ าํ เนิดของดาวหางคาบสน้ั บางคร้ังจัดดาวพลูโตเปน วัตถุประเภทนดี้ วย นอกเหนอื จากการเปน ดาวเคราะห จึงเรยี กช่อื วัตถทุ ี่มวี งโคจรคลายดาวพลูโตวา พลตู โิ น ● วัตถุเมฆออรต คอื วตั ถุท่ีคาดวา มวี งโคจรอยรู ะหวา ง 50,000 ถงึ 100,000 หนว ยดาราศาสตร ซ่งึ เชอื่ วา เปน ถ่นิ กาํ เนิดของดาวหางคาบ ยาว ● เซดนา วตั ถุท่เี พิง่ คนพบเมื่อเร็วๆ น้ี ซ่งึ มีวงโคจรเปนวงรสี งู มาก หา งดวงอาทติ ยระหวา ง 76-850 หนวยดาราศาสตร ไมส ามารถจัดอยู ในประเภทใดได แมว าผูค น พบใหเ หตุผลสนับสนุนวา มนั อาจเปนสว นหนง่ึ ของเมฆออรต ฝุนซงึ่ กระจดั กระจายอยูทั่วไปในระบบสุริยะ อาจเปน สาเหตขุ องปรากฏการณแ สงจกั รราศี ฝุนบางสว นอาจเปน ฝนุ ระหวางดาวทีม่ าจากนอกระบบสรุ ยิ ะ

ทฤษฎกี ารกําเนิดของระบบสุริยะ หลักฐานท่สี าํ คญั ของการกําเนดิ ของระบบสรุ ยิ ะก็คอื การ เรียงตัวและการเคลอื่ นท่ีอยา งเปน ระบบระเบยี บของ ดาว เคราะห ดวงจนั ทรบริวาร ของดาวเคราะห และ ดาวเคราะหน อ ย ท่ีแสดงใหเ หน็ วาเทหวตั ถุ ทง้ั มวลบนฟา นั้นเปนของ ระบบสรุ ิยะ ซึง่ จะเปนเรือ่ งที่เปนไปไมไดเลย ท่ี เทหวตั ถุทองฟา หลายพันดวง จะมรี ะบบ โดยบังเอิญโดย มิไดมจี ดุ กาํ เนดิ รวมกนั Piere Simon Laplace ไดเ สนอ ทฤษฎจี ุดกําเนิดของระบบสุรยิ ะ ไวเ ม่อื ป ค.ศ.1796 กลาว วา ในระบบสุรยิ ะจะ มมี วลของกา ซรปู รา งเปน จานแบนๆ ขนาดมหมึ าหมนุ รอบ ตวั เองอยู ในขณะทหี่ มุนรอบตวั เอง นน้ั จะเกิดการหดตวั ลง เพราะแรงดึงดดู ของมวลกา ซ ซึ่ง จะทาํ ให อตั ราการหมุนรอบตัวเองนน้ั จะเกดิ การหดตวั ลง เพราะแรงดงึ ดูดของกา ซ ซงึ่ จะทาํ ใหอัตราการ หมนุ รอบตงั เอง มีความเรว็ สงู ขน้ึ เพ่อื รกั ษาโมเมนตัมเชงิ มุม (Angular Momentum) ในท่สี ดุ เม่ือความเรว็ มีอตั ราสงู ข้นึ จนกระทงั่ แรงหนีศูนยก ลางท่ีขอบของกลมุ กาซมมี ากกวา แรงดึงดดู ก็จะทาํ ใหเ กิดมีวงแหวน ของกลมุ กา ซแยก ตัวออกไปจากศนุ ยก ลางของกลมุ กาซเดิม และเม่อื เกิดการ หดตวั อกี ก็จะมีวงแหวนของกลุมกาซเพ่ิมข้ึน ข้นึ ตอไปเรือ่ ยๆ วงแหวนทีแ่ ยกตัวไปจากศูนยกลางของวงแหวนแตละวงจะมคี วามกวา งไมเทา กัน ตรงบริเวณ ท่ี มีความ หนาแนนมากที่สุดของวง จะคอยดึงวตั ถุทง้ั หมดในวงแหวน มารวมกันแลว กลัน่ ตวั เปนดาวเคราะห ดวงจันทรของดาว ดาวเคราะหจะเกดิ ขน้ึ จากการ หดตัวของดาวเคราะห

ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ จกั รวาล ดวงอาทติ ย์ (Sun) ดวงอาทิตยเ ปน ศนู ยกลางของระบบสุริยะจักรวาล อยหู า งจากโลกเปน ระยะทางประมาณ 93 ลานไมล และมีขนาดใหญกวา โลกมากกวา 1 ลานเทา มขี นาดเสน ผา ศนู ยกลางยาวกวาโลก 100 เทา ดวงอาทติ ยเปน ดาวฤกษทีม่ ีแสงสวางในตัวเอง ซง่ึ เปน แหลง พลงั งานทส่ี ําคัญของโลก อุณหภมู ิของดวงอาทิตยอ ยูร ะหวา ง 5,500 - 6,100 องศาเซลเซยี ส พลังงานของดวงอาทิตยท ั้งหมดเกิดจากกา ซไฮโดรเจน โดยพลังงานดงั กลาว เกดิ จากปฏกิ รยิ านิวเคลยี รภ ายใตสภาพความกดดันสูงของดวงอาทติ ย ทําใหอะตอมของไฮโดรเจนซงึ่ มอี ยู มากบนดวงอาทติ ยทาํ ปฏกิ ริยาเปลีย่ นเปนฮีเลียมซ่ึงจะสงผานพลังงานดังกลาวมาถงึ โลกไดเพียง 1 ใน 200 ลานของพลังงานทง้ั หมด นอกจากน้นั บนพ้นื ผิวของดวงอาทติ ยย ังเกดิ ปรากฏการณตา งๆ เชน การเปลี่ยนแปลงของพลงั งานความรอนบนดวงอาทิตยอ ันเน่ืองมาจากจดุ ดบั บน ดวงอาทติ ย (Sunspot) ซึ่งจะสงผลใหเกิดการแปรผนั ของพายแุ มเหลก็ และพลงั งานความรอ น ทําใหอนุภาคโปรตรอนและอเิ ล็กตรอนหลุดจากพื้นผิวดวง อาทติ ยส ูหวงอวกาศ เรยี กวา ลมสุรยิ ะ (Solar Wind) และแสงเหนอื และใต (Aurora) เปนปรากฏการณท่ขี ้ัวโลกเหนอื และขั้วโลกใต การเกดิ จดุ ดับบนดวงอาทิตย (Sunspot) บางครั้งเราสามารถมองเห็นไดด ว ยตาเปลา และจะเหน็ ไดช ัดเจนเวลาดวงอาทิตยใกลตกดิน จดุ ดบั ของดวง อาทติ ยจะอยปู ระมาณ 30 องศาเหนือ และ ใต จากเสนศนู ยสตู ร ที่เห็นเปนจดุ สดี ําบริเวณดวงอาทติ ยเนอื่ งจากเปนจุดทม่ี ีแสงสวา งนอ ย มอี ุณหภมู ิประมาณ 4,500 องศาเซลเซียส ตํ่ากวาบรเิ วณโดยรอบประมาณ 2,800 องศาเซลเซียส นักวิทยาศาสตรส นั นิษฐานวา กอนเกดิ จุดดับบนดวงอาทติ ยน นั้ ไดรับอิทธพิ ลจาก อาํ นาจแมเหลก็ ไฟฟา บรเิ วณพื้นผิวดวงอาทติ ยมกี ารเปล่ียนแปลง ทาํ ใหอุณหภมู ิบริเวณดงั กลาวตา่ํ กวาบริเวณอนื่ ๆ และเกิดเปนจดุ ดบั บนดวงอาทติ ย แสงเหนือและแสงใต(Aurora) เปน ปรากฏการณท ่ีเกดิ บริเวณขว้ั โลกเหนือ และขั้วโลกใต มีลักษณะเปนลาํ แสงที่มวี งโคง เปนมาน หรือ เปนแผน เกดิ เหนอื พนื้ โลกประมาณ 100 - 300 กโิ ลเมตร ณ ระดับความสูงดงั กลาวกาซตา งๆ จะเกดิ การแตกตัวเปนอนุภาคท่มี ปี ระจไุ ฟฟา และเมื่อถูกแสงอาทติ ยจะเกดิ ปฏิกริยาทีซ่ บั ซอนทาํ ใหมองเห็นแสงตกกระทบเปน แสงสีแดง สเี ขียว หรือ สีขาว บรเิ วณข้ัวโลกทง้ั สองมีแนวท่เี กิดแสงเหนอื และแสงใตบ อ ย เราเรียกวา \"เขต ออโรรา\" (Aurora Zone)

ดาวพธุ (Mercury) ดาวพธุ เปน ดาวเคราะหท อ่ี ยูใกลกบั ดวงอาทติ ยม ากท่สี ุด สังเกตเหน็ ดวยตาเปลาไดต อนใกลค ่าํ และ ชว งรุงเชา ดาวพุธไมม ีดวงจันทร เปน ดาวบรวิ าร ดาวพุธหมุนรอบตวั เองจากทิศตะวนั ตกไปยังทิศตะวนั ออกกนิ เวลา ประมาณ 58 - 59 วัน และโคจรรอบดวงอาทิตย 1 รอบ ใช เวลา 88 วัน

ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกรสงั เกตเหน็ ไดด วยตาเปลา โดยสามารถมองเหน็ ไดทางขอบฟาดานทิศตะวนั ตกในเวลาใกลคา่ํ เราเรียกวา\"ดาวประจาํ เมือง\" (Evening Star) สวนชวงเชามืดปรากฏใหเ ห็นทางขอบฟา ดานทศิ ตะวันออกเรยี กวา \"ดาวรุง \" (Morning Star) เรามกั สังเกตเห็นดาวศกุ รมีแสงสอ ง สวางมากเนือ่ งจาก ดาวศุกรมีชนั้ บรรยากาศทปี่ ระกอบไปดว ยกา ซคารบ อนไดออกไซด มีผลทําใหอ ุณหภมู พิ น้ื ผิวสูงขึน้ ดาวศกุ รหมนุ รอบตวั เอง จากทิศตะวนั ออกไปยังทศิ ตะวนั ตก ไมม ดี วงจนั ทรเปนดาวบรวิ าร

โลก (Earth) โลกเปนดาวเคราะหดวงเดยี วทมี่ สี ิง่ มีชวี ติ อาศัยอยเู นอื่ งจากมีช้ันบรรยากาศและมรี ะยะหา งจากดวงอาทิตยท ี่เหมาะสมตอการเจรญิ เตบิ โตและการดาํ รงชวี ิตของสิง่ มชี วี ติ นักดาราศาสตรอ ธิบายเก่ยี วกับการเกดิ โลกวา โลกเกิดจากการรวมตวั ของกลมุ กา ซ และมีการเคลื่อนที สลบั ซบั ซอ นมาก

ดาวอังคาร (Mars) ดาวอังคารอยูห างจากโลกของเราเพยี ง 35 ลานไมล และ 234 ลานไมล เนื่องจากมีวงโคจรรอบดวง อาทิตยเ ปนวงรี พืน้ ผิวดาว อังคารมีปรากฏการณเมฆและพายุฝุนเสมอ เปนท่นี าสนใจในการศึกษาของนักวิทยาศาสตรเปนอยางมาก เน่ืองจากมลี ักษณะและ องคป ระกอบทใ่ี กลเคยี งกับโลก เชน มีระยะเวลาในการหมุนรอบตัวเอง 1 วนั เทา กบั 24.6 ช่วั โมง และระยะเวลาใน 1 ป เม่ือเทียบกับโลก เทากบั 1.9 มกี ารเอียงของแกน 25 องศา ดาวองั คารมีดวงจนั ทรเ ปน บริวาร 2 ดวง

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) ดาวพฤหสั บดีเปนดาวเคราะหท่ใี หญท่ีสดุ ในระบบสุริยะจกั รวาล หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใชเ วลา 9.8 ช่วั โมง ซ่ึงเรว็ ที่สุดในบรรดา ดาวเคราะหท ้งั หลาย และโคจรรอบดวงอาทติ ย 1 รอบ ใชเวลา12 ป นกั ดาราศาสตรอ ธบิ ายวา ดาวพฤหัสเปนกลุม กอนกา ซหรือของเหลวขนาด ใหญ ทีไ่ มม สี ว นทเ่ี ปน ของแข็งเหมอื นโลก และเปน ดาวเคราะหทีม่ ดี วงจันทรเ ปน ดาวบริวารมากถงึ 16 ดวง

ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวเสารเ ปนดาวเคราะหท่ีเราสามารถมองเห็นไดด ว ยตาเปลา เปนดาวทีป่ ระกอบไปดว ยกาซและของ เหลวสคี อนขางเหลอื ง หมนุ รอบตวั เอง 1 รอบใชเวลา 10.2 ชว่ั โมง และโคจรรอบดวงอาทติ ย 1 รอบใชเวลา 29 ป ลักษณะเดน ของดาวเสาร คอื มีวงแหวนลอ มรอบ ซงึ่ วงแหวนดัง กลา วเปน อนภุ าคเลก็ ๆ หลายชนดิ ที่หมนุ รอบดาวเสารมีวงแหวนจํานวน 3 ชน้ั ดาวเสารม ดี วงจนั ทรเปน ดาวบริวาร 1 ดวง และมดี วงจันทรด วงหนงึ่ ช่ือ Titan ซ่ึงถือวาเปน ดวงจนั ทรท่ีใหญท ี่สุดในระบบสรุ ิยะจกั รวาล

ดาวยเู รนัส(Uranus) ดาวยูเรนสั เปน ดาวเคราะหดวงแรกทถ่ี กู คนพบโดยใชกลองโทรทรรศน ผทู ค่ี น พบ คือ วลิ เลียม เฮอรเชล (William Herschel) ในป ค.ศ. 1781 (พ.ศ. 2324) องคป ระกอบหลกั ของดาวยเู รนสั คอื ไฮโดรเจนและฮเี ลยี ม โดยมีมเี ทนปะปนอยดู วยทาํ ใหเราเหน็ สขี องดาวยเู รนัสเปนสี น้ําเงินเขยี ว (ชว งคลื่นสีแดงถกู ดดู กลืนโดยมเี ทน) แกนหมนุ ของดาวยูเรนสั ทํามมุ เกอื บจะตง้ั ฉากกับแกนหมุนของดาวโดยท่ัวไป (แกนหมนุ ขนานกบั ระนาบการโคจร) ทาํ ใหการโคจรของดาวยเู รนสั ดูเหมือนเปน การกลิ้งไปบนระนาบการโคจร สาเหตทุ ีแ่ กนหมนุ ของดาวยเู รนัสผิด แปลกจากดาวดวงอ่ืนสันนิษฐานวาเกิดจากการชนกบั วัตถทุ องฟา ขนาดใหญป ระมาณดาวเคราะห สนามแมเหล็กของดาวยเู รนสั กแ็ ปลกไป จากดาวดวงอ่ืนกลาวคือมแี กนสนามแมเ หลก็ ท่เี อยี งจากแกนหมุนถึง 60 องศา และสภาพสนามแมเ หล็กก็มรี ปู รางท่แี ปลก ไมเ ปน แมเหลก็ สอง ขั้วอยา งชัดเจนเหมอื นดาวดวงอืน่ ในปจจบุ ันจํานวนดาวบริวารของยูเรนสั ที่ถูกคนพบ คือ 27 ดวง

ดาวเนปจนู (Neptune) เปนดาวเคราะหท ี่หา งจากดวงอาทิตยเ ปน ดวงที่แปด และมีขนาดใหญเ ปน ที่สี่ (วัดจากเสน ผา ศนู ยกลาง) ดาวเนปจูนมี ขนาดเลก็ กวา ดาวยเู รนัสแตม ีมวลมากกวา ในตํานานโรมนั Neptune (หรือตาํ นานกรกี เรยี กวา Poseidon) เปน เทพแหง ทอง ทะเล หลงั จากการคน พบดาวยเู รนัส ซงึ่ สงั เกตเห็นไดว า วงโคจรของดาวยเู รนัสไมเปน ไปตาม Newton’s law จงึ คาดวานา จะ มดี าวเคราะหท ีห่ า งไกลออกไปเปน ตัวรบกวนวงโคจรของดาวยเู รนัส เนื่องจากวงโคจรของดาวพลูโตไมเ ปน วงกลม ในบาง คร้ังกต็ ัดผานวงโคจรของดาวเนปจนู ทาํ ใหด าวเนปจูนอยูห างจากดวงอาทติ ยทีส่ ุดเปนเวลาหลายป

สวนประกอบของดาวเนปจนู คลายกับของดาวยเู รนัส คือประกอบดว ยนา้ํ แข็งหลายชนดิ และหนิ มไี ฮโดรเจน ประมาณ 15% และ ฮเี ลียมอกี เล็กนอย โครงสรา งไมแ บง เปน ช้นั เหมอื นดาวพฤหัสและดาวเสาร แตก ลับเปนมวลเนอื้ เดยี ว เหมอื นดาวยูเรนัส มีแกนกลางขนาดเล็กมีมวลใกลเ คียงกบั โลกซง่ึ เปน หิน บรรยากาศประกอบดว ยไฮโดรเจน ฮีเลยี ม และ มีเทนเล็กนอ ย มเี ทนทีอ่ ยูในบรรยากาศทาํ ใหด าวเนปจูนมีสีน้ําเงิน จุดมดื ยกั ษ (Great Dark Spot) ซ่ึงพบอยูท างซีกใตข องดาว มีขนาดเปน ครงึ่ หนึ่งของจดุ แดงยกั ษของดาวพฤหสั ความเร็วของลมที่พัดในจดุ มืดยกั ษไ ปทางทศิ ตะวนั ตกมคี วามเร็วประมาณ 300 กโิ ลเมตรตอวินาที (700 ไมลตอ ช่ัวโมง) ยงั มจี ดุ มดื ขนาดเลก็ และเมฆรปู รางประหลาดที่พัดวนรอบดาวเนปจนู โดยใชเ วลาประมาณ 16 ชัว่ โมง ซง่ึ เชื่อวา เกดิ จาก plume ทีข่ ้ึนมาจากบรรยากาศสวนลา ง ดาวเนปจูนก็มีวงแหวนเชน กัน ซงึ่ เมื่อสงั เกตจากพื้นโลกพบวาเปนวงแหวนท่ไี มเต็มวง แตจ ากภาพที่ไดจาก Voyager 2 แสดงใหเ ห็นวาวงแหวนมีเตม็ วง แตมีความมดื มากและสวนประกอบยังไมทราบ วงแหวนของดาวเนปจนู วงนอกสุดเรียกวา Adam ซึง่ ประกอบดว ย วงแหวนเลก็ ๆ 3 วง คือ Liberty, Equality และ Fraternity วงถดั มายังไมม ีชอ่ื ซึ่ง มีวงโคจรรว มกับดาว Galetea วงถัดมาเรยี กวา Leverrier แบงเปน 2 วงเลก็ เรยี กวา Lassell และ Arago และวงสดุ ทา ยท่ี เรยี กวา Galle ดาวเนปจูนสามารถเหน็ ไดด วยกลองสองทางไกลเปนรูปกลมๆ แตหากตอ งการดูรายละเอยี ดกจ็ ําเปนตอง ใชกลอ งโทรทรรศน ดาวเนปจนู มดี าวบรวิ าร 8 ดวง เปนดาวขนาดเล็ก 7 ดวง และดาวขนาดใหญหนง่ึ ดวงท่ีเรียกวา Triton

ดาวพลโู ต(Pluto) เปน ดาวเคราะหแ คระในแถบไคเปอร วงแหวนของวตั ถพุ น ดาวเนปจูน โดยเปนวัตถุแถบไคเปอรชน้ิ แรกท่ถี ูกคน พบ มนั มขี นาดใหญทส่ี ดุ อนั ดับ 1 และมีมวลมากที่สุดเปน อนั ดบั 2ในบรรดาดาวเคราะหแ คระทร่ี ูจกั ในระบบสรุ ยิ ะ และยังเปนวตั ถุทม่ี ี ขนาดใหญเปน อนั ดับท่ี 9 และมวลมากเปน อนั ดบั ท่ี 10 ในระบบสรุ ิยะท่โี คจรรอบดวงอาทติ ย ดาวพลูโตเปนวตั ถุแถบไค เปอรท ีใ่ หญท ่ีสดุ โดยปรมิ าตร แตมีมวลนอ ยกวาอีริส ซ่ึงเปน วตั ถุในแถบหินกระจาย ดาวพลโู ตมีลักษณะเหมอื นกบั วตั ถอุ ืน่ ๆ ในบริเวณเดียวกนั วงโคจรของดาวพลูโตมีความเยื้องศนู ยกลางมาก อยูท่ี 30 ถึง 49 หนวยดาราศาสตร (4.4 – 7.4 พันลาน กโิ ลเมตร) จากดวงอาทิตย หมายความวาเม่ือดาวพลูโตอยใู นตําแหนง ทีใ่ กลดวงอาทติ ยมากท่สี ุด มนั จะอยูใ กลก วาวงโคจร ของดาวเนปจูนเสียอกี แตเ น่ืองดว ยการสัน่ พอ งของวงโคจร ทาํ ใหดาวเคราะหทัง้ สองดวงไมสามารถโคจรมาชนกันได ในป พ. ศ. 2557 ดาวพลูโตมีระยะหางจากดวงอาทิตยประมาณ 32.6 หนวยดาราศาสตร แสงจากดวงอาทติ ยใชเวลาประมาณ 5.5 ชั่วโมง ถึงจะไปถงึ ดาวพลโู ตที่ระยะทางเฉล่ยี (39.5 หนว ยดาราศาสตร)