Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.New normal OPD

1.New normal OPD

Published by knat.happy, 2021-01-06 03:13:37

Description: 1.New normal OPD

Search

Read the Text Version

แนวทางปฏบิ ัติการปรบั รูปแบบบรกิ าร การบริการดแู ลรักษาผปู้ ่วยนอก (OPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19

คานา จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมการแพทย์ ตระหนักถึง ความปลอดภัยของท้ังประชาชนผู้มารับบริการและบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในหน่วยบริการ (2P Safety) จึงได้จัดทา “แนวทางปฏิบัตกิ ารปรับรูปแบบบริการการบริการดูแลรักษาผู้ป่วยนอก (OPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19” ฉบับน้ีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติในการให้บริการแก่กลุ่มผู้รับบริการท่ัวไปภายหลังสถานการณ์ การระบาดของ COVID-19 การจัดทาแนวปฏิบัติฉบับนี้ได้รับความร่วมมือจากองค์กรต่าง ๆ ได้แก่ ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสกิ แพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย สมาคมโรคติดเช้ือแห่งประเทศไทย สานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ชมรมโรงพยาบาลศูนย์โรงพยาบาลทั่วไป และ ชมรมผู้อานวยการโรงพยาบาลชุมชนแห่งประเทศไทย ในการส่งผู้แทนเข้าร่วมให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อให้ เกิดความครอบคลุมในการนาไปใช้งาน ท้ังนี้แนวทางปฏิบัติฉบับนี้เป็นข้อแนะนาท่ีเกิดจากการระดมความเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญทางคลินิก ร่วมกับผู้แทนฝ่ายบริหาร เพื่อการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกในขณะที่มีสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซง่ึ เป็นโรคอบุ ัติใหมท่ ่ีไม่เคยมีการระบาดมาก่อน และ อาจนาไป ประยกุ ตใ์ ชก้ บั สถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เช้ือทางเดินหายใจอื่น ๆ ในอนาคต ดังน้ันแนวทางปฏิบัติฉบับน้ีอาจไม่ใช่แนวทางที่ดีท่ีสุดหรือถูกต้องท่ีสุดสาหรับหน่วยบริการที่มีบริบทและ ศักยภาพที่แตกต่างกัน ทางคณะผู้จัดทาจึงขอน้อมรับความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเพื่อเป็นประโยชน์ในการแก้ไข ปรับปรุงในคร้ังต่อไป เพ่ือพัฒนาแนวทางฉบับนี้ให้มีคุณค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยนอก และประชาชนอย่างแทจ้ รงิ คณะผู้จัดทา

สารบัญ หนา้ คานา 1 ประกาศกรมการแพทย์ แนวทางปฏบิ ตั กิ ารปรับรปู แบบบริการการดูแลรกั ษาผูป้ ่วยนอก (OPD) 2 5 - การคดั กรองผปู้ ่วยนอก (OPD) ในผปู้ ว่ ยทั่วไป (Non-COVID-19 patient) 5 - Key steps เพอ่ื รองรบั รปู แบบบรกิ ารการดูแลรกั ษาผ้ปู ว่ ยนอก (OPD) วถิ ใี หม่ 6 - รูปแบบบรกิ ารการดูแลรักษาผปู้ ่วยนอก (OPD) (New Normal OPD) 7 - รายละเอียดการเตรียมการในจุดบรกิ ารต่าง ๆ คณะผู้จัดทา

1

2 แนวทางปฏบิ ัติการปรับรปู แบบบริการการดแู ลรกั ษาผู้ป่วยนอก (OPD) ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 การคดั กรองผปู้ ่วยนอก (OPD) ในผปู้ ่วยทั่วไป (Non-COVID-19 patient) การคัดกรองโดยการซักประวัติ เพื่อหาปัจจัยเส่ียง (Social risk factor, physical/medical risk factor) ควรดาเนนิ การตามแนวทางเวชปฏบิ ัติ การวนิ จิ ฉัย การดแู ล และป้องกันการตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ร่วมกับการตรวจประเมนิ อาการ อาการแสดงก่อนการดูแลรกั ษาผปู้ ่วยนอก หากพบว่าผปู้ ่วยท่ีนัดหมายมีประวัติ หรอื อาการ อาการแสดงท่ีเข่าข่ายเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องสอบสวนโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Patient Under Investigation: PUI) ให้แจ้งผู้ป่วยเลื่อนนัด และปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด การติดตามนัดหมายให้พิจารณา ชว่ งเวลาที่เหมาะสมครอบคลมุ ถึงระยะเวลาการกกั ตวั ตามแนวทางปฏิบัติ

3

4 แนวทางปฏบิ ตั ิการปรับรูปแบบบริการการดแู ลรกั ษาผูป้ ่วยนอก (OPD) ในสถานการณก์ ารระบาดของ COVID-19 ในการจัดบริการผู้ป่วยนอก (OPD) วิถีใหม่เป็นการนาประสบการณ์ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 มาปรับระบบบริการเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยแก่ท้ังผู้มารับบริการและบุคลากร (2P safety) เพิ่มความสะดวกรวดเร็ว ให้แก่ผู้มารับบริการ และ ลดความแออัดในหน่วยบริการ โดยทางคณะผู้จัดทาได้จัดทา key steps แยกเป็น 2 ชุด คือ 1) Key steps เพื่อรองรับรูปแบบบริการการดูแลรักษาผู้ป่วยนอก (OPD) วิถีใหม่ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ระบบเพื่อใช้ท้ังในช่วงท่ีมีการระบาดและไม่มีการระบาดของ COVID-19 หรือโรคติดต่อทางเดินหายใจอ่ืน ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และ 2) Key steps เพื่อรองรับช่วงมีการระบาดของโรคติดต่อทางเดินหายใจ เพื่อเป็นมาตรการเสริมที่ใช้เฉพาะในระหว่างที่มีการระบาดของ COVID-19 หรือโรคติดต่อทางเดินหายใจอื่น ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ Key steps เพ่ือรองรบั รปู แบบบริการการดแู ลรกั ษาผู้ป่วยนอก (OPD) วถิ ีใหม่ 1. มีจดุ คดั กรองผ้มู ีอาการทางระบบทางเดินหายใจ 2. มบี ริการคลินิกโรคทางเดินหายใจแยกจากคลินิกท่ัวไป 3. ตรวจสอบให้ผู้มาใชบ้ รกิ าร ทม่ี อี าการทางระบบทางเดนิ หายใจ สวมหน้าการอนามยั ตลอดเวลาทมี่ ารบั บรกิ าร 4. มีระบบลงทะเบยี น online หรอื ผา่ น kiosk และ มรี ะบบสารองใช้แทนได้ทนั ทีท่ีระบบ IT ขดั ข้อง 5. มีระบบตรวจสอบ/เปดิ สทิ ธิ์ online หรอื ผา่ น kiosk และ มรี ะบบสารองใช้แทนไดท้ ันทที ี่ระบบ IT ขดั ขอ้ ง 6. มีระบบนดั หมาย online หรือ ผ่าน kiosk และ มรี ะบบสารองใชแ้ ทนไดท้ นั ทีท่รี ะบบ IT ขัดขอ้ ง 7. มีระบบเรียกคิว online หรือ จัดคิวเหล่ือมเวลา เพ่ือเข้าพบแพทย์ และมีระบบเตือนผู้ป่วยและเรียกคิวผู้ป่วย เม่ือระบบเรยี กคิว online ขดั ขอ้ ง 8. มจี ุดลา้ งมอื หรือ alcohol gel ให้บรกิ ารให้เพียงพอ 9. มรี ะบบ telemedicine 10. แยกห้องหัตถการความเสี่ยงสูงท่ีทาให้เกิด aerosol ออกจากห้องหัตถการท่ัวไป โดย จัดให้มีระบบหมุนเวียน อากาศ 6-12 Air Change/Hour (ACH) 11. มรี ะบบ fast tract ในการ refill ยา 12. มีระบบจัดส่งยาทางไปรษณีย์ หรือ ส่งยาโดย อสม. หรือ รับยาท่ีร้านยาใกล้บ้าน หรือ drive thru (ในกรณสี ง่ ยาทางไปรษณีย์ หรือโดย อสม. รพ. ตอ้ งมรี ะบบตรวจสอบว่าผู้ปว่ ยไดร้ ับยาถกู ตอ้ ง) 13. มีระบบจา่ ยคา่ บรกิ าร และ ยา ด้วยการ scan QR code Key steps เพ่ือรองรับช่วงมกี ารระบาดของโรคตดิ ตอ่ ทางเดนิ หายใจ 1. ตรวจสอบใหผ้ มู้ าใชบ้ รกิ ารทุกคนสวมหน้าการอนามัยหรือหน้ากากผา้ ตลอดเวลาที่มารับบริการ 2. จดั สถานทีใ่ หม้ ีการเวน้ ระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร 3. ให้บคุ ลากรทางการแพทย์ และ เจา้ หนา้ ทส่ี วมหนา้ การอนามัย (surgical mask) ตลอดเวลาท่ใี หบ้ รกิ าร 4. ปรับปรงุ สว่ นพ้นื ท่ที ่ีทางานของเจา้ หน้าทีแยกจากผ้ปู ่วยโดยใช้ฉากพลาสติก/อะครลิ ิกก้ัน หรือถา้ ทาไม่ไดใ้ ห้ เจ้าหน้าทใี่ ส่ face shield 5. มีการเชด็ ทาความสะอาดจดุ เสย่ี งสัมผสั ต่างๆดว้ ยน้ายาฆ่าเชือ้ เช่นลูกบิดประตู ราวบันได ราวจับ พนกั เก้าอ้ี ปุ่มลฟิ ต์ counter top อย่างนอ้ ยวันละ 2 ครง้ั

5 รปู แบบบรกิ ารการดแู ลรักษาผปู้ ่วยนอก (OPD) (New Normal OPD) หมายเหตุ การให้บริการคลนิ ิกทนั ตกรรม และ การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ กรณุ าศกึ ษารายละเอียดใน • New Normal in Clinical Laboratory : แนวปฏบิ ตั ิใหม่เพอ่ื ความปลอดภยั ในห้องปฏิบตั ิการทางการแพทย์ • แนวทางปฏบิ ตั ิ การรักษาทางทันตกรรมในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 โดยสามารถศึกษาข้อมลู เพิม่ เตมิ ทาง website กรมการแพทย์ http://covid19.dms.go.th/

6 รายละเอยี ดการเตรยี มการในจุดบรกิ ารต่าง ๆ จุดบริการ การเตรยี มการ ทุกจดุ • ตรวจสอบให้ผู้มาใช้บริการสวมหน้าการอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลา ทมี่ ารบั บริการ • จัดสถานทีใ่ ห้มกี ารเว้นระยะห่างอยา่ งนอ้ ย 1 เมตร • มจี ดุ ลา้ งมือ หรอื alcohol gel ให้บรกิ าร • ให้บุคลากรทางการแพทย์ และ จนท. สวมหน้าการอนามัย (surgical mask) ตลอดเวลาทใ่ี หบ้ ริการ • ปรับปรุงส่วนพื้นที่ที่ทางานของเจ้าหน้าทีแยกจากผู้ป่วยโดยใช้ฉากพลาสติก/ อะครลิ ิกก้ัน หรือถา้ ทาไม่ไดใ้ ห้เจ้าหน้าทใ่ี ส่ face shield • มีการเช็ดทาความสะอาดจุดเสี่ยงสัมผัสต่างๆด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ เช่นลูกบิดประตู ราวบันได ราวจบั พนกั เกา้ อี้ ปุ่มลิฟต์ counter top อย่างน้อยวันละ 2 คร้งั • อาจนาระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วย เช่น ประตูอัตโนมัติ ที่เปิดประตูด้วยเท้า ท่กี ด alcohol gel อัตโนมตั ิ จุดคดั กรอง respiratory • อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น อยู่นอกอาคาร หรือในอาคารที่เปิดโล่งเปิดประตู symptom หน้าต่างให้มีอากาศถ่ายเทเพียงพอ (>2 ACH) และ/หรือ ใช้เคร่ืองกรองอากาศ HEPA filter • มีเครอื่ งวัดอณุ หภูมริ ่างกาย • มีแบบ form คัดกรอง respiratory symptom (ในกรณีที่ไม่ได้ทาคัดกรอง Online มา) จุดใหบ้ รกิ ารวดั ความดัน • มี alcohol gel ให้เช็ดทาความสะอาดร่างกายส่วนที่สัมผัสกับเคร่ือง โลหติ และ kiosk ทง้ั ก่อนและหลงั ใช้เคร่อื ง • เช็ดทาความสะอาดเครื่องวัด BP และ kiosk ด้วยน้ายาฆ่าเชื้ออย่างน้อย วนั ละ 2 ครั้ง OPD high risk • จัดให้มรี ะบบหมนุ เวยี นอากาศ >2 ACH และอาจพิจารณาใชเ้ คร่ืองกรองอากาศ OPD low immune HEPA filter • OPD low immune อาจพิจารณาทาเป็นห้อง positive pressure ห้องหตั ถการ • แยกหอ้ งหัตถการความเสย่ี งสูงทีท่ าใหเ้ กดิ aerosol ออกจากห้องหัตถการท่ัวไป • ห้องหัตถการความเสี่ยงสูง จัดให้มีระบบหมุนเวียนอากาศ 6-12 ACH และ อาจพิจารณาทาเป็นห้อง negative pressure และ/หรือ ใช้เครื่องกรองอากาศ HEPA filter จดุ จ่ายเงนิ • พจิ ารณาใชร้ ะบบจ่ายเงินผา่ นทาง QR code

7 รายช่อื คณะผูจ้ ัดทา 1. นพ.วีรวุฒิ อ่ิมสาราญ รองอธิบดีกรมการแพทย์ 2. นพ.สกานต์ บุนนาค ผอู้ านวยการสถาบนั เวชศาสตรส์ มเดจ็ พระสังฆราชญาณสังวร เพือ่ ผสู้ งู อายุ กรมการแพทย์ 3. ศ.พญ.เสาวรส ภทรภักดิ์ ประธานราชวทิ ยาลยั ราชวิทยาลยั โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย 4. ศ.นพ.อภิชาต สคุ นธสรรพ์ นายกสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย 5. ศ.เกียรติคณุ แพทย์หญงิ วรรณี นธิ ยิ านนั ท์ นายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย 6. ผศ.นพ.กาธร มาลาธรรม นายกสมาคมโรคตดิ เช้อื แห่งประเทศไทย 7. ผูแ้ ทนสานกั การแพทย์ กรุงเทพมหานคร 8. นพ.สรุ ชยั โชคครรชิตไชย ผ้แู ทนชมรมโรงพยาบาลศูนยโ์ รงพยาบาลท่วั ไป 9. พญ.สมพิศ จาปาเงิน ประธานชมรมผอู้ านวยการโรงพยาบาลชมุ ชนแห่งประเทศไทย 10. นพ.วิชัย อัศวภาคย์ ผอู้ านวยการโรงพยาบาลนา้ พอง 11. ผู้แทนโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ 12. ผู้แทนโรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ 13. ผู้แทนโรงพยาบาลนพรตั น์ราชธานี กรมการแพทย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook