สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาพื้นที่ภาคตะวนั ออก (ไตรมาส 3-4 ปีงบประมาณ 2563) โครงการสรา้ งเครือขา่ ยดจิ ิทัลชุมชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั ณ กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ หม่ทู ี่ 3 ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนสั นิคม สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี
คำนำ กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดทำโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องดิจิทัล และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ ซ่ึงมี การสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการดังกล่าวเพื่อต้องการทราบว่ากา รดำเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ หรือไม่ บรรลุในระดับใดและได้จัดทำเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตรการ เข้าใจดจิ ทิ ัลเสนอต่อผู้บริหาร ผเู้ กีย่ วขอ้ งเพอ่ื นำขอ้ มูลไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนาการดำเนนิ โครงการให้ดีย่งิ ขน้ึ คณะผู้จัดทำ ขอขอบคณุ ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนคิ ม ทใ่ี หค้ ำแนะนำ คำปรึกษา ในการจดั ทำสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทลั ชมุ ชนหลักสตู รการเข้าใจดิจทิ ลั ในครง้ั น้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจ ดิจทิ ัลฉบับน้ี จะเป็นประโยชนต์ ่อผ้ปู ฏบิ ัติงานโครงการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำไปใช้ในการจัดกจิ กรรมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ต่อไป กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ กรกฎาคม 2563
สารบัญ หนา้ ก หวั เร่อื ง ข คำนำ ค สารบัญ 1 สารบัญตาราง 3 บทที่ 1 บทนำ 22 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและงานวจิ ัยท่ีเกีย่ วข้อง 25 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินงาน 30 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล บทที่ 5 อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม คณะผู้จดั ทำ
สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ 25 25 1. ผ้เู ข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ 26 2. ผู้เข้ารว่ มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ 26 3. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอาชพี 26 4. ผู้เข้าร่วมโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา 27 5. แสดงคา่ ร้อยละเฉลี่ยความสำเรจ็ ของตวั ช้ีวดั ผลผลิต ประชาชนทัว่ ไป 27 6. ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ในภาพรวม 28 7. ค่าเฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านบริหารจดั การ 28 8. ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจฯ โครงการ ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 9. คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจฯ โครงการ ด้านประโยชนท์ ่ีได้รับ
1 บทท่ี 1 บทนำ หลกั การและเหตุผล ประเทศไทยใหค้ วามสำคัญกับการพฒั นาและการนำ ICT มาใช้เปน็ เคร่ืองมือสนับสนนุ (enabling technology) ในการพฒั นาประเทศมาโดยตลอด และในปจั จบุ นั รฐั บาลได้ตระหนกั ถึงอทิ ธิพลของเทคโนโลยี ดิจิทลั ทมี่ ตี ่อการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม ซึ่งเป็นท้งั โอกาสและความท้าทายของประเทศไทย ท่ีจะปรับปรงุ ทิศทางการ ดำเนนิ งานของประเทศดว้ ยการใช้ประโยชนส์ งู สดุ จากเทคโนโลยีดิจทิ ลั นำมาสู่การจดั ทำแผนพฒั นาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสงั คม เพือ่ ให้การดำเนินงานสอดคลอ้ งกบั ทิศทางการพัฒนาประเทศ ลดความเลอ่ื มลำ้ สรา้ งโอกาส และ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา การใช้สอ่ื เทคโนโลยีทางการศกึ ษาและเทคโนโลยีการสื่อสารทีท่ นั สมยั และเหมาะสม เปน็ เครอ่ื งมือในการสร้างโอกาสและกระจายโอกาสทางการศึกษา ตลอดจนสง่ เสริมใหม้ ีการสรา้ งองค์ความรู้ท่หี ลากหลาย มี ความถูกตอ้ งและสอดคล้องกับความจำเปน็ และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบรุ ี จากเหตผุ ลดังกลา่ ว กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ สังกัด ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนคิ ม จึงได้จัดโครงการสร้างเครอื ข่ายดจิ ทิ ลั ชมุ ชนหลกั สตู รการเข้าใจดิจิทัลขนึ้ วัตถุประสงค์ 1.เพอ่ื ให้ประชาชนมคี วามรู้ การเข้าใจดิจทิ ัล (Digital Literacy Curriculum) 2.เพอ่ื ให้ประชาชนมีความรู้ การเขา้ ใจการเปิดรา้ นค้าออนไลน์ เปา้ หมาย (Outputs) เป้าหมายเชิงปริมาณ - ประชาชนตำบลหนา้ พระธาตุ จำนวน 15 คน เปา้ หมายเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละ 80 ของประชาชนผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมีความรูด้ ้านการตลาด และการเพิ่มมลู ค่าสินค้าเพิ่มมากขน้ึ 2. รอ้ ยละ 80 ของประชาชนผ้เู ขา้ รบั การอบรมมีความรูด้ ้านการโปรโมทสนิ คา้ เพิ่มมากขึ้น ผลลพั ธ์ - ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีการเข้าใจดิจทิ ัล (Digital Literacy Curriculum) สามารถนำความรทู้ ไี่ ด้รับไปใชใ้ นการ ดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ได้
2 ดชั นีช้วี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ตวั ช้วี ัดผลผลติ - ร้อยละ 80 ของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเรอ่ื งดจิ ิทลั (Digital Literacy Curriculum) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - ร้อยละ 80 ของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม สามารถนำความรทู้ ่ีได้รับไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน
3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการจดั ทำสรปุ ผลโครงการสร้างเครือข่ายดิจทิ ัลชมุ ชนหลักสูตรการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั คร้งั นี้ คณะผ้จู ดั ทำโครงการได้ ทำการค้นคว้าเนอ้ื หาเอกสารการศึกษาและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง ดงั นี้ เอกสาร/งานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้อง อนิ เตอร์เน็ต อนิ เตอรเ์ น็ตเปน็ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ท่ีมกี ารเจริญเตบิ โตรวดเร็วท่สี ุด และปจั จุบันเป็นเครือข่ายทีใ่ หญ่ท่สี ุดในโลก เวบ็ ไซต์ ซึ่งเป็นสว่ นสำคญั ของอินเตอรเ์ น็ตสามารถนำเสนอขอ้ มูลในรปู ส่ือประสม (multimedia) จำนวนเวบ็ ไซต์มีอตั รา การเพิ่มทีร่ วดเร็ว จากแนวโน้มความก้าวหน้าของอนิ เตอรเ์ นต็ จะเหน็ ไดว้ ่า การใช้อนิ เตอร์เน็ตจะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ อย่างหนึง่ ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน การทำธรุ กิจตา่ งๆ จะมกี ารนำอนิ เตอรเ์ น็ตเข้ามาประยกุ ต์ใช้ ไมว่ ่าจะเปน็ การให้ ข้อมลู ขา่ วสาร หรอื การทำธุรกิจและบริการ 1. ความเปน็ มาของอนิ เตอรเ์ นต็ อินเทอร์เนต็ ( Internet ) เป็นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ทเ่ี ช่ือมโยงเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทวั่ โลกเขา้ ดว้ ยกนั เรียกอีกอยา่ งหนง่ึ ว่า ไซเบอรส์ เปซ (Cyberspace) อินเทอรเ์ น็ต ทำให้การเคลอ่ื นย้ายและส่งผ่านขา่ วสาร ข้อมลู จากที่หน่ึงไปอีกทหี่ น่ึงกระทำได้โดยง่าย โดยไมจ่ ำกัด เรอ่ื งระยะทางและเวลา สามารถสง่ ข้อมลู ได้หลากหลาย รูปแบบ เช่น สง่ เป็นแบบข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว เสียง โดยอาศยั เครือข่ายโทรคมนาคมเปน็ ตัวเชอื่ มต่อ เครือข่าย ความเปน็ มาของอนิ เตอรเ์ น็ต อนิ เทอร์เนต็ (Internet) เป็นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ซ่งึ เริ่มก่อตง้ั โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา อนิ เทอรเ์ น็ตในยุคแรกๆ ประมาณปี พ.ศ. 2512 เป็นเพียงการนำคอมพวิ เตอร์จำนวนไม่กี่เคร่ืองมาเชอื่ มต่อกัน โดยสายส่ง สญั ญาณเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหวา่ งเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ภารกจิ หลกั เพ่ือใชใ้ นงานวิจยั ทางทหาร โดยใช้ช่ือวา่ \"อาร์ปา\" (ARPA : Advanced Research Project Agency) รปู แบบเครอื ข่ายอาร์พาเนต็ ไม่ไดต้ ่อเชื่อมโฮสต์ ( Host ) คอมพิวเตอร์ เขา้ ถึงกันโดยตรง หากแต่ใช้คอมพิวเตอร์ เรียกว่า IMP ( Interface Message Processors ) ตอ่ เชอ่ื มถึงกนั ทาง สายโทรศัพท์เพ่ือทำหน้าทด่ี ้านสอื่ สารโดยเฉพาะ ซงึ่ แตล่ ะ IMP สามารถเช่อื มไดห้ ลายโฮสต์ กำเนิดอารพ์ าเน็ต วันท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2512 ได้มกี ารทดลองเชือ่ มโยง IMP ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั 4 แหง่ โดยมี โฮสตต์ ่างชนดิ กันท่ีใช้ในระบบปฏิบตั ิการตา่ งกนั คอื
4 1. มหาวทิ ยาลยั แคลฟิ อรเ์ นีย แหง่ ลอส แอนเจลสิ ใช้เครอ่ื ง SDS Sigma 7 ภายใตร้ ะบบปฏบิ ตั ิ การ SEX ( Sigma EXecutive ) 2. สถาบันวจิ ยั สแตนฟอร์ด ใช้เครื่อง SDS 940และระบบปฏบิ ัตกิ าร Genie 3. มหาวิทยาลยั แคลฟิ อรเ์ นีย แห่ง ซานตา บารบ์ ารา มีเครื่อง IBM 360/75ทำงานภายใตร้ ะบบปฏิบัตกิ าร OS/MVT 4. มหาวิทยาลัยยทู าห์ ทซ่ี อลต์เลคซติ ้ี ใชเ้ ครอื่ ง DEC PDP-10ภายใตร้ ะบบปฏบิ ัติการ Tenex ปี 2515 หลงั จากทีเ่ ครือข่ายทดลองอาร์พา ประสบความสำเร็จ กไ็ ด้มกี ารปรับปรุงหน่วยงานจาก อารป์ า มาเปน็ ดารพ์ า DARPA (Defense Advanced Research Projects Agency) ตอนหลังเปล่ยี นเปน็ Defence Communication Agency ปัจจุบนั คือ Defense Informations Systems Agency ในปี 2526 อาร์ปาเน็ตได้แบง่ เป็น 2 เครือขา่ ย ด้านงานวจิ ยั ใชช้ ือ่ วา่ อารป์ าเนต็ เหมือนเดิม ส่วนเครือขา่ ยของ กองทัพใช้ชือ่ มลิ เนต็ (MILNET: Military Network) ซึ่งมกี ารเช่ือมตอ่ โดยใช้โปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) เปน็ ครงั้ แรก ในปี 2528 มูลนธิ วิ ทิ ยาศาสตร์แหง่ ชาติอเมริกา (NSF) ไดใ้ ห้เงนิ ทนุ ในการสร้างศนู ย์ซเู ปอร์คอมพวิ เตอร์ 6 แห่ง และใช้ชอื่ ว่า NSFNET และในปี 2533 อารป์ าเนตไมส่ ามารถที่จะรองรับภาระทเ่ี ปน็ เครือขา่ ยหลัก (Backbone) ของระบบได้ อาร์ ปาเนต็ จงึ ไดย้ ตุ ลิ งและเปลยี่ นไปใช้ NSFNET และเครือข่ายอื่นๆ แทน มาจนเปน็ เครือข่ายขนาดใหญ่ จนกระทัง่ ถึงทุกวนั นี้ โดยเรียกเครอื ขา่ ยว่า อนิ เทอร์เนต็ (Internet) โดยเครือข่าย สว่ นใหญจ่ ะอยู่ในอเมริกา และปัจจบุ ันนี้มีเครอื ข่ายย่อย มากมายทั่วโลก ▪ อนิ เตอร์เนต็ ในไทย อินเทอรเ์ น็ตในประเทศไทยเรม่ิ ข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2530 โดยการเชอื่ มต่อมนิ ิคอมพวิ เตอรข์ อง มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ และสถาบนั เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยงั มหาวิทยาลยั เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ ในครง้ั นัน้ ยังเปน็ การเช่อื มตอ่ โดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่งสามารถส่งข้อมลู ไดช้ ้าและไม่เปน็ การถาวร จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2535 ศูนยเ์ ทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทำการเช่ือมต่อ คอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลยั 6 แห่ง ได้แก่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , สถาบันเทคโนโลยีแหง่ เอเชยี (AIT), มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์, ศูนยเ์ ทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC), มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรยี กว่า \"เครือขา่ ยไทยสาร\" โดยสำนักวทิ ยบริการ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ได้เช่าวงจร ส่อื สารความเร็ว 9600 บิตต่อวินาที จากการสือ่ สารแห่งประเทศไทยเพื่อเชอ่ื มเขา้ สู่ อนิ เทอรเ์ น็ตที่ \"บริษัท ยูยเู น็ตเทคโนโลยี ประเทศสหรฐั อเมริกา\" ต่อมาในปีพ.ศ. 2537 ความต้องการในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตจากภาคเอกชนมีมากขนึ้ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) จงึ ได้รว่ มมอื กับบรษิ ัทเอกชน เปิดบริการอินเทอร์เน็ตใหแ้ กบ่ ุคล ผู้สนใจทั่วไปได้สมัครเป็นสมาชกิ ตง้ั ขึ้นในรูปแบบ ของบริษัทผใู้ หบ้ รกิ ารอนิ เทอร์เน็ตเชงิ พาณิชย์ เรียกว่า \"ผู้ให้บรกิ ารอนิ เทอร์เน็ต\" หรอื ISP (Internet Service Provider) ขอ้ มลู บนอนิ เทอร์เน็ตจะถกู ส่งผ่านเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และระบบการส่ือสารซึ่งในแต่ละพนื้ ที่ หรอื แต่ละ ประเทศซึ่งจะต้องรับผิดชอบกันเอง เพือ่ เช่ือมต่อกับระบบใหญ่ของโลกใหไ้ ด้ ดังน้ันจึงเป็นหน้าท่ขี องผู้ให้บรกิ าร อนิ เทอร์เนต็ (ISP) ซึง่ ไดแ้ ก่ องค์กรที่ทำหน้าที่ให้บริการเชอื่ มตอ่ สายสญั ญาณจากแหลง่ ต่างๆ ของผูใ้ ชบ้ ริการ เช่น จากที่ บ้าน สำนักงาน สถานบริการ และแหล่งอ่ืนๆ เพื่อเช่ือมต่อกับระบบใหญ่ออกไปนอกประเทศได้
5 2. โดเมนเนม เครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ใี ชอ้ ินเตอรเ์ น็ตจะติดต่อกนั โดยใชม้ าตรฐานการสอ่ื สาร หรอื โปรโตคอล (Transmission Control Protocol / Internet Protocol : TCP/IP) เชน่ เดยี วกับการสง่ จดหมายทางไปรษณยี ์ เมื่อจะ สง่ ขอ้ มลู ผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต เครื่องคอมพวิ เตอร์จะต้องมีหมายเลขประจำตัว เรียกว่า IP Address ซง่ึ ประกอบด้วยชดุ ตัวเลข 4 ชุด ขนาด 8 บติ เท่ากันทุกชุดรวมกนั เป็นหมายเลข IP ขนาด 32 บิต ในการอ้างอิงถึงหมายเลข IP นยิ มแปลงเลขฐานสองท้ัง 4 ชุด นั้นเป็นเลขฐานสิบเขียนเรียงกนั โดยมจี ดุ ค่ันเลขแต่ละชุด เพอ่ื ความสะดวกในการจำ และป้อนเขา้ สูค่ อมพวิ เตอร์ เชน่ 203.155.98.33 เน่ืองจากหมายเลข IP น้ันจดจำยาก ดงั นั้นจึงได้มีการกำหนดชอ่ื เพ่ือใชแ้ ทนหมายเลข IP เรยี กว่า ระบบชื่อโดเมน (Domain name system : DNS) เชน่ การแทนหมายเลข IP 203.155.98.33 ดว้ ย bc.siam.ac.th ชื่อโดเมน (Domain Name) หมายถึง ชือ่ ทถ่ี ูกเรียกแทนการเรียกเปน็ หมายเลขอนิ เทอร์เน็ต (IP Address) เนอื่ งจากการจดจำหมายเลข IP ถึง 16 หลัก ทำใหย้ งุ่ ยาก และไม่สามารถจำไดเ้ วลาท่องเท่ียวไปในระบบอนิ เทอรเ์ นต็ จึง นำช่ือท่เี ป็นตวั อักษรมาใช้แทน ซึ่งมักจะเป็นชื่อทสี่ ่ือความหมายถงึ หน่วยงาน หรือเจ้าของเวบ็ ไซตน์ ั้นๆ เช่นเว็บไซตข์ องเนคเทค มหี มายเลข IP คอื 202.44.204.33 ซง่ึ ยากต่อการจดจำ (ในกรณีท่ตี อ้ งจำหลายเว็บไซต์) ดังนั้นจึงมีการกำหนดชอื่ เรียกใหม่ เป็น www.nectec.or.th ซ่ึงก็คือ \"ช่ือโดเมน\" นนั่ เอง ชอื่ โดเมน เปน็ ชือ่ ท่ีใช้ในการติดต่อสอ่ื สารระหว่างบุคคลต่อบุคคล แต่การตดิ ต่อระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ในเครือข่าย ยงั ใช้ IP Address ดงั น้นั ระบบจึงมีการตดิ ตั้งโปรแกรม และเคร่ืองทท่ี ำหนา้ ท่ีเปน็ ตวั Lookup หรอื ดชั นี ในการเปิดดูบญั ชี หมายเลข จากช่ือทเ่ี ปน็ ตัวอักษร หรอื เรยี กวา่ Domain Name โดยทีเ่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ ท่ที ำหน้าท่นี ี้เรยี กว่า Domain Name Server หรือ Domain Server ชอ่ื โดเมน เปน็ สิง่ ท่มี นุษยส์ ร้าง และถือวา่ เป็นทรัพย์สนิ ทางปญั ญา โดยแตล่ ะประเทศจะมีหนว่ ยงานรบั ผิดชอบ การจดทะเบียนช่อื โดเมน เช่น ประเทศไทย รับผดิ ชอบโดย \"ศูนย์สารสนเทศเครือขา่ ยประเทศไทย - THNIC : Thailand Network Information Center IP Address 203.155.98.33 bc.siamu.ac.th ช่ือโดเมน ช่ือโดเมนยอ่ ย
6 ในระบบชือ่ โดเมน หน่วยงาน InterNIC จะเป็นผกู้ ำหนดมาตรฐานโครงสรา้ งชอ่ื โดเมนระดับบนสดุ (สว่ นขวาสดุ ของช่ือ) ซ่ึงระบุถงึ ประเภทขององค์กรหรอื ช่ือประเทศของเครือข่ายแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. รปู แบบโดเมนข้ันสงู สดุ แบบสากล (General Internet DNS Top Level Domains: gTLDs) เป็น รูปแบบมาตรฐานที่ใช้กนั ในอเมรกิ า เช่น .com, .net, .gov ชอ่ื โดเมน ประเภทองคก์ ร ตวั อย่าง com กลุม่ ธุรกจิ การคา้ amazon.com edu สถาบนั การศึกษา okstate.edu org กลมุ่ องคก์ รทไ่ี มห่ วงั ผลกำไร reporter.org gov กลุม่ องค์กรของรฐั nasa.gov mil กลุ่มองค์กรทางทหาร army.mil net กลมุ่ องคก์ รการบรหิ ารเครือข่าย networksolution.net 2. รูปแบบโดเมนข้นั สูงสดุ แต่ละประเทศ (Country Code Top Level Domains: ccTLDs) เปน็ รปู แบบท่ีใช้บง่ บอกถึงประเทศเจา้ ของโดเมน หรือที่ต้งั ของโดเมน มักจะใชก้ ับประเทศอนื่ ๆ ยกเว้นอเมริกา เช่น .th หมายถึงโดเมนท่ีดแู ล โดยประเทศไทย หรือ .jp หมายถงึ โดเมนของประเทศญ่ปี นุ่ ชื่อโดเมน ประเทศ ตัวอย่าง ca แคนาดา yellowpages.ca uk องั กฤษ icdl.open.ac.uk au ออสเตรเลีย geko.com.au my มาเลเซยี upm.edu.my สำหรบั ช่ือโดเมนระดบั บนสุดของประเทศไทยคือ th และมีโดเมนย่อยแทนประเภทขององค์กรท่ีแพร่หลายอยู่ 4 ประเภทดังน้ี ช่อื โดเมน ประเภทองคก์ ร ตวั อยา่ ง ac สถาบันการศึกษา www.siamu.ac.th co กลุ่มธรุ กิจการค้า www.thairath.co.th go กลมุ่ องคก์ รของรัฐ www.boi.go.th or กล่มุ องคก์ รท่ไี ม่หวังผลกำไร www.nectec.or.th 3. การเช่อื มต่ออนิ เตอร์เน็ต การเชื่อมตอ่ เขา้ สู่เครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตนัน้ สามารถทำได้หลายแบบ ซง่ึ แตล่ ะแบบจะตอ้ งใช้อปุ กรณท์ ่ีแตกต่างกนั ไป ดังนี้ • การเชอื่ มต่อแบบบุคคล การเช่ือมต่ออนิ เทอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ นต็ จากท่บี า้ น (Home user) ซึ่งยงั ต้องอาศัยคู่ สายโทรศพั ท์ในการเข้าส่เู ครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ผู้ใชต้ ้องสมัครเป็นสมาชกิ กบั ผู้ใหบ้ ริการอินเทอรเ์ นต็ กอ่ น จากน้นั จะได้เบอร์
7 โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอนิ เทอรเ์ น็ต รหสั ผใู้ ช้ (User name) และรหสั ผา่ น (Password) ผ้ใู ช้จะเขา้ สรู่ ะบบ อนิ เทอร์เนต็ ไดโ้ ดยใช้โมเด็มท่ีเชือ่ มต่อกบั คอมพวิ เตอร์ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลขโทรศัพท์ของผใู้ หบ้ ริการอนิ เทอร์เนต็ จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเทอรเ์ นต็ ได้ ดังรูป
8 องคป์ ระกอบของการใช้อินเทอร์เนต็ รายบคุ คล 1. โทรศัพท์ 2. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 3. โมเดม็ (Modem) 4. ผ้ใู ห้บรกิ ารอินเทอรเ์ นต็ ซึ่งจะใหเ้ บอร์โทรศัพท์ รหสั ผใู้ ชแ้ ละรหสั ผ่าน • การเชอ่ื มต่อแบบองค์กร การเชื่อมต่ออนิ เทอรเ์ น็ตแบบองค์กรน้ีจะพบได้ทวั่ ไปตามหนว่ ยงานตา่ งๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน หนว่ ยงานต่างๆ เหลา่ นจ้ี ะมีเครือขา่ ยท้องถ่นิ (Local Area Network : LAN) เป็นของตวั เอง ซ่งึ เครือข่าย LAN น้เี ชอ่ื มตอ่ อนิ เทอร์เน็ต ตลอดเวลา ผ่านสายเชา่ (Leased line) ดงั น้นั บคุ ลากรในหนว่ ยงานจงึ สามารถใช้อนิ เทอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้ อนิ เทอร์เน็ตผ่านระบบ LAN ไมม่ ีการสรา้ งการเช่ือมต่อ (Connection) เหมือนผใู้ ช้รายบุคคลทย่ี งั ต้องอาศัยคสู่ ายโทรศัพท์ ในการเข้าสู่เครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต 1. คอมพิวเตอรแ์ มข่ า่ ย (Server) ควรเป็นคอมพวิ เตอร์ทม่ี ีความเร็วสญั ญาณนาฬิกาของหน่วยประมวลผลต้ังแต่ 500 MHz มหี นว่ ยความจำหลกั RAM ตง้ั แต่ 512 MB ขน้ึ ไป จำนวนเครอื่ งขน้ึ อยู่กบั ความตอ้ งการและปรมิ าณ การใช้งานขององค์กร 2. ดิจติ อลโมเดม็ (NTU) และอุปกรณช์ เ้ี ส้นทาง (Router) คืออุปกรณ์ซ่ึงทำ หน้าทีแ่ ปลงสญั ญาณดจิ ติ อลและกำหนดเส้นทางในการเช่อื มต่อด้วยหมายเลข IP Address ไปยังเครือขา่ ยอ่ืนๆ 3. คู่สายเช่า (Lease line) เป็นค่สู ายสญั ญาณเชา่ สำหรับการเชือ่ มตอ่ แบบ ตลอดเวลา ไม่ต้องมีการหมนุ หมายเลขโทรศัพท์ในการเชื่อมตอ่ 4. สทิ ธกิ ารใชง้ านเชอ่ื มต่อ (Air time) จากผู้ใหบ้ ริการเอกชน ISP หรือขององค์กร/หน่วยงานต่างๆ เช่น SchoolNet 1509 ซ่งึ จะกำหนดหมายเลข IP Address ของกลุ่มเคร่อื งในเครือขา่ ยจำนวนหนง่ึ มาให้สำหรบั ใช้กบั อุปกรณ์ ชีเ้ สน้ ทางและเครื่องแมข่ ่าย
9 4. อินเตอร์เน็ตความเรว็ สงู 1. บรกิ ารอินเทอรเ์ น็ตผา่ น ISDN (Integrated Service Digital Network) เปน็ การเช่ือมต่อสายโทรศัพท์ ระบบใหม่ทรี่ ับสง่ สญั ญาณเป็นดจิ ิทัลทง้ั หมด อุปกรณ์และชมุ สายโทรศัพท์จะเปน็ อุปกรณ์ที่สนับสนนุ ระบบของ ISDN โดยเฉพาะ 2. บรกิ ารอินเทอร์เน็ตผา่ นเคเบลิ โมเด็ม (Cable Modem) เปน็ การเชอ่ื มต่ออินเทอรเ์ นต็ ดว้ ยความเรว็ สงู โดยไม่ ใช้สายโทรศพั ท์ แต่อาศัยเครือขา่ ยของผู้ใหบ้ ริการเคเบิลทีวี ความเร็วของการใชเ้ คเบิลโมเด็มในการเช่ือมต่อ อินเทอร์เน็ตจะทำใหค้ วามเร็ว สูงถึง 2/10 Mbps นนั้ คอื ความเร็วในการอัพโหลด ท่ี 2 Mbps และความเรว็ ใน การ ดาวนโ์ หลด ท่ี 10 Mbps แตป่ จั จุบันยงั เปิดใหบ้ ริการอยทู่ ่ี 64/256 3. บรกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตผ่านระบบโทรศพั ท์ ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Loop) ADSL เป็นการ เชือ่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ผ่านสายโทรศพั ท์แบบเดิม แต่ใชก้ ารส่งดว้ ยความถ่ีสูงกวา่ ระบบโทรศพั ท์แบบเดมิ ชุมสายโทรศพั ท์ทใี่ หบ้ รกิ ารหมายเลข ADSL จะมีการตดิ ตง้ั อุปกรณ์ คอื DSL Access Module เพอ่ื ทำการแยก สญั ญาณความถส่ี งู นี้ออกจากระบบโทรศัพทเ์ ดมิ และลัดเข้าเชือ่ มต่อกับอินเทอร์เน็ตโดยตรง สว่ นผใู้ ช้บรกิ าร อนิ เทอร์เน็ตจะต้องมี ADSL Modem ที่เชอ่ื มตอ่ กบั คอมพิวเตอร์ ความเรว็ ในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน ADSL จะมคี วามเรว็ ที่ 64/128 Kbps (อพั โหลด ท่ี 64 Kbps และ ดาวนโ์ หลด ที่ 128 Kbps) และท่ี 128/256 Kbps (อัพโหลด ที่ 128 Kbps และ ดาวนโ์ หลด ที่ 256 Kbps) ท้ังนีข้ ้นึ อย่กู ับการเลือกใชบ้ ริการ องคป์ ระกอบของการเช่ือมต่ออินเทอรเ์ นต็ ด้วยADSL 1. ADSL modem ทำหนา้ ทใ่ี นการแปลงสัญญาณ 2. Splitter ทำหน้าทีแ่ ยกสัญญาณความถส่ี งู ของ ADSL จากสญั ญาณโทรศัพท์แบบธรรมดา 3. ผ้ใู หบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตผ่าน ADSL ประกอบดว้ ย Asia Net, Loxinfo, KSC, CS Internet, Anet, Samart, JI-Net 5. บริการตา่ งๆ บนอินเตอรเ์ นต็ เป็นบริการทชี่ ่วยใหผ้ ู้ใช้สามารถตดิ ต่อรบั สง่ ข้อมูลแลกเปลี่ยนกันได้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซง่ึ จะมีความรวดเรว็ กวา่ การตดิ ต่อดว้ ยวิธกี ารแบบธรรมดาและมีคา่ ใชจ้ ่ายค่อนข้างถูกกว่ามาก อนิ เตอรเ์ นต็ เปรียบเสมอื นสังคมขนาดใหญท่ ม่ี ีผู้เข้ามาใช้ร่วมกันมากมาย ในระบบจงึ มกี ารจดั เตรียมบริการต่างๆ ไวใ้ ห้ เพื่อใหผ้ ้ใู ช้เข้ามาใช้งานตา่ งๆ ทตี่ ้องการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว บรกิ ารท่ีมีอยู่ในอนิ เตอร์เนต็ จะแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังน้ี 5.1 บรกิ ารจดหมายอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Mail หรือ E-mail) เนื่องจากในระบบเครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ตนน้ั คอมพิวเตอร์ ท้ังหลายได้ถูกเชอื่ มต่อเขา้ ดว้ ยกนั ทำใหก้ ารสง่ ข้อมลู ระหว่าง คอมพิวเตอรด์ ้วยกนั สามารถท่ีจะกระทำไดโ้ ดยไม่ข้นึ อยู่กับระยะทาง ว่า จะใกล้หรอื ไกลเพียงใด ดังนนั้ บรกิ าร จดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์จงึ เป็นบรกิ ารที่ได้รบั ความนยิ มแพรห่ ลายเป็นอยา่ งมาก เนื่องจาก ผ้ใู ชง้ านสามารถรบั สง่ ข้อความเพ่ือติดต่อแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร กับบุคคลอนื่ ๆ ท่ีใช้บริการน้บี นเครอื ข่ายอินเตอรเ์ นต็ ได้ไมว่ ่าผูน้ ั้นจะ อย่หู า่ งไกลเพยี งใดและมคี วามสะดวกรวดเร็วกว่าการใช้บริการระบบไปรษณยี ์ตามปกติ นอกจากน้ันยังสามารถสง่ ข้อมลู ใน รปู แบบอน่ื ๆ นอกเหนือจากตวั อกั ษร เชน่ ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหว เสยี ง แนบไปพรอ้ มกบั
10 จดหมายได้อีกด้วย ในการสง่ อเี มล์กต็ ้องมีการจา่ หนา้ ถงึ ผรู้ ับเชน่ เดยี วกับการสง่ จดหมายธรรมดาทัว่ ไป ผู้สง่ และผู้รบั จะต้องมที ี่อยซู่ ่งึ เรียกว่า อเี มล์แอดเดรส (E-mail Address) สำหรับรูปแบบของอีเมล์ แอดเดรสจะประกอบด้วย 2 สว่ นคือ ชอื่ ผใู้ ช้ และชื่อ เครือ่ งบริการ และใชเ้ ครอื่ งหมาย @ (ออกเสยี งวา่ \"แอท็ \") ค่ันระหวา่ งทงั้ สองสว่ นนี้ ตวั อย่างเชน่ [email protected] ซ่งึ มีชื่อผใู้ ช้ คอื pranee และชื่อเคร่อื งบรกิ าร คือ nectec.or.th 5.2 บรกิ ารโอนย้ายขอ้ มูล (FTP) FTP ย่อมาจากคำว่า File Transfer Protocol ซง่ึ เปน็ การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลจากคอมพวิ เตอร์ เคร่ืองหนงึ่ ไปยัง เครือ่ งคอมพวิ เตอรอ์ ีกเครื่องหนึง่ ซ่ึงอาจจะอยู่ใกล้หรือไกลกันกต็ าม เชน่ ถ่าย โอนแฟม้ ขอ้ มูลจากเครื่องพีซไี ปยังเครื่องแม่ ขา่ ย ถ่ายโอนแฟ้มข้อมลู จากเครอื่ งแม่ข่ายมายังเครื่องพีซี หรอื ถา่ ยโอนแฟม้ ข้อมูลระหว่างเครอื่ งแม่ข่ายด้วยกันเอง โดย ปกติผ้ใู ช้สามารถถ่ายโอนแฟม้ ข้อมูลได้จะต้องไดร้ บั อนุญาตจากผูด้ ูแลเคร่ืองแม่ข่ายน้ัน ซึ่งจะตอ้ งทราบชื่อบัญชีและ รหัสผา่ นสำหรับการเขา้ ใชบ้ ริการน้ี แต่ก็มีหลายหนว่ ยงานท่เี ปดิ ให้ผ้ใู ชท้ ัว่ ไปสามารถถ่ายโอนแฟ้มได้โดย ใช้ช่ือบญั ชี anonymous หรือ guest โดยใชอ้ เี มลแ์ อดเดรสเป็นรหสั ผ่านหรอื บางแหง่ ก็ไมต่ ้องระบุรหัสผ่านก็ได้ การถา่ ยโอนแฟ้มข้อมลู มีการทำงาน 2 ลกั ษณะ คือ - get เป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมลู จากเคร่ืองปลายทางมายังเคร่ืองตน้ ทาง (Download) - put เปน็ การถา่ ยโอนแฟ้มข้อมลู จากเครอื่ งต้นทางไปยังเครือ่ งปลายทาง (Upload) รูปแสดงหลกั การทำงานของการถ่ายโอน 5.3 บรกิ ารเข้าใช้ระบบคอมพิวเตอร์ระยะไกล (Remote Login, Telnet) บริการนอ้ี นุญาตใหผ้ ู้ใชส้ ามารถเข้าไปทำงานตา่ งๆ ท่ีอย่ใู นคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองอืน่ ๆ ทเี่ ชือ่ มต่ออยู่ใน เครือข่ายอินเตอร์เนต็ ไม่ว่าเครอื่ งนน้ั จะอยใู่ กล้หรอื ไกลกต็ าม ซ่งึ ผูใ้ ช้ไม่จำเป็นต้องเดนิ ทาง เขา้ มายงั สถานทต่ี ง้ั เพื่อใช้เครือ่ ง คอมพวิ เตอร์เคร่อื งดังกล่าว ทำให้ประหยดั เวลาและค่าใช้จ่ายเป็นอยา่ งมาก ในการเข้าใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ระยะไกลนี้ผูใ้ ช้ สามารถสัง่ ให้คอมพวิ เตอร์ท่ีอยู่ระยะไกล ดงั กล่าวการทำงานตา่ งๆ ตามท่ีต้องการได้โดยป้อนคำสงั่ ผ่านทางเครื่อง คอมพิวเตอร์ท่ีผใู้ ช้งานคนน้นั กำลังนง่ั ใช้งานอยู่ ผลลพั ธ์ในการทำงานเหล่านน้ั กจ็ ะถกู ส่งกลับมาแสดงท่จี อภาพเคร่ือง คอมพิวเตอร์นั้นด้วยเชน่ กนั ในการใช้บรกิ ารน้ี ผ้ใู ชง้ านจะต้องไดร้ ับการอนุญาตจากผู้ดแู ลเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีตอ้ งการเข้าไปใชง้ าน กอ่ น ซ่งึ ผ้ใู ช้ผนู้ ัน้ จะต้องทราบช่อื บัญชีพรอ้ มทง้ั รหัสผ่านสำหรบั การเขา้ ใชเ้ ครื่อง คอมพวิ เตอรน์ น้ั ๆ ด้วย โปรแกรมท่ีนิยมใน การใช้บรกิ ารน้ี ได้แก่ โปรแกรม telnet สำหรบั โปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการวนิ โดวม์ อี ยู่มากมาย เชน่ โปรแกรม QvtNet, โปรแกรม HyperTerminal เป็นต้น
11 เมอ่ื เริม่ ตน้ ใชโ้ ปรแกรมดังกลา่ วขา้ งตน้ ผูใ้ ชจ้ ะตอ้ งระบชุ ่อื เคร่ืองคอมพวิ เตอรห์ รือหมายเลขไอพีของเคร่ืองท่ี ตอ้ งการจะติดต่อเพ่ือใช้งาน จากนัน้ โปรแกรมจะจำลองจอภาพของคอมพวิ เตอร์ ท่รี ะบเุ พ่ือให้ผู้ใช้กรอกชอื่ บัญชแี ละ รหสั ผา่ น หากสามารถระบุได้ถูกต้องกจ็ ะอนุญาตให้ผใู้ ช้เข้าทำงานต่างๆ ในคอมพิวเตอร์เคร่ืองนัน้ ได้ หลกั การทำงานของบริการน้ี จะมลี ักษณะทีเ่ รยี กวา่ ระบบลูกขา่ ย/แม่ขา่ ย (Client/Server) คือ เครื่อง คอมพวิ เตอร์หน่ึงทเ่ี ปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารด้านต่างๆ จะเรียกวา่ เคร่ืองผใู้ หบ้ รกิ ารหรือเครื่อง แม่ข่าย (Server) และเคร่ือง คอมพิวเตอร์เคร่อื งอน่ื ๆ ที่ติดตอ่ กับเคร่อื งแมข่ ่ายเพ่ือทำการรอ้ งขอใช้บริการตา่ งๆ เรยี กวา่ เคร่อื งผู้ใชบ้ ริการหรือเคร่ืองลกู ข่าย (Client) โดยเครอื่ งแม่ข่ายเคร่อื งหนงึ่ สามารถรองรับการใหบ้ รกิ ารแก่เครื่องลูกขา่ ยไดจ้ ำนวนหลายเครื่อง ซ่ึงในการ เขา้ ใช้ระบบระยะไกลนี้ เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ระยะไกลที่ผู้ขอใช้เข้าไปใช้งานนน้ั จะทำหนา้ ท่ีเปน็ เครื่องแม่ขา่ ย ส่วน เครือ่ งคอมพิวเตอร์ท่ผี ใู้ ช้กำลงั ใชง้ านน้นั จะทำหน้าทเ่ี ปน็ เคร่ืองลูกข่าย โดยเครือ่ งแมข่ ่ายจะสามารถรองรับการ ตดิ ต่อจาก เคร่อื งลูกข่ายไดห้ ลากหลายประเภทไม่จำกัดวา่ จะต้องเปน็ เคร่ืองชนดิ เดียวกันหรือมรี ะบบปฏิบตั กิ ารเหมอื นกนั เพราะการ ทำงานในระบบน้ีจะไม่ข้นึ กบั ฮาร์ดแวรห์ รอื ซอฟตแ์ วร์ ผู้ใช้จงึ สามารถใช้งานโปรแกรมประเภทน้ีจากเครือ่ งคอมพวิ เตอรไ์ ด้ หลากหลายชนิด เช่น พชี ี แมคอินทอช หรอื เคร่ืองในระบบยูนกิ สค์ ่ายต่างๆ เพ่ือตดิ ต่อไปยังเครอื่ งทีเ่ ปน็ เซริ ์ฟเวอร์ในระบบ ต่าง ๆ ซ่งึ อาจเปน็ เคร่ืองพีซีทั่วไปจนกระทงั่ ถึงเครอ่ื งในระดับเมนเฟรมเลยกไ็ ด้ 5.4 บริการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลและความคดิ เห็น (Usenet News) Usenet News เป็นอีกบรกิ ารหน่ึงในอนิ เตอรเ์ น็ต ซง่ึ มลี ักษณะเป็นกลมุ่ สนทนาเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมลู ขา่ วสารบน เครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ต ซ่ึงคลา้ ยคลงึ กบั การเปิดเวทสี าธารณะใหผ้ คู้ นท่ัวโลก มาแสดงความคดิ เห็นรว่ มกัน โดยผูใ้ ชส้ ามารถ สมัคร (Subscribe) เขา้ เป็นสมาชิกกลมุ่ หัวข้อใดก็ได้ท่ีตนเองสนใจโดยไมต่ ้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายแตอ่ ย่างใด ซึง่ เม่ือเปน็ สมาชิก แล้วก็จะสามารถเรยี ก ดูข้อมูลข่าวสารตา่ งๆ ทอ่ี ยูภ่ ายในกลมุ่ หวั ขอ้ น้นั ได้ และยังสามารถขอความคิดเห็นหรอื ร่วมแสดง ความคิดเห็น สอบถามข้อปัญหา หรือตอบขอ้ ปัญหาของผ้อู ่ืนที่ถามมาในกลุ่มหวั ขอ้ นัน้ ๆ ได้ สำหรบั Usenet News ได้มี การจัดแบง่ เปน็ กล่มุ หัวข้อต่างๆ พร้อมทงั้ ยังมีกลมุ่ หัวข้อย่อยไวม้ ากมายนับพนั ๆ กล่มุ เชน่ กลุม่ การเมือง กลุ่มเทคนิคดา้ น คอมพิวเตอร์ กลุ่มดนตรี กลุ่มศิลปะ กลุ่มกฬี า เป็นตน้ กลมุ่ หวั ข้อใน Usenet News เหลา่ นจี้ ะเรยี กว่า Newsgroup และ ประเดน็ ข้อมูลข่าวสารในแต่ละกลมุ่ หัวข้อจะเรยี กวา่ Article หากประสงค์ท่จี ะ ไมต่ ้องการอ่านขา่ วสารในกลุ่มหวั ขอ้ น้ันอีก ก็สามารถยกเลกิ การเปน็ สมาชกิ (Unsubscribe) ของกลุ่มหัวขอ้ น้ันได้ รูปแบบของ Article ของคลา้ ยคลงึ กับโครงสร้างของอีเมล์ ซ่ึงประกอบด้วย 3 ส่วน คอื สว่ นหวั เป็นส่วนทบี่ อกข้อมูลทางเทคนิคท่ีเกีย่ วกับ Article นัน้ เชน่ หวั ขอ้ เร่ืองอะไร ใครเปน็ ผสู้ ง่ สง่ มาจากที่ไหน ลงวันท่เี ท่าไหร่ เป็นต้น ซง่ึ สว่ นหวั นจี้ ะมีรายละเอียดได้ไม่เกนิ 20 บรรทดั สว่ นเนื้อความ เปน็ เนื้อหาของ Article นั้น สว่ นท้าย เป็นสว่ นท่บี อกรายละเอียดของผู้สง่ เช่น ชอ่ื นามสกลุ อเี มล์แอดเดรส และขอ้ ความลงท้าย ซึง่ มคี วาม ยาวประมาณ 2-3 บรรทดั ซ่งึ ส่วนท้ายนี้อาจจะมีหรือไมก่ ็ได้
12 เน่อื งมาจากการที่มกี ลมุ่ หัวขอ้ ต่างๆ ใน Usenet News เป็นจำนวนมาก จงึ จัดเปน็ ประเภทไดโ้ ดยใชช้ ่ือยอ่ นำหน้าของกลุ่มหัวข้อหลักประเภทต่างๆ ดังตัวอย่างในตารางตอ่ ไปนี้ กล่มุ หัวขอ้ ต่างๆ จะมีชื่อคลา้ ยกบั ระบบโดเมน กล่าวคอื จะประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลกั คอื ช่อื กลุ่มหวั ข้อ หลัก ชื่อกลุม่ หัวข้อยอ่ ยและอาจมปี ระเภทของกลมุ่ หวั ข้อย่อยในลำดบั ต่อไป แต่ สำหรับในระบบของ Usenet News นน้ั ชือ่ กล่มุ หัวข้อหลักจะอยูท่ างซ้ายมอื สว่ นชอื่ ของกลุ่มหวั ข้อยอ่ ยรองๆ ลงไปจะอยทู่ างขวามอื ตามลำดับ โดยค่นั ดว้ ย เคร่อื งหมายจดุ ชอื่ ของกลุ่มหัวข้อ อาจจะมีความยาวไม่แน่นอน ตัวอยา่ งเช่น comp.ai.neural-nets คือ กลมุ่ หวั ข้อหลกั ดา้ นคอมพวิ เตอร์ (computer) และมีความสนใจทางสาขาด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificail Intelligence) และสนใจใน เร่ืองของนวิ รอลเน็ตเวริ ์ก (neural-netswork) หรอื sci.polymers คือ กลุม่ หัวขอ้ หลกั ด้านวิทยาศาสตร์ (science) ท่ีมี ความสนใจเก่ียวกบั เรื่องโพลเิ มอร์ (polymers) เป็นตน้
13 5.5 การสนทนาออนไลน์ นอกจากการตดิ ตอ่ ระหว่างผใู้ ชเ้ ครอื ข่ายอนิ เตอร์ด้วยกันโดยผ่านทางบรกิ ารจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์แล้ว บน เครือข่ายอินเตอร์เนต็ ยงั มีบริการท่ีผใู้ ชส้ ามารถสื่อสารกับผู้ใช้อินเตอร์เน็ตคนอน่ื ๆ ได้ในขณะเวลาเดียวกันท่ีกำลงั ใชง้ าน อินเตอร์เน็ตอยู่พรอ้ มๆ กนั ได้ ซ่งึ จะมลี ักษณะของการสนทนาโตต้ อบกันอย่างทนั ทที ันใด โดยอาจจะเปน็ การติดตอ่ กนั โดยตรงระหวา่ งบุคคลสองคน หรอื ติดตอ่ กนั เปน็ กลุ่ม กลุม่ ละหลายคนก็ได้ ซึ่งลักษณะของการคุยโตต้ อบกันทำได้โดยการ พมิ พ์ข้อความโต้ตอบกนั หรอื การใช้เสยี งเพ่ือสนทนากันตามปกติ โปรแกรมทใ่ี ชส้ ำหรับการสนทนาในปจั จบุ นั มี พฒั นาให้มี รปู แบบท่ีนา่ สนใจ โดยสามารถนำเอาภาพกราฟิกหรือตัวการต์ ูน มาเปน็ ตัวแทนผู้สนทนาได้ นอกจากน้ยี ังสามารถพูดตอบ โตโ้ ดยใช้เสียงโดยผ่านไมโครโฟนของ คอมพิวเตอรไ์ ด้ หรือ สามารถเห็นภาพเคล่ือนไหวของคสู่ นทนากไ็ ด้หากคอมพิวเตอรไ์ ด้ ทำการตดิ ต้ังกลอ้ งวิดีโอไว้ ดว้ ยการใชบ้ รกิ ารในลักษณะนีท้ ำให้ผูใ้ ช้ สามารถติดต่อกับผู้อน่ื ท่ีกำลังเขา้ ใชง้ านอินเตอร์เนต็ ไดท้ ัว่ โลก สำหรับโปรแกรมสนทนาออนไลน์ในรูปแบบกราฟิกท่ีได้รับ ความนยิ มก็มีอยู่หลายโปรแกรม เชน่ Internet Phone, ICQ, MSN Messenger Service, Microsoft NetMeeting, skype เปน็ ตน้ ซงึ่ โปรแกรมเหลา่ นผ้ี ู้ใช้สามารถพดู คุยกนั ได้โดยการส่ง ข้อความ เสยี ง หรอื ภาพของคู่สนทนาได้ และยัง สามารถใช้ในการ รบั สง่ แฟม้ ข้อมูลระหว่างกนั ได้อีกดว้ ย 5.6 บรกิ ารเวลิ ด์ไวดเ์ ว็บ (World Wide Web) เวิลดไ์ วด์เว็บ (World Wide Web) เปน็ บริการทีถ่ ือว่าไดร้ บั ความนิยมมากทสี่ ุดของอินเตอรเ์ นต็ ในปจั จบุ ัน ซง่ึ อาจจะเรยี กยอ่ ๆ สำหรับบริการได้หลายแบบ เช่น WWW, W3 หรอื Web โดยต่อไปนี้จะกลา่ วเรยี กสน้ั ๆ วา่ \"เว็บ (Web)\" เนื่องจากเว็บเป็นบริการทีใ่ หผ้ ใู้ ช้สามารถเขา้ ไปค้นหา ข้อมูลตา่ งๆ ในอินเตอรเ์ นต็ ได้งา่ ยและสะดวก ด้วยลักษณะ ของการแสดงผลในรปู แบบของ Hypertext ซงึ่ เป็นวิธกี ารที่จะ เช่ือมโยงขอ้ มูลจากเอกสารหนง่ึ ไปอีกข้อมลู ของอกี เอกสาร หนึง่ ทำใหก้ ารค้นหาครอบคลุมข้อมลู ท่ีต้องการมากยงิ่ ข้ึน และดว้ ยคุณสมบตั ิเชน่ น้ีจึงทำให้เว็บเป็นบรกิ าร ท่นี ิยมใช้ใน การคน้ หาข้อมูล และหน่วยงานตา่ งๆ จงึ นยิ มเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสารและบริการต่างๆ ของตนเองผา่ นทางเว็บกันเป็น จำนวนมากมาย
14 เว็บใชส้ ถาปัตยกรรมเครือข่ายในรปู แบบของ Client/Server กลา่ วคอื ผู้ขอใช้บริการจะใช้โปรแกรมทีเ่ รยี กวา่ \"เว็บ บราวเซอร์ (Web Browser)\" หรอื เรียกสัน้ ๆ วา่ Browser - ทำการระบุ แหล่งท่ีอยู่ของขอ้ มูล (URL : Uniform Resource Locator) เว็บบราวเซอร์จะทำหนา้ ท่ีใน สถานะของ Client ร้องขอข้อมลู ที่ตอ้ งการไปยังเครื่อง Server ซง่ึ เปน็ แหลง่ ท่ีอยขู่ องข้อมูลนัน้ สำหรับเคร่ือง Server ท่ี ให้บรกิ ารข้อมูลเว็บจะเรียกว่า \"เว็บเซริ ฟ์ เวอร์ (Web Server)\" หรือ \"เว็บไซต์ (Web Site)\" เมือ่ เว็บเซริ ์ฟเวอร์ได้รบั คำร้องก็ จะสง่ ข้อมูลทต่ี ้องการกลบั ไปให้เว็บ บราวเซอร์เพอ่ื นำไปแสดงผลให้แก่ผ้ใู ชท้ างจอภาพ ในการตดิ ต่อระหวา่ งเว็บบราวเซอร์ และเว็บเซริ ์ฟเวอรจ์ ะใช้โปรโตคอล HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) และขอ้ มูลจะจัดเกบ็ ในรูปแบบมาตรฐาน HTML (Hyper Text Markup Language) โปรแกรมทท่ี ำหนา้ ท่ีเป็นเว็บบราวเซอรท์ นี่ ยิ ม ได้แก่ Internet Explorer (IE), Netscape Communicator, Mosaic, Hot Java เป็นตน้ ในแตล่ ะเว็บไซต์จะมวี ธิ กี ารทีจ่ ะระบุทอี่ ยู่ของข้อมลู ท่ีไม่ซำ้ กบั เวบ็ ไซต์อ่ืนๆ เรียกวา่ Uniform Resource Locator หรือ URL ซง่ึ จะประกอบดว้ ยสองสว่ น คอื 1. โปรโตคอลหรือลกั ษณะของแหล่งข้อมูลท่ีต้องใช้เพื่อดึงข้อมูลน้ัน เชน่ ถา้ เปน็ แหล่งข้อมูลทเ่ี กบ็ รวบรวม แฟ้มข้อมลู ตา่ ง ๆ ทใี่ ห้บริการ FTP ในสว่ นนี้ก็จะใช้คำว่า ftp หรือถา้ แหลง่ ข้อมูลเป็นแบบ HTML ส่วนน้ีกจ็ ะใช้คำวา่ http 2. แหลง่ ทอ่ี ยู่ของข้อมูลน้นั โดยจะระบุชื่อเคร่ืองโดยใชร้ ะบบไอพีแอดเดรสหรือระบบชื่อโดเมนกไ็ ด้ตามดว้ ยชื่อ ไดเรกทอรแี ละช่ือแฟม้ ข้อมลู ของขอ้ มูลนัน้ ตัวอย่าง URL http://www.intel.com/index.html http://www.msn.com 6. โทษของการใช้งานอนิ เตอร์เน็ต ทุกสรรพสิง่ ในโลกย่อมมีทงั้ ด้านท่ีเปน็ คณุ ประโยชน์และดา้ นทีเ่ ปน็ โทษ เปรียบเหมอื นเหรยี ญท่ีมี 2 ดา้ นเสมอ ขึ้นอยกู่ ับวา่ เราจะเลือกใช้อย่างไรใหเ้ กิดผลดตี อ่ เรา ขอยกตัวอย่างโทษที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากการใช้งานอินเทอรเ์ น็ตดังน้ี 1. โรคติดอินเทอรเ์ น็ต (Webaholic) หากการเลน่ อนิ เทอร์เนต็ ทำใหค้ ุณเสยี งานหรือแมแ้ ต่ทำลายสุขภาพ นกั จติ วิทยาช่ือ Kimberly S. Young ไดศ้ ึกษาพฤติกรรม ของผู้ใช้อินเทอรเ์ น็ตอยา่ งมากเปน็ จำนวน 496 คน โดย เปรยี บเทียบกบั บรรทัดฐานซึ่งใชใ้ นการจดั ว่า ผู้ใดเปน็ ผ้ทู ่ีติดการพนัน การติดการพนนั ประเภทที่ถอนตวั ไมข่ ึ้น มีลักษณะ คล้ายคลงึ กบั การติดอินเทอรเ์ นต็ เพราะทง้ั สองอยา่ งเก่ียวข้องกบั การลม้ เหลวในการควบคมุ ความต้องการของตนเอง โดย ไม่มีสว่ นเก่ียวข้องกับสารเคมีใดๆ (อยา่ งสรุ า หรือยาเสพติด) 2. เรื่องอนาจารผดิ ศลี ธรรม(Pornography/Indecent Content) เรือ่ งของข้อมูลตา่ งๆ ทีม่ ีเนือ้ หาไปในทางขัดตอ่ ศีลธรรม ลามกอนาจาร หรือรวมถงึ ภาพโป๊เปลือยต่างๆ น้ันเป็น เรอื่ งท่ีมีมานานพอสมควรแล้วบนโลกอินเทอรเ์ นต็ แตไ่ มโ่ จง่ แจง้ เน่อื งจากสมัยก่อนเปน็ ยุคที่ WWW ยังไม่พัฒนามากนกั ทำ ใหไ้ มม่ ีภาพออกมา แตใ่ นปัจจุบันภาพเหลา่ นเี้ ป็นท่ีโจง่ แจ้งบนอินเทอร์เน็ตและส่ิงเหล่านีส้ ามารถเข้าส่เู ด็ก และเยาวชนได้ งา่ ย โดยผปู้ กครองไมส่ ามารถที่จะใหค้ วามดูแลไดเ้ ต็มท่ี เพราะว่าอินเทอร์เน็ตน้นั เปน็ โลกท่ไี ร้พรมแดนและเปิดกว้างทำให้ ส่ือเหลา่ นส้ี ามารถเผยแพรไ่ ปไดร้ วดเร็วจนเรา ไมส่ ามารถจับกุมหรอื เอาผิดผทู้ ี่ทำสง่ิ เหลา่ นขี้ ึน้ มาได้ 3. ไวรัส มา้ โทรจนั หนอนอินเทอรเ์ น็ต และระเบิดเวลา ไวรัส : เปน็ โปรแกรมอิสระ ซ่งึ จะสบื พนั ธ์ุโดยการจำลองตวั เองใหม้ ากข้นึ เรือ่ ยๆ เพือ่ ทจี่ ะทำลายข้อมลู หรืออาจ ทำใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ทำงานชา้ ลงโดยการแอบใชส้ อยหน่วยความจำหรือพืน้ ทวี่ ่างบนดิสกโ์ ดยพลการ มา้ โทรจัน : มา้ โทรจนั เป็นตำนานนักรบท่ีซอ่ นตวั อยูใ่ นมา้ ไม้ แลว้ แอบเข้าไปในเมืองจนกระทั่งยดึ เมืองไดส้ ำเรจ็ โปรแกรมน้กี ท็ ำงานคล้ายๆ กัน คอื โปรแกรมนี้จะทำหน้าที่ไม่พงึ ประสงค์ มนั จะซ่อนตวั อยู่ในโปรแกรมที่ไม่ได้รับอนุญาต มนั มักจะทำในสิง่ ทเี่ ราไม่ต้องการ และสิ่งท่ีมันทำนนั้ ไมม่ ีความจำเปน็ ต่อเราด้วย เชน่ การแอบสง่ รหสั ผา่ นต่างๆ ภายใน เครือ่ งของเราไปให้ผ้เู ขียนโปรแกรม
15 หนอนอินเทอรเ์ นต็ : ถูกสรา้ งขน้ึ โดย Robert Morris, Jr. จนดังกระฉ่อนไปทัว่ โลก มันคอื โปรแกรมท่ีจะสืบพนั ธุ์ โดยการจำลองตัวเองมากขน้ึ เรื่อยๆ จากระบบหนง่ึ ครอบครองทรัพยากรและทำให้ระบบชา้ ลง ระเบิดเวลา : คอื รหัสซึ่งจะทำหนา้ ท่ีเป็นตัวกระต้นุ รปู แบบเฉพาะของการโจมตนี น้ั ๆ ทำงานเมื่อสภาพการโจมตี นน้ั ๆ มาถงึ ยกตวั อย่างเช่น ระเบดิ เวลาจะทำลายไฟล์ทง้ั หมดในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2542 นอกจากน้ี ยังมีเรื่องหลอกหลวงตา่ งๆ อีกมากมายที่กลายเปน็ ข่าวให้เราไดร้ บั ทราบอยู่เสมอ การพยายามในการ เจาะทำลายระบบเพ่ือล้วงความลับหรอื ข้อมูลต่างๆ ดังนนั้ การใช้งานเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ จงึ ตอ้ งมคี วามระมัดระวงั ในการ ใชง้ าน มวี ิจารณญาณในการรับข้อมูลขา่ วสาร กล่นั กรองจากหลายๆ แหลง่ เพื่อไมใ่ หต้ กเปน็ เหย่อื จากเหลา่ มจิ ฉาชีพไฮเทค เหลา่ นี้ การเชอ่ื มต่ออนิ เตอรเ์ นต็ กับโทรศัพทม์ อื ถอื ยกตวั อยา่ งเป็น โทรศัพท์ รนุ่ ซัมซงุ วธิ ีการตงั้ คา่ การตั้งค่าอินเทอร์เน็ต Samsung สำหรับการเปิดใชง้ านมอื ถือครงั้ แรก - เข้าไปที่ เมนูการต้งั ค่า (Settings)
- เลือก เครอื ข่ายเพมิ่ เติม (more networks) 16 - กดไปท่ี เครือขา่ ยมอื ถือ (Mobile networks) - เลอื ก ผใู้ ห้บรกิ ารเครือข่าย (Network operators)
17 - เลือกเครือข่ายท่ีใช้แลว้ กดปุ่มย้อนกลบั วธิ กี ารเชือ่ มต่ออนิ เตอรเ์ นต็ ทำได้หลายวธิ ีดงั น้ี วธิ ที ่ี1 - เข้าไปท่ี เมนูการตง้ั คา่ (Settings)
- เลือก เครอื ขา่ ยเพ่มิ เติม (More networks) 18 - กดไปท่ี เครือข่ายมอื ถอื (Mobile networks)
- จากน้นั เลือกข้อมูลมอื ถือ (Mobile data) 19 วธิ ที ี่2 - เข้าไปที่ เมนูการตั้งค่า (Settings)
- กดไปที่ การใชข้ ้อมลู (Data usage) 20 - จากนัน้ เลือกข้อมลู มอื ถอื เพ่ือเปิดการใช้งาน
วธิ ีที่3 21 - ใชส้ องนว้ิ ลากแถบแสดงการแจ้งเตอื นลงมา (Notification Bar) - จากน้ันเลอื กข้อมูลมือถอื (Mobile data) เพอ่ื เปิดการใช้งาน
22 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ งาน การดำเนนิ โครงการสร้างเครือขา่ ยดิจิทลั ชมุ ชนหลักสูตรการเขา้ ใจดจิ ทิ ัล ได้ดำเนนิ การตามขนั้ ตอนตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ขัน้ เตรยี มการ การศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งกับโครงการสร้างเครอื ข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลกั สูตรการเขา้ ใจดจิ ทิ ัล ผรู้ ับผิดชอบโครงการได้ศึกษาค้นควา้ เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ งเพ่ือเป็นข้อมลู และแนวทางในการดำเนนิ การโครงการ สร้างเครือข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลกั สูตรการเข้าใจดจิ ิทลั ดังนี้ 1. ศกึ ษาเอกสาร / คู่มือ ข้อมูลจากหนงั สอื เกี่ยวกับการเข้าใจดิจทิ ัลเพื่อเปน็ แนวทางเกี่ยวกบั การจัดโครงการสรา้ ง เครอื ข่ายดิจิทัลชุมชนหลกั สูตรการเข้าใจดจิ ิทัล 2. ศึกษาข้ันตอนการดำเนินโครงการสรา้ งเครือขา่ ยดจิ ิทลั ชุมชนหลักสูตรการเขา้ ใจดิจิทัล เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ จัดเตรยี มงาน วัสดุอุปกรณ์ และบุคลากรให้เหมาะสม การสำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนท่ี (ตามนโยบายของรัฐบาล) ครู กศน.ตำบล สำรวจความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายเพ่อื ทราบความต้องการทีแ่ ท้จริงของประชาชนใน ตำบล และมีข้อมลู ในการจดั กิจกรรมทตี่ รงกับความต้องการของชมุ ชน การประสานงานผ้นู ำชุมชน / ประชาชน /วิทยากร ครู กศน.ตำบล ได้ประสานงานกบั หวั หนา้ /ผูน้ ำชุมชนและประชาชนในตำบลเพื่อร่วมกนั ปรกึ ษาหารือใน กลุ่มเกี่ยวกับการดำเนนิ การจัดโครงการใหต้ รงกบั ความต้องการของชุมชน การประชาสมั พนั ธโ์ ครงการฯ ครู กศน.ตำบล ไดด้ ำเนินการประชาสมั พนั ธก์ ารจัดโครงการสรา้ งเครอื ข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตรการ เข้าใจดิจทิ ลั เพ่ือใหป้ ระชาชนทราบข้อมลู การจดั กจิ กรรมดังกล่าวผา่ นผ้นู ำชุมชน ประชมุ เตรียมการ / วางแผน 1) ประชมุ ปรกึ ษาหารือผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง 2) เขียนโครงการ วางแผนมอบหมายงานใหฝ้ ่ายต่างๆ เตรียมดำเนนิ การ 3) มอบหมายหนา้ ท่ี แต่งตงั้ คณะทำงาน การรบั สมัครผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ ครู กศน.ตำบล ได้รับสมัครผเู้ ข้ารว่ มโครงการสรา้ งเครอื ข่ายดจิ ิทลั ชมุ ชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทัล โดยให้ ประชาชนทัว่ ไปท่ีอาศัยอยู่ในพน้ื ทีต่ ำบลหนา้ พระธาตุ เข้าร่วม เปา้ หมายจำนวน 15 คน การกำหนดสถานทแ่ี ละระยะเวลาดำเนินการ ครู กศน.ตำบล ได้กำหนดสถานทใ่ี นการจดั อบรมคือ กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ หมู่ท่ี 3 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี ระหวา่ งวันท่ี 16-17 กรกฎาคม 2563 จำนวน 2 วนั เวลา 08.30-16.30 น.
23 2. ขั้นดำเนินงาน กลุม่ เปา้ หมาย กลุม่ เป้าหมายของโครงการสร้างเครอื ขา่ ยดจิ ทิ ัลชุมชนหลักสตู รการเข้าใจดิจิทัล -ประชาชนตำบลหนา้ พระธาตุ จำนวน 15 คน สถานท่ีดำเนินงาน ครู กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ จัดกจิ กรรมโครงการสร้างเครือขา่ ยดิจิทัลชุมชนหลกั สูตรการเขา้ ใจดจิ ทิ ลั โดยจดั กจิ กรรมอบรมให้ความรู้ เวลา 08.30-16.30 น. ณ กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ หมู่ท่ี 3 ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี การขออนมุ ัตแิ ผนการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพือ่ พัฒนาพนื้ ที่ภาคตะวนั ออก กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ ไดด้ ำเนนิ การขออนุมตั แิ ผนการจดั กจิ กรรม โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชมุ ชน หลักสตู รการเขา้ ใจดิจิทลั ตอ่ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดชลบุรี เพ่ือให้ต้นสังกดั อนมุ ัติแผนการจดั กิจกรรมโครงการสรา้ ง เครอื ข่ายดจิ ทิ ัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจดจิ ิทัล การจดั ทำเคร่ืองมอื การวัดความพงึ พอใจของผู้รว่ มกิจกรรม เคร่ืองมือที่ใช้ในการติดตามประเมินผลโครงการ ได้แก่ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ขน้ั ดำเนินการ / ปฏิบตั ิ 1. เสนอโครงการเพือ่ ขอความเห็นชอบ/อนุมัติจากต้นสงั กัด 2. วางแผนการจัดกจิ กรรมในโครงการสรา้ งเครือข่ายดิจิทัลชมุ ชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทัล โดยกำหนดตารางกจิ กรรมที่กำหนดการ 3. มอบหมายงานใหแ้ กผ่ ู้รับผิดชอบฝ่ายตา่ งๆ 4. แตง่ ตั้งคณะกรมการดำเนนิ งาน 5. ประชาสมั พนั ธ์โครงการสร้างเครอื ข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจดจิ ิทัล 6. จัดกจิ กรรมโครงการสรา้ งเครือขา่ ยดิจิทลั ชมุ ชนหลักสตู รการเขา้ ใจดิจิทัล ตามตารางกิจกรรมที่ กำหนดการ 7. ติดตามและประเมินผลโครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ทิ ัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจดจิ ิทลั 3. การประเมนิ ผล วิเคราะห์ข้อมลู 1. บนั ทึกผลการสังเกตจากผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม 2. วเิ คราะหผ์ ลจากการประเมินในแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 3. รายงานผลการปฏิบัติงานรวบรวมสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านของโครงการนำเสนอตอ่ ผูบ้ ริหารนำปัญหา ขอ้ บกพร่องไปแก้ไขครง้ั ตอ่ ไป
24 คา่ สถติ ทิ ีใ่ ช้ การวเิ คราะห์ข้อมูล ใช้คา่ สถติ ิร้อยละในการประมวลผลข้อมูลสว่ นตัวและตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ ของโครงการ ตามแบบสอบถามคิดเป็นรายขอ้ โดยแปลความหมายค่าสถติ ริ อ้ ยละออกมาได้ดังนี้ คา่ สถติ ริ ้อยละ 90 ข้ึนไป ดมี าก คา่ สถิติรอ้ ยละ 75 – 89.99 ดี คา่ สถติ ริ ้อยละ 60 – 74.99 พอใช้ คา่ สถิติร้อยละ 50 – 59.99 ปรับปรุง คา่ สถิตริ ้อยละ 0 – 49.99 ปรับปรงุ เรง่ ด่วน สว่ นการวิเคราะหข์ ้อมลู จากแบบสอบถามความคิดเห็นรายขอ้ ซ่งึ มลี กั ษณะเปน็ คา่ น้ำหนักคะแนน และ นำมาเปรยี บเทียบ ได้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี เกณฑ์การประเมนิ (X) คา่ น้ำหนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคุณภาพ คือ ดีมาก ค่าน้ำหนกั คะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี คา่ น้ำหนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คุณภาพ คอื พอใช้ ค่านำ้ หนกั คะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคุณภาพ คือ ต้องปรับปรุง คา่ นำ้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คุณภาพ คือ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน
25 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตอนที่ 1 รายงานผลการจดั กิจกรรมโครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยดิจิทลั ชมุ ชนหลักสตู รการเขา้ ใจดจิ ทิ ัล การจดั กิจกรรมโครงการสรา้ งเครือข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลกั สูตรการเข้าใจดิจิทัล สรปุ รายงานผลการจัดกจิ กรรมได้ ดังนี้ ในการจัดกิจกรรมอบรมให้ความร้ตู ามโครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจดิจิทลั เป็น การอบรมให้ความรู้ โดยมี นางสาวพจนยี ์ ประทุมทอง เป็นวิทยากรในการบรรยายให้ความรู้ เร่ือง การพฒั นาเศรษฐกิจ ดจิ ทิ ัลหลกั สตู รการเขา้ ใจดิจิทัล ประชาชนควรรู้หลงั จากเสรจ็ สิ้นกจิ กรรมดังกลา่ วแลว้ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม มคี วามรู้ ความ เขา้ ใจการเขา้ ใจดจิ ิทลั และนำความรูท้ ่ีได้รับมาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ตอนท่ี 2 รายงานผลความพึงพอใจของโครงการสร้างเครอื ขา่ ยดิจิทัลชุมชนหลักสตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั การจดั กจิ กรรมโครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทลั ชมุ ชนหลกั สตู รการเข้าใจดจิ ิทลั ซ่งึ สรุปรายงานผลจากแบบสอบถาม ความคดิ เหน็ ข้อมูลท่ีไดส้ ามารถวิเคราะหแ์ ละแสดงคา่ สถิติ ดงั น้ี ตารางท่ี 1 ผู้เข้ารว่ มโครงการที่ตอบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามเพศ รายละเอียด เพศ หญิง ชาย 15 93.75 จำนวน (คน) 1 รอ้ ยละ 6.25 จากตารางท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการสรา้ งเครือขา่ ยดิจิทัลชุมชนหลกั สูตรการเข้าใจ ดจิ ทิ ลั เป็นเพศชาย จำนวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.33 และเปน็ เพศหญงิ จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.67 ตารางที่ 2 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามอายุ รายละเอียด อายุ (ปี) อายุ 15-29 30 - 39 40 - 49 50-59 60 ขน้ึ ไป 8 2 จำนวน (คน) - 1 5 50 12.50 ร้อยละ - 6.25 31.25 จากตารางท่ี 2 พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทัลชุมชนหลักสตู รการเข้าใจ ดิจิทลั มีอายุ 15-29 ปี จำนวน 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
ตารางที่ 3 ผ้เู ข้าร่วมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามได้นำมาจำแนกตามอาชพี 26 รายละเอียด เกษตรกรรม รบั จ้าง อาชีพ ค้าขาย อ่ืนๆ รบั ราชการ/รฐั วิสาหกจิ - 4 - 25 จำนวน (คน) - 12 - ร้อยละ - 75 - จากตารางท่ี 3 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมโครงการสร้างเครอื ขา่ ยดจิ ิทัลชมุ ชนหลักสูตรการเขา้ ใจ ดิจิทัล มีอาชีพอน่ื ๆ จำนวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 ตารางท่ี 4 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน้ ำมาจำแนกตามระดบั การศึกษา รายละเอียด ระดบั การศึกษา การศึกษา ประถม ม.ต้น ม.ปลาย/ปวช. ปวส./ป.ตรีข้นึ ไป - จำนวน (คน) 3 6 7 - ร้อยละ 18.75 37.50 43.75 จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายดจิ ิทัลชุมชนหลกั สูตรการเขา้ ใจ ดจิ ทิ ลั มีระดับประถม จำนวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 60.00 และมรี ะดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.00 ตารางท่ี 5 แสดงคา่ รอ้ ยละเฉลยี่ ความสำเร็จของตวั ชี้วดั ผลผลิต ประชาชนทั่วไปเขา้ ร่วมโครงการจำนวน 15 คน ผลสำเร็จของโครงการ เปา้ หมาย(คน) ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ(คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15 16 100 จากตารางท่ี 5 พบวา่ ผลสำเรจ็ ของตวั ชี้วดั ผลผลติ กจิ กรรมโครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ทิ ัลชุมชนหลกั สตู รการเขา้ ใจ ดจิ ิทลั มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ซง่ึ บรรลุเปา้ หมายด้านตัวชว้ี ัด ผลผลิต
27 ตารางท่ี 6 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีมีความพงึ พอใจต่อโครงการสรา้ ง เครือข่ายดิจทิ ลั ชมุ ชนหลักสูตรการเขา้ ใจดจิ ิทลั ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความพึงพอใจ ด้านบรหิ ารจดั การ () () ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.41 0.57 ดี ดา้ นประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 4.49 0.50 ดี รวมทกุ ด้าน 4.50 0.51 ดมี าก 4.47 0.53 ดี จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท่มี ีความพึงพอใจต่อโครงการสรา้ งเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลกั สตู รการ เข้าใจดจิ ิทลั ในภาพรวมอย่ใู นระดบั ดมี าก (=4.47) เม่ือพจิ ารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ อยใู่ นระดับ ดีมาก มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) รองลงมาคอื ดา้ นการบรหิ ารจัดการ อยใู่ นระดบั ดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.49) และด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ มอี ยู่ในระดับดี มคี ่าเฉลยี่ (= 4.41) ตามลำดบั โดยมสี ว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน () อยรู่ ะหว่าง 0.50 - 0.57 แสดงวา่ ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจสอดคล้องกัน ตารางที่ 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการสร้าง เครอื ขา่ ยดิจทิ ัลชมุ ชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทลั ดา้ นบริหารจัดการ รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ระดบั ความพึงพอใจ 1. อาคารสถานที่ () มาตรฐาน () 2. สิง่ อำนวยความสะดวก 4.56 0.50 ดี 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 4.44 0.50 ดี 4. เอกสารการอบรม 4.00 0.61 ดี 5. วทิ ยากรผู้ให้การอบรม 4.50 0.50 ดี 4.56 0.50 ดี รวม 4.41 0.52 ดี จากตารางท่ี 7 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจต่อโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตร การเข้าใจดิจิทัล ด้านบริหารจัดการ ในภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (= 4.41) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า วิทยากรผู้ให้การอบรม มีค่าเฉล่ีย (= 4.56) อาคารสถานท่ี มีค่าเฉล่ีย (= 4.56) เอกสารการอบรม มีค่าเฉลี่ย (= 4.50) สิง่ อำนวยความสะดวก มคี ่าเฉล่ยี (= 4.44) และกำหนดการและระยะเวลาในการดำเนินโครงการ มีคา่ เฉลี่ย (= 4.00) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.50 - 0.61 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความ คิดเหน็ ไปในทิศทางเดียวกนั
28 ตารางท่ี 8 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมที่มีความพึงพอใจต่อโครงการสรา้ ง เครือข่ายดจิ ิทลั ชมุ ชนหลักสตู รการเข้าใจดิจิทลั ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ รายการ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบน ระดับ () มาตรฐาน () ความพงึ พอใจ 6. การจัดกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทลั ชุมชน หลักสูตรการเขา้ ใจดิจิทัล 4.63 0.48 ดี 7. การให้ความรูเ้ รื่องการเขา้ ใจดิจทิ ัล 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 4.56 0.50 ดี 4.50 0.50 ดี 9. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของผเู้ ขา้ รบั การอบรม 10. การสรปุ องค์ความรู้ร่วมกัน 4.44 0.50 ดี 11. การวดั ผล ประเมินผล การฝกึ อบรม 4.38 0.48 ดี 4.31 0.46 ดี รวม 4.47 0.49 ดี จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตร การเข้าใจดิจทิ ัล ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลย่ี (= 4.47) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า การจัดกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตรการเข้าใจดิจิทัล มีค่าเฉลี่ย (= 4.63) การให้ความรู้ เร่ืองการเข้าใจดิจิทัล มีค่าเฉล่ีย (= 4.56) การตอบข้อซักถามของวิทยากร มีค่าเฉล่ีย (= 4.50) การแลกเปล่ียน เรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม มีค่าเฉลี่ย ( = 4.44) การสรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีค่าเฉล่ีย (= 4.38) การวัดผล ประเมินผล การฝึกอบรม มีค่าเฉล่ีย (=4.31) ตามลำดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.46 - 0.50 แสดงวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมคี วามคิดเหน็ สอดคลอ้ งกัน ตารางที่ 9 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมที่มีความพึงพอใจตอ่ โครงการสร้าง เครอื ข่ายดิจทิ ลั ชุมชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทัล ด้านประโยชน์ท่ีไดร้ บั รายการ คา่ เฉล่ยี สว่ นเบยี่ งเบน ระดับความ () มาตรฐาน () พงึ พอใจ 12. ได้เรยี นรแู้ ละฝึกตนเอง เกยี่ วกบั การเข้าใจดจิ ิทลั 13. นำความรทู้ ไี่ ดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั 4.63 0.48 ดมี าก รวม 4.50 0.50 ดีมาก 4.57 0.49 ดมี าก
29 จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนหลักสูตรการ เข้าใจดิจิทัล ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉล่ีย (= 4.57) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ได้สร้างเครอื ข่ายชุมชนการเข้าใจดิจทิ ัล มีค่าเฉล่ีย (= 4.63) รองลงมา คือ ได้เรียนรูแ้ ละฝึกตนเอง เกี่ยวกับการเข้าใจ ดจิ ิทลั มีค่าเฉล่ยี (= 4.50) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน () อยู่ระหว่าง 0.48 - 0.50 แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามมี ความคดิ เห็นไปในทิศทางเดยี วกนั สรุปในภาพรวมของกิจกรรมคิดเปน็ รอ้ ยละ 89.66 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.48 ถือวา่ ผู้รับบริการ มคี วามพงึ พอใจทางด้านตา่ งๆ อยูใ่ นระดับดีมาก โดยเรียงลำดบั ดังน้ี อนั ดับแรก ดา้ นดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั คิดเปน็ ร้อยละ 91.33 มีคา่ น้ำหนักคะแนน 4.57 อย่ใู นระดับคุณภาพ ดมี าก อนั ดับสอง ดา้ นบริหารจดั การ คดิ เปน็ ร้อยละ 89.33 มีค่านำ้ หนักคะแนน 4.50 อยู่ในระดบั คุณภาพดีมาก อนั ดบั สาม ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 88.27 มีค่าน้ำหนกั คะแนน 4.45 อยใู่ นระดบั คุณภาพดี
บทท่ี 5 30 อภปิ รายและข้อเสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรมโครงการสรา้ งเครือขา่ ยดิจทิ ลั ชุมชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ทิ ัล ไดผ้ ลสรปุ ดังน้ี วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเรอื่ งดิจิทัล 2. เพ่ือให้ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม สามารถนำความร้ทู ไี่ ด้รบั ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวันได้ เปา้ หมาย (Outputs) เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ - ประชาชนตำบลหน้าพระธาตุ จำนวน 16 คน เป้าหมายเชิงคุณภาพ - ประชาชนตำบลหน้าพระธาตุ มีความรู้ ความเขา้ ใจเรื่องดิจิทลั และนำความรู้ทีไ่ ด้รบั มาปรบั ใชใ้ น ชวี ิตประจำวนั เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู ในคร้งั น้ี คือ แบบประเมินความพึงพอใจ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ไดม้ อบหมายให้ ครู กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ ที่รับผดิ ชอบกิจกรรมแจกแบบสอบถาม ความพึงพอใจใหก้ ับผูร้ ่วมกจิ กรรม โดยให้ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมประเมินผลการจดั กจิ กรรมต่างๆ ตามโครงการสรา้ งเครือข่าย ดจิ ทิ ลั ชุมชนหลกั สตู รการเข้าใจดจิ ิทัล สรปุ ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตาม โครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ทิ ัลชมุ ชนหลกั สูตรการเข้าใจ ดิจทิ ลั โดยดำเนนิ การเสร็จสิ้นลงแล้วและสรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานได้ดังน้ี 1. ผรู้ ่วมกจิ กรรมจำนวน 16 คน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจกฎหมายทเี่ กี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน และนำความรทู้ ่ีไดร้ บั มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวนั 2. ผ้รู ว่ มกจิ กรรมร้อยละ 91.33 นำความร้ทู ี่ได้รบั มาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั 3. จากการดำเนนิ กิจกรรมตามโครงการดังกล่าว สรปุ โดยภาพรวมพบว่า ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจตอ่ โครงการ อยู่ในระดับ “ดีมาก” และบรรลคุ วามสำเรจ็ ตามเปา้ หมายตวั ช้ีวัดผลลพั ธท์ ต่ี ้งั ไว้ โดยมีค่าเฉลี่ยร้อยละ ภาพรวมของกจิ กรรม 89.66 และคา่ การบรรลุเปา้ หมายคา่ เฉลี่ย 4.48 ขอ้ เสนอแนะ - อยากใหม้ ีการจดั กิจกรรมอีก จะไดน้ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชีวติ ตอ่ ไป
บรรณานกุ รม ทม่ี า กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญส่ง นิลแกว้ (2535 หนา้ 22-25) กระทรวงศึกษาธกิ าร . (2543). http://www.itday.in.th/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%97% E0%B9%82%E0%B8%9F%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0 %E0%B9%84%E0%B8%A3- %E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A5/ พงศเ์ พชร อินทร์เพชร. (ม.ป.ป.). “โทรศพั ท์มือถือ” ภยั ใกล้ตวั ทีไ่ ม่ควรมองข้าม http://www.stou.ac.th/study/sumrit/7-53(500)/page1-7-53(500).html ฤทธิชยั เจรญิ ผอ่ ง.(ม.ป.ป.). พัฒนาการโทรศัพท์มือถอื กอ่ นจะเป็นสมารท์ โฟน http://y34.wikidot.com/it-report01-050 http://www.digithun.com/smartphone-change-ur-life/
แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการสร้างเครอื ข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลกั สตู รการเขา้ ใจดิจทิ ลั กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี คำชีแ้ จง 1. แบบสอบถามฉบบั น้ีมวี ตั ถุประสงค์ เพื่อใชใ้ นการสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ทิ ลั ชุมชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ทิ ลั 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ถามข้อมลู เก่ียวกับผตู้ อบแบบสอบถามจำนวน 4 ขอ้ ให้ทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องใหต้ รงกบั สภาพจริง ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจตอ่ โครงการสร้างเครือข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลกั สตู รการเข้าใจดจิ ิทัล จำนวน 13 ข้อ ซ่งึ มรี ะดับความ พึงพอใจ 5 ระดับ ดังน้ี 5 มากท่สี ดุ หมายถงึ มีความพึงพอใจมากท่ีสดุ 4 มาก หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก 3 ปานกลางหมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง 2 นอ้ ย หมายถึง มีความพงึ พอใจน้อย 1 น้อยที่สุด หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ยท่สี ดุ ตอนท่ี 3 ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะต่อโครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ิทลั ชมุ ชนหลักสตู รการเข้าใจดจิ ิทัล ตอนท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม หญิง 40 ปี – 49 ปี เพศ 30 ปี – 39 ปี ชาย 60 ปขี ้นึ ไป อายุ 15 ปี – 29 ปี 50 ปี – 59 ปี การศึกษา ต่ำกว่า ป.4 ป.4 ประถม ม.ต้น ม.ปลาย ประกอบอาชีพ อนุปรญิ ญา ปริญญาตรี สูงกวา่ ปริญญาตรี รับจ้าง ค้าขาย เกษตรกร ลกู จา้ ง/ขา้ ราชการหนว่ ยงานภาครัฐหรอื เอกชน อื่น ๆ ………………………………….
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจเกย่ี วกับโครงการสร้างเครือข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลักสตู รการเขา้ ใจดิจิทัล ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั ความคิดเหน็ 1 5 432 ด้านบริหารจดั การ 1. อาคารและสถานท่ี 2. สง่ิ อำนวยความสะดวก 3. กำหนดการและระยะเวลาในการดำเนนิ โครงการ 4. เอกสารการอบรม 5. วิทยากรผใู้ ห้การอบรม ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 6. การจัดกิจกรรมโครงการสร้างเครือข่ายดิจทิ ัลชุมชนหลกั สูตร การเขา้ ใจดิจิทัล 7. การใหค้ วามรเู้ ร่ืองการเขา้ ใจดิจิทลั 8. การตอบข้อซักถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปลี่ยนเรยี นรขู้ องผเู้ ข้ารบั การอบรม 10. การสรุปองคค์ วามรรู้ ว่ มกัน 11. การวัดผล ประเมนิ ผล การฝกึ อบรม ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ 12 ได้เรียนรแู้ ละฝึกตนเอง เก่ยี วกบั การเขา้ ใจดจิ ิทลั 13 นำความรทู้ ไี่ ดร้ ับมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ ข้อคดิ เห็น .............................................................................................................................................................................. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ขอบขอบคณุ ท่ใี หค้ วามร่วมมอื กศน. อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี
คณะผู้จดั ทำ ทปี่ รกึ ษา หมน่ื สา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม การงานดี ครู 1. นางณัชธกัญ ศรีเทพ บรรณารักษ์ปฏิบตั ิการ 2. นางสาวมุทกิ า อุดานนท์ ครู อาสาสมัคร กศน. 3. นางปล้ืมจิตร 4. นายวัชรินทร์ ประทุมทอง ครู กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ คณะทำงาน ประทุมทอง ครู กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ นางสาวพจนีย์ บรรณาธกิ าร นางสาวพจนยี ์
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: