เคมี เลม่ 2 บทท่ี 6 | ปริมาณสมั พนั ธ์ 187 3. เมอ่ื น�ำ สารตวั อยา่ งหนิ ปนู (CaCO3) 1.00 กโิ ลกรมั มาเผาจะเกดิ การสลายตวั อยา่ งสมบรู ณ ์ ไดแ้ ก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ทม่ี ีมวลเท่ากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ท่เี กดิ จากการเผาไหม้ แกส๊ โพรเพน (C3H8) 120 กรมั อยา่ งสมบรู ณ์ รอ้ ยละโดยมวลของแคลเซยี มคารบ์ อเนตใน สารตวั อยา่ งมคี า่ เทา่ ใด สมการเคมขี องปฏกิ ริ ยิ าทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน็ ดงั น้ี (สมการเคมยี งั ไมด่ ลุ ) CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) C3H8(g) + O2(g) CO2(g) + H2O(g) ขน้ั ท่ี 1 หามวลของ CO2 จากการเผาไหม้ C3H8 ดลุ สมการเคมี C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O(g) มวลของ CO2 = 120 g C3H8 × 1 mol C3H8 × 1 mol CO2 × 44.01 g CO2 44.11 g C3H8 1 mol C3H8 1 mol CO2 = 359 g CO2 ดงั นน้ั แกส๊ โพรเพน 120 กรมั เผาไหมอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ เกดิ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ 359 กรมั ขน้ั ท่ี 2 หามวลของหนิ ปนู ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ CO2 359 g ดลุ สมการเคมี CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) มวลของ CaCO3 = 359 g CO2 × 1 mol CO2 × 1 mol CaCO3 × 100.09 g CaCO3 44.01 g CO2 1 mol CO2 1 mol CaCO3 = 816 g CaCO3 ดงั นน้ั แคลเซยี มคารบ์ อเนตทส่ี ลายตวั มมี วล 816 กรมั สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 6 | ปริมาณสมั พนั ธ์ เคมี เล่ม 2 188 ขน้ั ท่ี 3 หารอ้ ยละโดยมวลของ CaCO3 ในสารตวั อยา่ ง 1.00 kg รอ้ ยละโดยมวลของ CaCO3 = 816 g C a C O 3 × 100 1000 g ของตวั อยา่ ง = 81.6 ดงั นน้ั รอ้ ยละโดยมวลของแคลเซยี มคารบ์ อเนตในสารตวั อยา่ งเทา่ กบั 81.6 4. ในการเผาไหมน้ �ำ้ มนั เบนซนิ (C9H20) ทผ่ี สมกบั เอทานอล (C2H6O) ในอตั ราสว่ น 91 : 9 โดยปริมาตร จำ�นวน 1.00 ลิตร เม่ือกำ�หนดให้ ความหนาแน่นของนำ้�มันเบนซินและ เอทานอลเทา่ กบั 0.68 และ 0.79 กรมั ตอ่ มลิ ลลิ ติ ร ตามล�ำ ดบั สมการเคมขี องปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหมเ้ ปน็ ดงั น้ี (สมการเคมยี งั ไมด่ ลุ ) C9H20(l) + O2(g) CO2(g) + H2O(g) C2H6O(l) + O2(g) CO2(g) + H2O(g) การทจ่ี ะเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหมอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ ตอ้ งใชแ้ กส๊ ออกซเิ จนกล่ี ติ ร ท่ี STP ดลุ สมการเคมไี ดด้ งั น้ี C9H20(l) + 14O2(g) 9CO2(g) + 10H2O(g) C2H6O(l) + 3O2(g) 2CO2(g) + 3H2O(g) น�ำ้ มนั เบนซนิ ผสมกบั เอทานอลในอตั ราสว่ น 91 : 9 โดยปรมิ าตร นน่ั คอื น�ำ้ มนั ปรมิ าตร 1.00 L มี C9H20 910.0 mL และ C2H6O 90.0 mL ปรมิ าตรของ O2 ทใ่ี ชใ้ นการเผาไหม้ C9H20 ท่ี STP = 910.0 mL C9H20 × 0.68 g C9H20 × 1 mol C9H20 × 14 mol O2 1 mL C9H20 128.29 g C9H20 1 mol C9H20 × 22.4 L O2 1 mol O2 = 1.51 × 103 L O2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เคมี เล่ม 2 บทที่ 6 | ปริมาณสัมพันธ์ 189 ปรมิ าตรของ O2ทใ่ี ชใ้ นการเผาไหม้ C2H6O ท่ี STP = 90.0 mL C2H6O × 0.79 g C2H6O × 1 mol C2H6O × 3 mol O2 × 22.4 L O2 1 mL C2H6O 46.08 g C2H6O 1 mol C2H6O 1 mol O2 = 1.04 × 102 L O2 หรอื 0.104 × 103 L O2 ปรมิ าตรแกส๊ ออกซเิ จนทใ่ี ชท้ ่ี STP = (1.51 + 0.104) × 103 L = 1.61 × 103 L ดงั นน้ั ใชแ้ กส๊ ออกซเิ จนในปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม้ 1.61 × 103 ลติ ร ท่ี STP 5. การถลงุ โลหะทองแดงจากแรค่ าลไพไรต์ (CuFeS2) ตอ้ งผา่ นกระบวนการหลายขน้ั ตอนดงั น้ี 2CuFeS2(s) + 4O2(g) Cu2S(s) + 2FeO(s) + 3SO2(g) …..(1) 2Cu2S(s) + 3O2(g) 2Cu2O(s) + 2SO2(g) ..…(2) 2Cu2O(s) + Cu2S(s) 6Cu(s) + SO2(g) …..(3) ถา้ ถลงุ แรค่ าลไพไรต์ 15.0 กโิ ลกรมั แลว้ ไดโ้ ลหะทองแดง 4.80 × 103 กรมั ปฏกิ ริ ยิ าเคมี นม้ี ผี ลไดร้ อ้ ยละเปน็ เทา่ ใด สมการ (2) + (3); 3Cu2S(s) + 3O2(g) 6Cu(s) + 3SO2(g) …..(4) รวมสมการ (1) และ (4) โดยคณู สมการ (1) ดว้ ย 3 6CuFeS2(s) + 12O2(g) 3Cu2S(s) + 6FeO(s) + 9SO2(g) .....(5) สมการ (4) + (5); 6CuFeS2(s) + 15O2(g) 6Cu(s) + 6FeO(s) + 12SO2(g) หรอื 2CuFeS2(s) + 5O2(g) 2Cu(s) + 2FeO(s) + 4SO2(g) มวล Cu = 15.0 kg CuFeS2 × 1000 g CuFeS2 × 1 mol CuFeS2 × 2 mol Cu 1 kg CuFeS2 183.52 g CuFeS2 2 mol CuFeS2 63.55 g Cu × 1 mol Cu สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
บทท่ี 6 | ปรมิ าณสมั พนั ธ์ เคมี เล่ม 2 190 = 5.19 × 103 g Cu น่ันคือ ถ้าถลุงแร่คาลไพไรต์ 15.0 กิโลกรัม ตามทฤษฎีจะได้โลหะทองแดง 5.19 × 103 กรมั 4.80 × 103 g ผลไดร้ อ้ ยละ = × 100 = 92.5 5.19 × 103 g ดงั นน้ั ผลไดร้ อ้ ยละของปฏกิ ริ ยิ าเคมนี เ้ี ทา่ กบั 92.5 สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เคมี เลม่ 2 ภาคผนวก 191 ภาคผนวก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เลม่ 2 192 ตัวอยา่ งเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที นี่ ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมท้ังข้อดีและข้อจำ�กัดของ แบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เปน็ ดงั นี้ 1) แบบทดสอบแบบที่มีตัวเลือก แบบทดสอบแบบทม่ี ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจับคู่ รายละเอยี ดของแบบทดสอบแต่ละแบบเป็นดังนี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เปน็ แบบทดสอบทมี่ กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถี่ กู เพยี งหนงึ่ ตวั เลอื ก องคป์ ระกอบหลกั ของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 ส่วน คือ ค�ำ ถามและตัวเลอื ก แต่บางกรณอี าจ มีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดยี่ ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชัน้ โครงสร้างดังตวั อยา่ ง แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถามเด่ียวทีไ่ มม่ ีสถานการณ์ ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เลม่ 2 ภาคผนวก 193 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเดย่ี วทีม่ สี ถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเป็นชุด สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามท่ี 2 …………………………………………………………….................. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เล่ม 2 194 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถาม 2 ช้ัน สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบคำ�ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอ้ื หา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ได้ นอกจากนี้นกั เรยี นที่ไมม่ คี วามร้สู ามารถเดาคำ�ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรือผิด เปน็ แบบทดสอบทม่ี ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาวา่ ถกู หรือผิด ดังตัวอย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เลม่ 2 ภาคผนวก 195 แบบทดสอบแบบถูกหรือผิด ค�ำ สง่ั ใหพ้ จิ ารณาว่าขอ้ ความตอ่ ไปนถี้ ูกหรือผิด แลว้ ใส่เครอ่ื งหมาย หรอื หน้า ข้อความ ………… 1. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบนี้สามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเน้ือหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณใ์ นบางเน้ือทำ�ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นที่เป็นค�ำ ส่งั และขอ้ ความ 2 ชุด ท่ใี ห้จบั ค่กู ัน โดยข้อความชดุ ที่ 1 อาจเปน็ ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกวา่ ในชดุ ท่ี 1 ดังตัวอย่าง แบบทดสอบแบบจับคู่ คำ�สั่ง ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ คำ�ถาม ชดุ คำ�ถาม ชุดคำ�ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เลม่ 2 196 แบบทดสอบรูปแบบน้ีสร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีที่นักเรียน จบั คผู่ ดิ ไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ กี ารจับคผู่ ิดในคอู่ ื่น ๆ ด้วย 2) แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบที่ให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างส้ัน และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแต่ละแบบเปน็ ดังน้ี 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเตมิ ค�ำ หรอื ตอบอยา่ งสนั้ ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความท่ีไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพื่อให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสนั้ ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแี้ บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามท่ีให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สิ่งทีก่ ำ�หนดค�ำ ตอบใหม้ คี วามถูกต้องและเหมาะสม แบบทดสอบรปู แบบนี้สร้างไดง้ ่าย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉยั ค�ำ ตอบท่ีนกั เรียน ตอบผิดเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางครั้งมี ค�ำ ตอบถกู ตอ้ งหรอื ยอมรับได้หลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบทต่ี ้องการใหน้ ักเรยี นสรา้ งคำ�ตอบอยา่ งอิสระ ประกอบดว้ ยสถานการณ์และ ค�ำ ถามทสี่ อดคล้องกนั โดยคำ�ถามเป็นคำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เล่ม 2 ภาคผนวก 197 แบบประเมินทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยที่แสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบัตไิ ด้เปน็ อยา่ งดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมที่ส�ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครอ่ื งมือทใี่ ช้ประเมนิ ดังตวั อยา่ ง ตัวอยา่ งแบบส�ำ รวจรายการทกั ษะปฏบิ ัติการทดลอง ผลการส�ำ รวจ รายการท่ีต้องส�ำ รวจ มี ไมม่ ี (ระบจุ �ำ นวนคร้ัง) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขัน้ ตอน การสังเกตการทดลอง การบันทกึ ผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เล่ม 2 198 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทักษะปฏิบัติ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เคร่อื งมือในการทดลอง เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไม่เหมาะสมกับงาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ต้องตามหลักการ ตอ้ ง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏิบัติ แต่ไม่ หลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคล่ว การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ กำ�หนด แ ล ะ ข้ั น ต อ น ที่ แ ล ะ ข้ั น ต อ น ท่ี แ ล ะ ข้ั น ต อ น ที่ กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรบั ปรุงแกไ้ ขบา้ ง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แก้ไขเป็นระยะ ข้ันตอนที่กำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แก้ไข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เล่ม 2 ภาคผนวก 199 ตวั อย่างแบบประเมินทกั ษะปฏบิ ตั ิการทดลองท่ใี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทกั ษะทป่ี ระเมนิ ผลการประเมนิ ระดบั 2 ระดับ 3 ระดบั 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ข้นั ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกตอ่ การใช้งาน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถว้ นสมบูรณ์ ตวั อย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ� ดับข้ันตอนไม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไมส่ ่ือความหมาย สื่อความหมาย แบบประเมินคุณลักษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยทั่วไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทปี่ รากฏให้เห็นในลักษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏบิ ัตหิ รอื พฤติกรรมบง่ ชี้ ทสี่ ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สงิ่ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครือ่ งมือทใ่ี ชป้ ระเมนิ คุณลักษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ ดงั ตวั อย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เล่ม 2 200 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ คุณลกั ษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ ค�ำ ช้ีแจง จงทำ�เครื่องหมาย ลงในช่องว่างท่ีตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจำ�แนก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังน้ี มาก หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหล่าน้นั อยา่ งสมำ่�เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นน้ั เปน็ ครั้งคราว น้อย หมายถึง นักเรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านน้ั น้อยคร้ัง ไมม่ กี ารแสดงออก หมายถึง นักเรยี นไม่แสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นัน้ เลย ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ กี าร ด้านความอยากรูอ้ ยากเห็น กลาง แสดงออก 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพ่ิมเติม เมื่อเกิดความสงสัยใน เร่ืองราววิทยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นชอบไปงานนิทรรศการ วิทยาศาสตร์ 3. นกั เรยี นนำ�การทดลองทส่ี นใจไป ทดลองตอ่ ที่บ้าน ด้านความซ่อื สตั ย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามท่ี ทดลองได้จรงิ 2. เมอื่ ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพือ่ ส่งครู 3. เม่อื ครูมอบหมายใหท้ ำ�ชิน้ งาน ออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ นักเรยี นจะ ประดษิ ฐ์ตามแบบที่ปรากฏอยู่ใน หนงั สือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เลม่ 2 ภาคผนวก 201 ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไม่มกี าร ดา้ นความใจกวา้ ง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรุปของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพอื่ นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลที่ดีกว่า นักเรียนพร้อมที่ จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พ่ื อ น ไ ป ปรับปรงุ งานของตน 3. เม่ืองานท่ีนักเรียนต้ังใจและทุ่มเททำ� ถูกตำ�หนิหรือโต้แย้ง นักเรียนจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสรจ็ ส้ินการทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซ้ำ� ๆ ก่อนที่จะ สรปุ ผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อุปกรณ์กอ่ นท�ำ การทดลอง ดา้ นความมงุ่ ม่นั อดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอ่ื ผล การทดลองทไี่ ดข้ ดั จากทเ่ี คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองที่นักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นักเรยี นกเ็ ปล่ียนไปศึกษาชุดการ ทดลองที่ใชเ้ วลาน้อยกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เลม่ 2 202 ระดับพฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ กี าร เจตคติที่ดตี อ่ วิทยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใชแ้ ก้ปญั หาในชวี ติ ประจ�ำ วันอยู่เสมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ท่ี เกยี่ วข้องกับวิทยาศาสตร์ วิธกี ารตรวจให้คะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑ์โดยกำ�หนดน�ำ้ หนักของตวั เลือกในช่องตา่ ง ๆ เป็น 4 3 2 1 ข้อความท่มี ี ความหมายเปน็ ทางบวก กำ�หนดให้คะแนนแต่ละข้อความดังนี้ ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 ส่วนของข้อความท่ีมีความหมายเป็นทางลบการกำ�หนดให้คะแนนในแต่ละข้อความจะมีลักษณะ เป็นตรงกันข้าม การประเมินการนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังราย ละเอียดตอ่ ไปนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เล่ม 2 ภาคผนวก 203 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลกั ทส่ี �ำ คญั ๆ เชน่ การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนอ้ื หา ความรแู้ ละการประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการ เขียนโดยใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนแบบภาพรวม ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้ ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมนิ ความถกู ต้องของเนื้อหาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรงุ เนื้อหาถกู ต้องแต่ใหส้ าระส�ำ คัญนอ้ ยมาก และไมร่ ะบแุ หล่งท่ีมาของความรู้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คญั แตย่ งั ไมค่ รบถว้ น มกี ารระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ พอใช้ เน้อื หาถูกต้อง มสี าระส�ำ คัญครบถ้วน และระบแุ หล่งทีม่ าของความรชู้ ดั เจน ดี ดีมาก ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมินสมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเชื่อมโยง ตอ้ งปรบั ปรงุ เน้ือหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� ไม่ถกู ตอ้ ง ไม่อ้างองิ แหลง่ ท่มี าของความรู้ ขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เน้ือหาถูกต้องแต่มี พอใช้ รายละเอยี ดไม่เพียงพอ เนือ้ หาบางตอนไม่สมั พันธ์กนั การเรยี บเรยี บเนอ้ื หา ไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง อ้างอิงแหล่งทมี่ าของความรู้ เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ดี ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเรื่อง บอกความสำ�คัญและท่ีมา ดีมาก ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญทั้งหมด เรียบเรียงเน้ือหาได้ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตัวอยา่ ง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหล่งท่ีมาของความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคผนวก เคมี เล่ม 2 204 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ตอ้ งการน�ำ ผลการประเมนิ ไปใช้ พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เกณฑ์ ยอ่ ย ๆ ในการประเมินเพื่อทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน ในส่วนนนั้ ๆ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย มีตวั อย่างดังนี้ตัวอยา่ งเกณฑ์การประ เมนสมรรถภาพ (แบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย) รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดา้ นการวางแผน ต้องปรบั ปรุง ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการ พอใช้ เรยี นรู้ ดี ดมี าก ออกแบบการไดต้ ามประเดน็ สำ�คัญของปญั หาเป็นบางส่วน ตอ้ งปรบั ปรุง ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน พอใช้ ดี ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนทชี่ ดั เจน ดีมาก และตรงตามจุดประสงคท์ ต่ี อ้ งการ ดา้ นการดำ�เนนิ การ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบถูกต้องแต่ไม่ คล่องแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอ่ื ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานทุกข้นั ตอนเป็นไปตามจดุ ประสงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เล่ม 2 ภาคผนวก 205 รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ด้านการอธิบาย ต้องปรบั ปรงุ อธิบายไมถ่ ูกตอ้ ง ขัดแยง้ กบั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ ดี อธิบายโดยอาศัยแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธิบายเป็นแบบ ดมี าก พรรณนาทัว่ ไปซึ่งไมค่ �ำ นึงถงึ การเช่อื มโยงกบั ปญั หาท�ำ ให้เขา้ ใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ จุดประสงค์ ใช้ภาษาไดถ้ ูกต้องเขา้ ใจง่าย สอ่ื ความหมายได้ชัดเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บรรณานุกรม เคมี เล่ม 2 206 บรรณานุกรม สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559). คู่มือครู รายวิชาเพ่มิ เติม เคมี เลม่ 2 (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559). หนังสือเรยี น รายวชิ าเพิ่มเตมิ เคมี เลม่ 2 (พิมพค์ ร้ังที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. Averill, B., & Eldredge, P. (2007). Chemistry: Principles, Patterns, and A pplications. San Francisco : Benjamin Cummings. Brown, L.S., & Holme, T. A. (2006). Chemistry for Engineering Students. California: Thomas-Brooks/Cole. Chang, R. (2010). Chemistry. 10th ed. New York: The McGraw-Hill. Davis, R.E. & other. (2009). Modern Chemistry Teacher’s Edition. Texas: Holt, Rinehart and Winston. International Union of Pure and Applied Chemistry. (2016). Periodic Table of Elements. Retrieved June 15, 2016, from https://iupac.org/what-we-d o/periodic-table-of-elements/. Jenkins, F. & other. (2002). Chemistry 11. Ontario: Nelson Thomson Learning. Kessel, H.V. & other. (2003). Chemistry 12. Ontario: Nelson Thomson Learning. Laurel, D. & other. (2005). Glencoe Science Chemistry : Matter and Change (Teacher Wraparound Edition). Ohio: McGraw-Hill. Myers, R.T. & Oldham, K.B. & Tocci, S. (2000). Chemistry: Visualizing Matter, Technology Edition. Texas: Holt, Rinehart and Winston. Ryan, L. & Norris, R. (2014). Cambridge International AS and A Level Chemistry Coursebook 2nd ed. Cambridge: Cambridge University Press. Silberberg, M.S. (2009). Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change. 5th ed. New York: McGraw-Hill. Wieser, M. E. & Berglund, M. (2009). Atomic weights of the elements 2007 (IUPAC technical report). Pure and Applied Chemistry, 81 (11), 2131-2156. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เคมี เล่ม 2 คณะกรรมการจดั ทำ�คูม่ ือครู 207 คณะกรรมการจดั ทำ�คูม่ ือครู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคมี เลม่ 2 ตามผลการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 คณะทีป่ รึกษา ผูอ้ ำ�นวยการ 1. ดร.พรพรรณ ไวทยางกรู สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. รศ.ดร.สัญญา มติ รเอม รองผอู้ ำ�นวยการ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ดิ์ ผชู้ ว่ ยผู้อ�ำ นวยการ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผู้จดั ทำ�คู่มือครู รายวชิ าเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคม ี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 เลม่ 2 1. ศ.ดร.มงคล สขุ วฒั นาสินทิ ธ์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2. ผศ.ดร.จินดา แตม้ บรรจง ผูช้ �ำ นาญ 3. นายณรงคศ์ ลิ ป์ ธูปพนม สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. นางสาวศศนิ ี อังกานนท์ 5. นางสทุ ธาทพิ ย์ หวังอำ�นวยพร ผเู้ ช่ียวชาญพเิ ศษอาวุโส 6. นางสาวศิรริ ตั น์ พรกิ สี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7. ดร.สนธิ พลชยั ยา 8. นายชาญณรงค์ พลู เพม่ิ ผู้ชำ�นาญ 9. นางสาวณฏั ฐิกา งามกจิ ภญิ โญ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวชิ าการ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะกรรมการจดั ทำ�คู่มือครู เคมี เล่ม 2 208 คณะผูร้ ว่ มพิจารณาคู่มือครู รายวิชาเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เล่ม 2 (ฉบับร่าง) 1. นางสมศรี เซยี๊ กสาด นกั วิชาการอิสระ 2. นายโสภณ พวงพนั ธบ์ ตุ ร โรงเรียนศรอี ยธุ ยาในพระอปุ ถมั ภฯ์ กรงุ เทพมหานคร 3. นางสาวมาลี จริ ธนวทิ ย์ โรงเรียนธนบรุ วี รเทพีพลารักษ์ กรุงเทพมหานคร 4. นายจิรพงษ์ สรอ้ ยน้อย โรงเรยี นหอวงั กรงุ เทพมหานคร 5. นางสาวเมธว์ ดี กาญจนสรวง โรงเรียนสตรวี ดั อปั สรสวรรค์ กรุงเทพมหานคร 6. นายสชุ ากรณ์ พวงทอง โรงเรยี นปากเกรด็ จ.นนทบุรี 7. นางลัดดาวรรณ เหลา่ เกียรตกิ ุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นนทบุรี จ.นนทบรุ ี 8. นางศุภลกั ษณ์ ขุนสังวาลย์ โรงเรยี นสงวนหญิง จ.สพุ รรณบุรี คณะบรรณาธิการ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 1. ศ.ดร.มงคล สขุ วัฒนาสินทิ ธ์ิ 2. รศ.ดร.วัลภา เอ้อื งไมตรีภิรมย ์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 3. รศ.ดร.อภิชาติ อมิ่ ยิ้ม 4. นายณรงคศ์ ิลป์ ธปู พนม จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 5. ผศ.ดร.จินดา แตม้ บรรจง ผเู้ ชี่ยวชาญพิเศษอาวุโส สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นางสาวศศนิ ี อังกานนทิ์ ผชู้ �ำ นาญ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย 7. นางสุทธาทพิ ย์ หวงั อำ�นวยพร ผูช้ �ำ นาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ผ้ชู �ำ นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบนั สง� เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ� ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223