Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือครู ม.5 เล่ม 3

คู่มือครู ม.5 เล่ม 3

Published by Arisa Sisawat, 2019-12-23 22:52:06

Description: คู่มือครู ม.5 เล่ม 3

Search

Read the Text Version

เคมี เล่ม 3 บทที่ 9 | สมดลุ เคมี 187 3. ปฏิกิริยา A(g) + B(g) 2C(g) ท่ี 27 องศาเซลเซียส มีค่าคงท่ีสมดุลของปฏิกิริยา เท่ากบั 196 บรรจุแกส๊ A ในภาชนะขนาด 7.0 ลิตร ความดัน 5.63 บรรยากาศ และบรรจุ แก๊ส B ในภาชนะขนาด 3.0 ลิตร ความดนั 13.14 บรรยากาศ ดังรูป 5.63 13.14 เมื่อเปิดวาล์วให้แก๊สทั้งสองทำ�ปฏิกิริยากันที่ 27 องศาเซลเซียส ที่สมดุล แก๊ส C มคี วามดันกบ่ี รรยากาศ คำ�นวณความเข้มขน้ ของ A ที่เรม่ิ ต้น PV = nRT PV n = RT (5.63 atm)(7.0 L) = (0.0821 L • atm • mol-1 • K-1 )(300 K) = 1.6 mol เมือ่ เร่มิ เปิดวาล์วปริมาตรของแก๊สเพ่ิมเปน็ 10.0 L ดงั นัน้ ความเข้มขน้ ของ A เมือ่ เริม่ เปิดวาล์ว = 1.6 mol = 0.16 mol/L 10.0 L สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 9 | สมดลุ เคมี เคมี เลม่ 3 188 คำ�นวณความเขม้ ขน้ ของ B ท่ีเร่ิมต้น n = PV RT (13.14 atm)(3.0 L) = (0.0821 L • atm • mol-1 • K-1 )(300 K) = 1.6 mol เมื่อเรมิ่ เปิดวาลว์ ปรมิ าตรของแกส๊ เพ่มิ เปน็ 10.0 L ดงั นัน้ ความเข้มข้นของ B เม่อื เรม่ิ เปิดวาล์ว = 1.6 mol = 0.16 mol/L 10.0 L คำ�นวณความเขม้ ข้นของ C ทส่ี มดุล กำ�หนดให้ Δ[A] = -x mol/L ดังน้ัน Δ[B] = -x mol/L และ Δ[C] = +2x mol/L ซ่ึง น�ำ ไปคำ�นวณความเข้มขน้ ทีส่ มดลุ ไดด้ งั ตาราง ความเข้มข้น A(g) + B(g) 2C(g) (mol/L) 0.16 0.16 0 เรม่ิ ตน้ เปลย่ี นไป -x -x +2x สมดลุ 0.16 – x 0.16 – x 2x K = [C]2 [A][B] (2x)2 196 = (0.16 – x)(0.16 – x) 2x (0.16 – x) = 14 2x = 14(0.16 – x) 2x + 14x = 2.24 16x = 2.24 x = 0.14 น่นั คือ [C] = 2(0.14 mol/L) = 0.28 mol/L สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 3 บทที่ 9 | สมดุลเคมี 189 ค�ำ นวณความดันของแก๊ส C ที่สมดุล PV = nRT P = n RT เมอ่ื Vn = ความเข้มข้น V = (0.28 mol/L)(0.0821 L • atm • mol-1 • K-1)(300 K) = 6.9 atm ดงั นนั้ ทสี่ มดุลแก๊ส C มีความดนั 6.9 บรรยากาศ 4. ปฏิกิรยิ าระหว่างกรดแอซีตกิ (CH3CO2H) และเอทานอล (CH3CH2OH) ได้เอทิลแอซเี ตต (CH3CO2CH2CH3) และนำ้� ดงั สมการเคมี CH3CO2H(l) + CH3CH2OH(l) CH3CO2CH2CH3(l) + H2O(l) เน่ืองจากสารแต่ละชนิดละลายเป็นเน้ือเดียวกัน และสารทุกชนิดมีการเปล่ียนแปลง ความเขม้ ขน้ จนเขา้ สสู่ มดลุ จงึ เขยี นคา่ คงทส่ี มดลุ ไดด้ งั น้ี K = [CH3CO2CH2CH3][H2O] = 4 [CH3CO2H][CH3CH2OH] ถ า้ ทส่ี มดลุ ตอ้ งการใหม้ เี อทลิ แอซเี ตต 4 โมล ตอ้ งใชก้ รดแอซตี กิ และเอทานอลอยา่ งละกโ่ี มล กำ�หนดให้กรดแอซีติกและเอทานอลท่ีสมดุลมีความเข้มข้นเท่ากัน และปริมาตรของ ของผสมคงท่ี ท่ีสมดุลมี CH3CO2CH2CH3 4 mol ดังน้ันจึงเกิด H2O 4 mol ด้วย กำ�หนดให้ใช้ CH3CO2H และ CH3CH2OH อยา่ งละ x mol น�ำ มาค�ำ นวณ x ไดด้ งั น้ี K = [CH3CO2CH2CH3][H2O] [CH3CO2H][CH3CH2OH] 4 × 4 4 = V V เมอ่ื V คอื ปรมิ าตรของสารละลายทงั้ หมด x x V × V x = 2 นนั่ คือ ที่สมดลุ มี CH3CO2H และ CH3CH2OH อย่างละ 2 โมล สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 9 | สมดลุ เคมี เคมี เลม่ 3 190 จำ�นวนโมลเร่ิมต้นของ CH3CO2H และ CH3CH2OH เท่ากับผลรวมของจำ�นวนโมลของ สารทีส่ มดลุ กับจ�ำ นวนโมลของสารทีเ่ ปล่ยี นไป ความสัมพันธ์แสดงดังตาราง จำ�นวน CH3CO2H(l) + CH3CH2OH(l) CH3CO2CH2CH3(l) + H2O(l) โมล (mol) สมดลุ 2 2 44 เปลย่ี นไป -4 -4 +4 +4 เรม่ิ ตน้ 2+4=6 2+4=6 0 0 ดังนั้น ถ้าท่ีสมดุลต้องการเอทิลแอซีเตต 4 โมล จะต้องใช้กรดแอซีติกและเอทานอล อย่างละ 6 โมล 5. เม่ือบรรจุแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ความดัน 1.00 บรรยากาศ ปฏิกริ ยิ าเคมที เ่ี กิดขนึ้ แสดงดังสมการเคมี SO2(g) + NO2(g) SO3(g) + NO(g) พบว่าที่สมดุลแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มีความดันเท่ากับ 0.65 บรรยากาศ คา่ คงท่สี มดุลของปฏกิ ริ ยิ านม้ี คี ่าเท่าใด จาก PV = nRT n = P เมือ่ n = ความเข้มข้น V RT V นำ�ไปค�ำ นวณความเขม้ ขน้ ของสารตา่ ง ๆ ท่สี มดลุ ดังน้ี สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 3 บทท่ี 9 | สมดลุ เคมี 191 ความเข้มข้น SO2(g) + NO2(g) SO3(g) + NO(g) (mol/L) 0 0 เรม่ิ ตน้ 1.00 1.00 RT RT +0R.6T5 +0R.6T5 เปลย่ี นไป - 0.65 - 0.65 RT RT (1.00 – 0.65) (1.00 – 0.65) 0.65 0.65 RT RT RT สมดลุ RT = 0.35 = 0.35 RT RT ค�ำ นวนคา่ คงที่สมดลุ ดงั นี้ K = [SO3][NO] [SO2][NO2] 0.65 × 0.65 = RT RT 0.35 × 0.35 RT RT = 3.4 ดังน้ัน คา่ คงที่สมดุลของปฏกิ ริ ยิ ามีค่าเท่ากบั 3.4 6. ป ฏิกิริยา A(aq) B(aq) + C(aq) ที่อุณหภูมิหนึ่ง มีค่าคงท่ีสมดุลเท่ากับ 0.80 และ พบว่าที่สมดุลมี A 0.20 โมลตอ่ ลติ ร เมอื่ มีการรบกวนสมดุลโดยการเพิ่มความเขม้ ขน้ ของ A อีก 0.20 โมลต่อลิตร ความเข้มข้นของ B ที่สมดุลใหม่มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า เม่ือ รบกวนสมดุลโดยการลดความเขม้ ข้นของ C ลง 0.20 โมลตอ่ ลติ ร ค�ำ นวณความเข้มข้นของ B และ C ท่สี มดุลเดิม กำ�หนดให้ [B] และ [C] = x mol/L K [B][C] = [A] 0 .80 = (x) (x) (0.20) x = 0.40 ดงั นน้ั ที่สมดุล B และ C มคี วามเขม้ ข้น 0.40 โมลต่อลิตร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 9 | สมดลุ เคมี เคมี เลม่ 3 192 ค�ำ นวณความเข้มขน้ ของ B เมื่อเพม่ิ ความเข้มขน้ ของ A เมอื่ รบกวนสมดุลโดยการเพ่มิ ความเข้มข้นของ A ระบบจะปรบั ตัวไปในทศิ ทางทล่ี ด A จึง กำ�หนดให้ Δ[A] = -x mol/L ดงั นน้ั Δ[B] = Δ[C] = +x mol/L ซ่งึ น�ำ ไปค�ำ นวณความเข้มข้น ทสี่ มดุลไดด้ งั ตาราง ความเข้มข้น A(aq) B(aq) + C(aq) (mol/L) สมดลุ เดมิ 0.20 0.40 0.40 เพม่ิ A 0.40 0.40 0.40 เปลย่ี นแปลง -x +x +x สมดลุ ใหม่ 0.40 – x 0.40 + x 0.40 + x K = [B][C] [A] 0.80 = (0.40 + x) (0.40 + x) (0.40 – x) x2 + 1.6x – 0.16 = 0 x = -1.7 หรือ 0.094 เนื่องจากค่า x เท่ากับ -1.7 แสดงว่าความเข้มข้นของ A ท่ีเปลี่ยนแปลงมีค่ามากกว่า ความเข้มข้นเรม่ิ ต้น ซึ่งเปน็ ไปไม่ได้ ดังนั้น x จงึ มคี ่าเทา่ กับ 0.094 นนั่ คอื ท่ีสมดลุ ใหมม่ ี [B] = 0.40 mol/L + 0.094 mol/L = 0.49 mol/L ค�ำ นวณความเข้มข้นของ B เมื่อลดความเข้มข้นของ C เมื่อรบกวนสมดุลโดยการลดความเขม้ ข้นของ C ระบบจะปรับตัวไปในทิศทางท่เี พิม่ C จงึ ก�ำ หนดให้ Δ[C] = +x mol/L ดงั นนั้ Δ[A] = -x mol/L และ Δ[B] = +x mol/L ซง่ึ น�ำ ไปค�ำ นวณ ความเขม้ ข้นที่สมดลุ ได้ดังตาราง สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 3 บทที่ 9 | สมดลุ เคมี 193 ความเข้มข้น A(aq) B(aq) + C(aq) (mol/L) 0.20 0.40 0.40 สมดลุ เดมิ ลด C 0.20 0.40 0.20 เปลย่ี นแปลง -x +x +x สมดลุ ใหม่ 0.20 – x 0.40 + x 0.20 + x K = [B][C] [A] 0.80 = (0.40 + x) (0.20 + x) (0.20 – x) x2 + 1.4x – 0.08 = 0 x = 0.055 หรือ -1.5 เน่ืองจากค่า x เท่ากับ -1.5 แสดงว่าความเข้มข้นของ A ที่เปลี่ยนแปลงมีค่ามากกว่า ความเข้มข้นเริม่ ต้น ซงึ่ เป็นไปไม่ได้ ดงั นัน้ x จึงคา่ เทา่ กบั 0.055 นน่ั คอื ท่สี มดลุ ใหม่ม ี [B] = 0.40 mol/L + 0.055 mol/L = 0.46 mol/L ดังนน้ั ความเขม้ ข้นของ B ท่สี มดุลใหม่ เมอ่ื เพม่ิ ความเขม้ ข้นของ A อีก 0.20 โมลตอ่ ลติ ร มีค่ามากกวา่ เมอ่ื ลดความเข้มข้นของ C ลง 0.20 โมลตอ่ ลิตร 7. ในอุตสาหกรรมมีการใช้ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทน (CH4) กับไอน้ำ� (H2O) ในการผลิต แกส๊ ไฮโดรเจน (H2) ดังสมการเคมี CH4(g) + H2O(g) + พลงั งาน CO(g) + 3H2(g) ก ารปรับเปล่ียนภาวะในการทำ�ปฏิกิริยาต่อไปน้ี จะมีผลต่อปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนท่ี สมดลุ อยา่ งไร 7.1 เพ่ิมความดัน เมอื่ เพม่ิ ความดนั ระบบจะปรบั ตวั เพอื่ ลดความดนั โดยเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ายอ้ นกลบั เนอ่ื งจาก ผลรวมของเลขสัมประสิทธ์ิของแก๊สท่ีเป็นผลิตภัณฑ์มากกว่าของสารตั้งต้น จึงทำ�ให้ ปริมาณของแกส๊ H2 ท่ีสมดุลลดลง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 9 | สมดุลเคมี เคมี เล่ม 3 194 7.2 เพม่ิ อุณหภูมิ ป ฏิกิรยิ านีเ้ ปน็ ปฏกิ ริ ิยาดูดพลังงาน เม่อื เพิ่มอณุ หภูมิ ระบบจะปรบั ตวั ไปทางปฏิกิรยิ า ไปข้างหนา้ ท�ำ ให้ H2 ทส่ี มดลุ เพ่ิมขึน้ 7.3 เติมตัวเรง่ ปฏกิ ิริยา การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาทำ�ให้ระบบเข้าสู่สมดุลเร็วข้ึน แต่ไม่มีผลต่อปริมาณของสาร ต่าง ๆ ในระบบที่สมดลุ ดังน้นั ทสี่ มดุลจะไดป้ ริมาณแกส๊ H2 เท่าเดิม แต่ได้ H2 เรว็ ข้ึน 8. ป ฏิกิริยาการสังเคราะห์แอมโมเนียดังสมการเคมี N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) เม่ือ มีการรบกวนระบบท่ีอยู่ในสมดุลโดยการเติมแก๊สไนโตรเจน ดังรูป จงเขียนกราฟแสดง การเปลย่ี นแปลงความเขม้ ขน้ ของแกส๊ ไฮโดรเจนและแก๊สแอมโมเนีย การเตมิ แกส๊ N2 ลงในระบบ เปน็ การเพมิ่ ความเขม้ ขน้ ของ N2 ระบบจะปรบั ตวั ไปในทศิ ทาง ทล่ี ดความเขม้ ขน้ ของ N2 โดยเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไปขา้ งหนา้ ท�ำ ใหค้ วามเขม้ ขน้ ของ H2 ลดลง และ NH3 เพิ่มข้นึ จนกระทั่งระบบเขา้ สู่สมดลุ ความเข้มข้นของสารจึงคงท่ี สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 3 บทที่ 9 | สมดลุ เคมี 195 9. ปฏกิ ริ ิยา H2(g) + l2(g) 2HI(g) คา่ คงทส่ี มดลุ ไม ม่ สี ี สมี ว่ ง ไมม่ ีสี 160 คา่ คงทส่ี มดุลทอี่ ณุ หภูมิตา่ ง ๆ เปน็ ดังนี้ 54 อณุ หภูมิ (K) 500 700 สีของแก๊สผสมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะเหตุใด เม่ือมีการรบกวนระบบด้วยวิธี ตอ่ ไปน้ี 9.1 เพ่มิ อณุ หภูมิใหแ้ กร่ ะบบ แก๊สมีสีม่วงเข้มข้ึน เนื่องจากเม่ืออุณหภูมิสูงขึ้นค่าคงท่ีสมดุลมีค่าลดลง แสดงว่า ปฏกิ ริ ยิ านเี้ ปน็ ปฏกิ ริ ยิ าคายพลงั งาน ดงั นนั้ เมอ่ื เพม่ิ อณุ หภมู ใิ หแ้ กร่ ะบบ ระบบจะปรบั ตวั โดยเกดิ ปฏิกริ ยิ าย้อนกลบั เพิ่มขน้ึ ท�ำ ให้เกดิ I2 ซึง่ มีสมี ว่ งเพ่ิมขน้ึ 9.2 เพม่ิ ความดนั ไมเ่ ปลยี่ นแปลง เนอ่ื งจากผลรวมของเลขสมั ประสทิ ธใ์ิ นสมการเคมขี องสารตงั้ ตน้ และ ผลติ ภณั ฑท์ มี่ ีสถานะแกส๊ มคี า่ เท่ากนั การเพิม่ ความดันจงึ ไม่มีผลตอ่ สมดลุ 10. ป ฏกิ ริ ิยาเคมรี ะหวา่ งแกส๊ X2 และแกส๊ Y2 เขยี นสมการเคมไี ด้ดังน้ี X2(g) + Y2(g) 2XY(g) ΔE = +250 kJ/mol จงเปรียบเทียบคา่ คงที่สมดลุ ของการทดลองต่อไปนี้ พร้อมอธิบายเหตผุ ล ก ารทดลองท่ี 1 ทอ่ี ณุ หภมู ิ 300 เคลวนิ ผสม X2 และ Y2 อยา่ งละ 1.0 โมล ในภาชนะปดิ 2 ลติ ร ก ารทดลองท่ี 2 ทีอ่ ุณหภมู ิ 300 เคลวนิ ผสม X2 และ Y2 อย่างละ 2.0 โมล ในภาชนะปิด 2 ลติ ร การทดลองท่ี 3 ท่ีอุณหภูมิ 700 เคลวิน ผสม X2 และ Y2 อยา่ งละ 1.0 โมล ในภาชนะปิด 2 ลิตร การทดลองที่ 1 และ 2 มีค่าคงท่ีสมดุลเท่ากัน เนื่องจากทำ�การทดลองที่อุณหภูมิ เดยี วกนั สว่ นการทดลองที่ 3 มคี า่ คงทสี่ มดลุ มากกวา่ การทดลองที่ 2 และ 1 เนอ่ื งจากเปน็ ปฏิกริ ิยาดูดพลงั งาน เม่อื เพ่ิมอณุ หภมู ิ ค่าคงท่ีสมดลุ จะเพิ่มขึน้ ดงั น้ัน K = K < Kการทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2 การทดลองท่ี 3 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 9 | สมดลุ เคมี เคมี เล่ม 3 196 11. ป ฏกิ ริ ยิ า A(g) 2B(g) ในภาชนะปดิ ปรมิ าตร 1.0 ลติ ร มกี ราฟแสดงความสมั พนั ธ์ ระหว่างความเข้มข้นของสารกับเวลาดังรูป โดยท่ีเวลา 15 วินาที ทำ�การลดอุณหภูมิ แลว้ ปลอ่ ยใหร้ ะบบเขา้ สสู่ มดลุ อกี ครง้ั 11.1 คา่ คงท่สี มดุลกอ่ นและหลงั เวลา 15 วนิ าที มีคา่ เทา่ ใด [B]2 จากสมการเคมี A(g) 2B(g) จะได้วา่ K = [A] ค ่าคงที่สมดลุ ก่อนเวลา 15 วินาที = (4.0)2 = 16 1.0 ค า่ คงท่สี มดลุ หลงั เวลา 15 วนิ าที = (3.0)2 = 6.0 1.5 ดงั น้ัน คา่ ทส่ี มดุลกอ่ นและหลงั เวลา 15 วินาที มีคา่ เท่ากบั 16 และ 6.0 ตามล�ำ ดับ 11.2 ปฏิกริ ิยานเ้ี ป็นปฏิกิริยาดูดพลงั งานหรอื คายพลงั งาน เพราะเหตุใด ปฏิกิริยาน้ีเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน เน่ืองจากเมื่อลดอุณหภูมิแล้ว ค่าคงท่ีสมดุลมี คา่ ลดลง 12. ป ฏิกิริยาระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และแก๊สคลอรีน (Cl2) ได้แก๊สฟอสจีน (COCl2) เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าคายพลงั งาน เขยี นสมการเคมไี ดด้ งั น้ี CO(g) + Cl2(g) COCl2(g) + พลงั งาน ท่ีสมดุล เม่ือรบกวนระบบท่ีเวลา A B และ C จะได้กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ความเขม้ ขน้ ของสารกบั เวลาดงั น้ี สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 3 บทท่ี 9 | สมดลุ เคมี 197 12.1 ทเี่ วลา A B และ C มีการรบกวนระบบอย่างไร ทีเ่ วลา A รบกวนระบบโดยการลดปริมาตรของภาชนะหรือเพิ่มความดัน สังเกตได้ จากความเขม้ ขน้ ของสารทกุ ชนิดเพิม่ ขึ้นเท่า ๆ กัน ท่เี วลา B ร บกวนระบบดว้ ยการเพมิ่ ความเข้มข้นของ Cl2 สงั เกตไดจ้ ากความเขม้ ขน้ ของ Cl2 เพมิ่ ข้ึนทนั ที แล้วคอ่ ย ๆ ลดลงเม่อื ปรบั เขา้ ส่สู มดลุ ทเี่ วลา C ร บกวนระบบดว้ ยการลดอณุ หภมู ิ สงั เกตไดจ้ ากความเขม้ ขน้ ของสารตงั้ ตน้ คอ่ ย ๆ ลดลงในขณะท่ผี ลิตภัณฑ์ค่อย ๆ เพมิ่ ข้ึน ซ่งึ สอดคล้องกับการปรบั สมดุลของปฏิกิริยาคายพลังงาน 12.2 การรบกวนระบบทชี่ ่วงเวลาใดทำ�ให้คา่ คงทส่ี มดุลมีการเปล่ียนแปลง เพราะเหตใุ ด การรบกวนระบบท่ีเวลา C จะทำ�ให้ค่าคงท่ีสมดุลมีการเปล่ียนแปลง เน่ืองจาก เป็นการเปล่ียนอณุ หภมู ิ ส่วนการรบกวนระบบที่เวลาอื่น ๆ คา่ คงท่สี มดลุ มคี า่ เท่าเดมิ 13. ยูเรีย (NH2CONH2) เป็นสารสำ�คัญท่ีใช้ในการผลิตปุ๋ย ซ่ึงผลิตได้จากแก๊สแอมโมเนีย (NH3) และแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ดงั สมการเคมี 2NH3(g) + CO2(g) NH2CONH2(s) + H2O(g) + 135.7 kJ ก ระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมใช้อัตราส่วน NH3 : CO2 เท่ากับ 3:1 ทำ�ปฏิกิริยาที่ ความดันสูงและอุณหภูมิ 190 องศาเซลเซียส และกำ�จัดไอนำ้�ท่ีเกิดข้ึนด้วยตัวดูดซับ เหลือเพยี งยูเรยี ซึ่งเปน็ ของแขง็ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 9 | สมดลุ เคมี เคมี เลม่ 3 198 13.1 เพราะเหตุใดจึงท�ำ ปฏกิ ิริยาท่ีความดนั สงู เนอื่ งจากผลรวมของเลขสมั ประสทิ ธใ์ิ นสมการเคมขี องสารตงั้ ตน้ ทมี่ สี ถานะแกส๊ มคี า่ มากกว่าผลิตภัณฑ์ เม่ือทำ�ปฏิกิริยาที่ความดันสูง ระบบจะปรับตัวไปทางปฏิกิริยา ไปข้างหนา้ ท�ำ ใหม้ ียูเรยี เพิม่ ขน้ึ 13.2 เพราะเหตใุ ดจึงใช้ NH3 : CO2 ด้วยอตั ราส่วน 3:1 แทนทีจ่ ะใชเ้ ทา่ กับ 2:1 ใช้ NH3 และ CO2 ดว้ ยอตั ราสว่ น 3:1 เปน็ การใช้ NH3 ปรมิ าณมากเกนิ พอหรอื เปน็ การ เพิ่มปรมิ าณ NH3 ทำ�ให้ระบบปรบั ตัวไปทางปฏกิ ิรยิ าไปข้างหนา้ จึงมียเู รียเพมิ่ ขน้ึ 13.3 ตัวดูดซบั ไอน้ำ�มปี ระโยชน์ตอ่ กระบวนการผลติ ยเู รียอย่างไร ตวั ดดู ซบั ไอน�้ำ ใชเ้ พอ่ื ก�ำ จดั ไอน�ำ้ ซงึ่ เปน็ การลดปรมิ าณผลติ ภณั ฑ์ ท�ำ ใหร้ ะบบปรบั ตวั ไปทางปฏิกิรยิ าไปข้างหนา้ จงึ ไดย้ ูเรียเพมิ่ ขน้ึ 13.4 ถ้าทำ�ปฏิกิริยาเคมีท่ีอุณหภูมิต่ำ�หรือสูงกว่า 190 องศาเซลเซียส จะมีผลต่อ ปฏกิ ริ ยิ าอย่างไร ปฏกิ ริ ยิ านเี้ ปน็ ปฏกิ ริ ยิ าคายพลงั งาน ถา้ ท�ำ ปฏกิ ริ ยิ าทอี่ ณุ หภมู ติ �ำ่ กวา่ 190°C จะท�ำ ให้ ระบบปรับตัวไปทางปฏิกิริยาไปข้างหน้า จึงได้ยูเรียเพ่ิมข้ึน แต่อัตราการเกิด ปฏิกิริยาเคมีจะลดลง แต่ถ้าทำ�ปฏิกิริยาท่ีอุณหภูมิสูงกว่า 190°C จะทำ�ให้ระบบ ปรับตัวไปทางปฏิกิริยาย้อนกลับ จึงได้ยูเรียลดลง แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะ เพม่ิ ขึน้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เคมี เล่ม 3 บทท่ี 9 | สมดลุ เคมี 199 14. ลากเสน้ จากจดุ START โดยพจิ ารณาขอ้ ความทอ่ี ยใู่ นกรอบ ถา้ ขอ้ ความถกู ตอ้ งใหล้ ากไป ทางลูกศรท่ีมีเคร่ืองหมาย ถ้าข้อความไม่ถูกต้องให้ลากไปทางลูกศรท่ีมีเคร่ืองหมาย จนเสน้ ทล่ี ากไปถงึ จดุ FINISH สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

บทที่ 9 | สมดลุ เคมี เคมี เลม่ 3 200 แนวคิด 1. 2. คา่ คงทสี่ มดลุ ค�ำ นวณจากความเขม้ ขน้ ของสารทส่ี มดลุ จงึ ไมไ่ ดบ้ อกขอ้ มลู เกย่ี วกบั อตั รา การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีกอ่ นเขา้ สสู่ มดุล 3. 4. จากสมการเคมี MgCl2(s) Mg2+(aq) + 2Cl-(aq) MgCl2 เปน็ ของแขง็ จึงไม่น�ำ มาคำ�นวณค่าคงทสี่ มดุล ดงั นนั้ K = [Mg2+][Cl-]2 5. การเติมแก๊สเฉอ่ื ยไมม่ ผี ลต่อความเข้มขน้ ของแกส๊ ทอ่ี ย่ใู นสมดลุ 6. ท่ีสมดุล อัตราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าไปขา้ งหนา้ เทา่ กบั ปฏิกริ ยิ าย้อนกลับ แต่ไม่เทา่ กบั ศนู ย์ 7. คา่ คงทส่ี มดุลของปฏกิ ิริยารวมเท่ากับผลคูณของค่าคงทส่ี มดุลของปฏิกริ ยิ ายอ่ ย 8.  9. ท่ีสมดลุ ของปฏกิ ริ ยิ าคายพลงั งาน เมือ่ ลดอุณหภูมิ ค่าคงท่ีสมดลุ จะมคี า่ เพม่ิ ขนึ้ 10. 11. 12. การเพ่มิ หรือลดความเขม้ ข้นของสาร ไม่มผี ลตอ่ ค่าคงท่สี มดุล 13. 14. ที่สมดลุ เม่ือลดสารต้ังตน้ จะเกดิ ปฏิกริ ยิ าย้อนกลับมากข้นึ 15. 16. 17. คา่ คงที่สมดุลมีค่าน้อยกว่า 1 ดังนน้ั ที่สมดลุ จึงมีปริมาณสารต้งั ต้นมากกว่าผลิตภณั ฑ์ 18. 19. จากสมการเคมี CO2(g) + C(s) 2CO(g) [CO]2 = C เป็นของแข็งจงึ ไมน่ ำ�มาค�ำ นวณคา่ คงทีส่ มดลุ ดังนนั้ K [CO2] ลากเสน้ ทางได้ดงั นี้ 1. 2. 3. 4. 8. 9. 15. FINISH 10. 7. 11. 16. 17. 18. 14. 13. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เคมี เลม่ 3 บทท่ี 9 | สมดลุ เคมี 201 สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 202 ภาคผนวก

เคมี เล่ม 3 ภาคผนวก 203 ตวั อยา่ งเคร่ืองมือวัดและประเมินผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที น่ี ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของ แบบทดสอบรปู แบบตา่ ง ๆ เป็นดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลือก แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจบั คู่ รายละเอยี ดของแบบทดสอบแตล่ ะแบบเป็นดงั นี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ เปน็ แบบทดสอบทมี่ กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถ่ี กู เพยี งหนงึ่ ตวั เลอื ก องค์ประกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลอื กตอบมี 2 ส่วน คอื คำ�ถามและตวั เลอื ก แตบ่ างกรณีอาจ มีส่วนของสถานการณ์เพ่ิมข้ึนมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดย่ี ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชน้ั โครงสร้างดังตวั อย่าง แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบค�ำ ถามเด่ียวท่ไี มม่ สี ถานการณ์ ค�ำ ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 204 แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเดี่ยวท่มี ีสถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเป็นชุด สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามที่ 2 …………………………………………………………….................. ตวั เลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................

เคมี เลม่ 3 ภาคผนวก 205 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถาม 2 ชัน้ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 (ถามเหตผุ ลของการตอบค�ำ ถามที่ 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอื้ หา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ได้ นอกจากนน้ี กั เรียนทไ่ี มม่ ีความรู้สามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผิด เปน็ แบบทดสอบทมี่ ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ให้นักเรยี นพจิ ารณาวา่ ถูกหรอื ผิด ดงั ตวั อย่าง

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 206 แบบทดสอบแบบถูกหรือผิด คำ�สัง่ ใหพ้ ิจารณาวา่ ขอ้ ความต่อไปน้ีถูกหรอื ผดิ แล้วใสเ่ คร่อื งหมาย หรอื หน้า ขอ้ ความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบน้ีสามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเนื้อหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เป็นเท็จโดยสมบรู ณใ์ นบางเน้อื ท�ำ ได้ยาก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบด้วยสว่ นท่เี ป็นคำ�สัง่ และข้อความ 2 ชุด ทีใ่ หจ้ ับค่กู นั โดยขอ้ ความชุดที่ 1 อาจเป็น ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ที่ 2 อาจมมี ากกวา่ ในชดุ ที่ 1 ดังตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจับคู่ ค�ำ สงั่ ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ถาม ชดุ คำ�ถาม ชุดคำ�ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. …………………………………

เคมี เล่ม 3 ภาคผนวก 207 แบบทดสอบรูปแบบนี้สร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีที่นักเรียน จับคผู่ ิดไปแล้วจะทำ�ใหม้ ีการจับคู่ผิดในคูอ่ ่นื ๆ ดว้ ย 2) แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบท่ีให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างส้ัน และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบที่มี การตอบแต่ละแบบเป็นดงั นี้ 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเตมิ ค�ำ หรอื ตอบอยา่ งส้ัน ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความที่ไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนที่เว้นไว้เพื่อให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น สง่ิ ทก่ี ำ�หนดค�ำ ตอบให้มคี วามถกู ตอ้ งและเหมาะสม แบบทดสอบรปู แบบนี้สรา้ งได้ง่าย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ จิ ฉัยคำ�ตอบทนี่ กั เรียน ตอบผิดเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเน่ืองจากบางครั้งมี ค�ำ ตอบถูกต้องหรือยอมรับไดห้ ลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขียนตอบแบบอธิบาย เป็นแบบทดสอบท่ตี ้องการให้นักเรยี นสร้างค�ำ ตอบอยา่ งอิสระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคลอ้ งกัน โดยคำ�ถามเปน็ คำ�ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั

ภาคผนวก เคมี เล่ม 3 208 แบบประเมนิ ทกั ษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยที่แสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซง่ึ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นน้ั สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทกั ษะปฏิบตั ิได้เปน็ อยา่ งดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทส่ี �ำ คญั ทใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยท่วั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเคร่อื งมอื ท่ใี ช้ประเมินดังตัวอยา่ ง ตวั อย่างแบบสำ�รวจรายการทักษะปฏิบตั กิ ารทดลอง ผลการสำ�รวจ รายการทต่ี อ้ งสำ�รวจ มี ไม่มี (ระบุจ�ำ นวนครงั้ ) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามข้นั ตอน การสงั เกตการทดลอง การบันทกึ ผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ

เคมี เลม่ 3 ภาคผนวก 209 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทักษะปฏิบตั ิ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เครอื่ งมอื ในการทดลอง เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไม่เหมาะสมกบั งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ตอ้ งตามหลักการ ต้อง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏบิ ัติ แต่ไม่ หลักการปฏบิ ัติ คลอ่ งแคลว่ การทดลองตามแผนที่ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ก�ำ หนด แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ข้ั น ต อ น ท่ี แ ล ะ ข้ั น ต อ น ที่ กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรับปรุงแก้ไขบา้ ง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แก้ไขเป็นระยะ ข้ันตอนที่กำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แก้ไข

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 210 ตวั อย่างแบบประเมินทกั ษะปฏิบตั กิ ารทดลองท่ใี ช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า ทกั ษะทปี่ ระเมนิ ผลการประเมิน ระดบั 2 ระดบั 3 ระดับ 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ขน้ั ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกต่อการใช้งาน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถ้วนสมบรู ณ์ ตวั อย่างแนวทางการให้คะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ไ ม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไมส่ ื่อความหมาย ส่อื ความหมาย แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยท่ัวไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทป่ี รากฏให้เหน็ ในลกั ษณะของคำ�พูด การแสดงความคดิ เห็น การปฏิบัตหิ รอื พฤตกิ รรมบ่งชี้ ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เคร่ืองมือทใ่ี ชป้ ระเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ดงั ตวั อยา่ ง

เคมี เลม่ 3 ภาคผนวก 211 ตวั อยา่ งแบบประเมินคุณลักษณะดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ คำ�ชแ้ี จง จงทำ�เครื่องหมาย ลงในช่องว่างท่ีตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจำ�แนก ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ มาก หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั อยา่ งสมำ่�เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นักเรียนแสดงออกในพฤตกิ รรมเหลา่ นน้ั เป็นครงั้ คราว น้อย หมายถงึ นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหล่าน้ันน้อยคร้งั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถงึ นักเรยี นไม่แสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านัน้ เลย ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ ีการ ดา้ นความอยากรอู้ ยากเหน็ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพ่ิมเติม เม่ือเกิดความสงสัยใน เร่อื งราววิทยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นชอบไปงานนิทรรศการ วิทยาศาสตร์ 3. นกั เรยี นน�ำ การทดลองท่ีสนใจไป ทดลองต่อทีบ่ า้ น ดา้ นความซอ่ื สตั ย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามที่ ทดลองได้จรงิ 2. เมอ่ื ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพอื่ ส่งครู 3. เม่ือครมู อบหมายให้ท�ำ ชิ้นงาน ออกแบบสง่ิ ประดษิ ฐ์ นักเรยี นจะ ประดษิ ฐต์ ามแบบท่ีปรากฏอยใู่ น หนังสอื

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 212 ระดับพฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ ีการ ด้านความใจกว้าง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรุปของสมาชกิ สว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพอ่ื นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลที่ดีกว่า นักเรียนพร้อมท่ี จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พ่ื อ น ไ ป ปรบั ปรุงงานของตน 3. เม่ืองานท่ีนักเรียนต้ังใจและทุ่มเททำ� ถูกตำ�หนิหรือโต้แย้ง นักเรียนจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสร็จส้นิ การทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซำ้� ๆ ก่อนที่จะ สรปุ ผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อปุ กรณ์กอ่ นท�ำ การทดลอง ดา้ นความมงุ่ ม่ันอดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอื่ ผล การทดลองทไ่ี ดข้ ดั จากทเ่ี คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองท่ีนักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นกั เรยี นก็เปล่ียนไปศึกษาชุดการ ทดลองท่ีใช้เวลาน้อยกว่า

เคมี เลม่ 3 ภาคผนวก 213 ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ กี าร เจตคตทิ ่ดี ตี ่อวทิ ยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจำ�วันอยู่เสมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ท่ี เก่ียวข้องกบั วทิ ยาศาสตร์ วิธีการตรวจใหค้ ะแนน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑ์โดยกำ�หนดนำ�้ หนกั ของตัวเลอื กในชอ่ งต่าง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความท่มี ี ความหมายเป็นทางบวก ก�ำ หนดให้คะแนนแตล่ ะข้อความดงั น้ี ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 ส่วนของข้อความที่มีความหมายเป็นทางลบการกำ�หนดให้คะแนนในแต่ละข้อความจะมีลักษณะ เปน็ ตรงกนั ขา้ ม การประเมินการนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอื่น คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังราย ละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 214 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทตี่ อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลกั ทสี่ �ำ คญั ๆ เชน่ การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนอ้ื หา ความรแู้ ละการประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการ เขยี นโดยใชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดังตวั อย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างเกณฑก์ ารประเมินความถูกตอ้ งของเน้ือหาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ เน้ือหาไมถ่ ูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ตอ้ งปรบั ปรุง เนื้อหาถกู ตอ้ งแตใ่ หส้ าระสำ�คัญน้อยมาก และไม่ระบแุ หล่งทีม่ าของความรู้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คญั แตย่ งั ไมค่ รบถว้ น มกี ารระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ พอใช้ เนอ้ื หาถูกต้อง มีสาระสำ�คญั ครบถว้ น และระบุแหลง่ ทีม่ าของความรู้ชัดเจน ดี ดีมาก ตวั อย่างเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพดา้ นการเขยี น (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเชื่อมโยง ต้องปรบั ปรุง เน้ือหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� ไม่ถูกตอ้ ง ไมอ่ ้างองิ แหลง่ ที่มาของความรู้ ขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มี พอใช้ รายละเอยี ดไม่เพยี งพอ เนอื้ หาบางตอนไม่สัมพนั ธก์ นั การเรียบเรยี บเนอื้ หา ไม่ตอ่ เน่ือง ใช้ภาษาถูกตอ้ ง อา้ งอิงแหลง่ ท่ีมาของความรู้ เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ดี ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเรื่อง บอกความสำ�คัญและท่ีมา ดมี าก ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญทั้งหมด เรียบเรียงเนื้อหาได้ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตวั อยา่ ง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งท่ีมาของความรู้

เคมี เลม่ 3 ภาคผนวก 215 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ตอ้ งการน�ำ ผลการประเมนิ ไปใช้ พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เกณฑ์ ยอ่ ย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ทั้งจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน ในสว่ นนน้ั ๆ เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย มตี วั อยา่ งดงั น้ี ตวั อยา่ งเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ดา้ นการวางแผน ต้องปรับปรุง พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทตี่ อ้ งการ ดี เรยี นรู้ ดีมาก ออกแบบการได้ตามประเด็นส�ำ คญั ของปญั หาเป็นบางส่วน ต้องปรบั ปรงุ พอใช้ ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน ดี ดมี าก ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนทชี่ ดั เจน และตรงตามจดุ ประสงค์ทีต่ อ้ งการ ดา้ นการด�ำ เนินการ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคลว่ ดำ�เนินการตามแผนที่วางไว้ ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอื่ ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทันเวลา ผลงานทุกข้นั ตอนเป็นไปตามจดุ ประสงค์

ภาคผนวก เคมี เลม่ 3 216 รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ดา้ นการอธบิ าย ต้องปรบั ปรงุ พอใช้ อธบิ ายไมถ่ ูกตอ้ ง ขัดแย้งกับแนวคดิ หลักทางวิทยาศาสตร์ ดี ดมี าก อธิบายโดยอาศัยแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธิบายเป็นแบบ พรรณนาทว่ั ไปซึง่ ไม่คำ�นงึ ถึงการเชอ่ื มโยงกบั ปัญหาท�ำ ให้เขา้ ใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ จดุ ประสงค์ ใช้ภาษาได้ถกู ต้องเขา้ ใจง่าย สอื่ ความหมายไดช้ ัดเจน

เคมี เล่ม 3 ภาคผนวก 217 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2559). คู่มือครู รายวิชาเพิม่ เติม เคมี เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). คมู่ อื ครู รายวิชาเพิ่มเติม เคมี เลม่ 3 (พิมพค์ รง้ั ที่ 3). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2559). หนงั สอื เรียน รายวิชาเพม่ิ เตมิ เคมี เลม่ 2 (พิมพ์คร้งั ที่ 10). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. กระทรวงศกึ ษาธิการ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2559). หนงั สือเรียน รายวชิ าเพิม่ เติม เคมี เลม่ 3 (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล. (2561) โรคหายใจเกิน สบื ค้นเมอ่ื 11 เมษายน 2561, จาก https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/gener- al/05012014-1359 Averill, B., & Eldredge, P. (2007). Chemistry: Principles, Patterns, and A pplications. San Francisco: Benjamin Cummings. Barke, H. D., Hazari A., & Yitbarek, S. (2009). Misconception in Chemistry: Addressing Perceptions in Chemistry. Berlin: Springer. Brown, L.S. and Holme, T.A. (2006). Chemistry for Engineering Students. California: Thomson Brooks/Cole. Chang, R. (2010). Chemistry (9th ed). New York: The McGraw-Hill. Davis, R.E.; Frey, R.; Sarquis, M. and Sarquis, J.L. (2009). Modern Chemistry. Texas: Holt, Rinehart and Winston. Doc Brown's Chemistry Advanced A Level Notes. (2018). Chemical Equilibrium Notes Index. Retrieved March 15, 2018, from http://www.docbrown.info/page07/equi- libria3.htm Gallagher, R.M. and Ingram, P. (2011). Complete Chemistry for Cambridge IGCSE. (2nd ed). Oxford: Oxford University Press. Kessel, H.V.; Jenkins, F.; Davies, L.; Plumb, D.; Giuseppe, M.d.; Lantz, O. and Tompkins, D. (2003). Nelson Chemistry 12. Ontario: Nelson.

ภาคผนวก เคมี เล่ม 3 218 Mortimer, M. and Taylor, P. (2002). The Molecular World; Chemical Kinetics and Mechanism. (1st ed). Milton Keyns: The Open University. Phillips, J.S.; Strozak, V.S. and Wistrom, C. (2005). Glencoe Science : Chemistry Concept and Applications. Ohio: Glencoe/McGraw-Hill. Royal Society of Chemistry. (2018). Transport of oxygen in blood. R etrieved March 15, 2018, from http://www.rsc.org/Education/Teachers/Resources/cfb/transport.htm Ryan, L., & Norris, R. (2014). Cambridge International AS and A Level Chemistry Coursebook (2nd ed). Cambridge: Cambridge University Press. Saptarini N.M.; Suryasaputra, D. and Nurmalia, H. J. Chem. Pharm. Res., 2015, 7(2), 275 – 280. Science Clarified. (2018). Chemical Equilibrium-Real-life applications. Retrieved March 15, 2018, from http://www.scienceclarified.com/everyday/Real-Life-Chemistry-Vol-2/ Chemical-Equilibrium-Real-life-applications.html Silberberg, M.S. (2009). Chemistry: The Molecular Nature of Matter and C hange. (5th ed). New York: McGraw-Hill. Talbot, C.; Harwood, R. and Coates, C. (2010). Chemistry for the IB Diploma. (1st ed). London: Hodder Education. The Chinese University of Hong Kong. (2015). A Simulation for Teaching Dynamic Equilibrium. Retrieved February 23, 2015, from http://www3.fed.cuhk.edu.hk/chemistry/files/Simulation.pdf The University of North Carolina at Chapel Hill. (2018). Kinetics: Rates of Reaction. Retrieved April 23, 2018, from http://cssac.unc.edu/programs/learning-center/ Resources/Study/Guides/Chemistry%20102/Rates%20of%20Reactions?fbclid=I- wAR3mr2-uf8BixBvgzgipEcTQAZHJiA-_Yl2A3PpbhOZPeELjK7taHLiwxpM

เคมี เลม่ 3 ภาคผนวก 219 คณะกรรมการจัดท�ำ คู่มอื ครู รายวิชาเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตร์ เคมี เลม่ 3 ตามผลการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 คณะทปี่ รกึ ษา ผู้อำ�นวยการสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และ ศ.ดร.ชูกิจ ลิมปจิ �ำ นงค ์ เทคโนโลยี ผชู้ ่วยผ้อู �ำ นวยการสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร ์ ดร.วนดิ า ธนประโยชนศ์ กั ด์ิ และเทคโนโลยี คณะผจู้ ัดทำ�คูม่ อื ครู รายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 เลม่ 3 ศ.ดร.มงคล สุขวัฒนาสนิ ิทธิ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นายณรงคศ์ ิลป ์ ธปู พนม ผเู้ ชย่ี วชาญพเิ ศษอาวโุ ส ผศ.ดร.จนิ ดา แต้มบรรจง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวศศิน ี อังกานนท์ นางกมลวรรณ เกียรติกวนิ กุล ผู้ช�ำ นาญ นางสทุ ธาทพิ ย์ หวังอำ�นวยพร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวศริ ิรัตน ์ พริกสี ผู้ช�ำ นาญ ดร.สนธ ิ พลชัยยา สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.ปุณิกา พระพทุ ธคณุ ผ้ชู ำ�นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย นางสาวณัฏฐิกา งามกิจภิญโญ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูช้ ำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก เคมี เล่ม 3 220 คณะผรู้ ว่ มพจิ ารณาคู่มอื ครู รายวิชาเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร์ เคมี ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 เลม่ 3 (ฉบบั รา่ ง) ศ.ดร.มงคล สุขวัฒนาสินิทธิ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รศ.ดร.วลั ภา เออ้ื งไมตรีภิรมย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รศ.ดร.อภชิ าต ิ อม่ิ ยม้ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.เสาวรกั ษ ์ เฟอ่ื งสวัสด์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.พร้อมพงศ ์ เพียรพินจิ ธรรม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นางสาวสมศรี เซยี๊ กสาด นักวชิ าการอิสระ นางชนื่ จิตร เดชอุดม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนชิโนรสวิทยาลยั นายวัฒนพงศ ์ ยองเข โรงเรียนชิโนรสวทิ ยาลยั กรุงเทพมหานคร นายณฐั พล ตฤณเกศโกศล โรงเรยี นสามเสนวิทยาลัย กรงุ เทพมหานคร นางสาวเพ็ญนภา ศรีโฉม โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กรุงเทพมหานคร นายสชุ ากรณ ์ พวงทอง โรงเรียนปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี นายอนุพงศ์ ไพรศรี โรงเรียนนารรี ัตนจ์ ังหวดั แพร่ จ.แพร่ ดร.อำ�ไพ เกดิ สมบรู ณ์ โรงเรยี นราชโบริกานเุ คราะห์ จ.ราชบรุ ี คณะบรรณาธกิ าร จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ศ.ดร.มงคล สุขวฒั นาสนิ ิทธิ์ รศ.ดร.วลั ภา เอ้ืองไมตรีภิรมย์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รศ.ดร.อภิชาต ิ อ่ิมยม้ิ ผศ.ดร.เสาวรกั ษ ์ เฟื่องสวสั ด์ิ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.พร้อมพงศ ์ เพียรพินจิ ธรรม นายณรงค์ศิลป ์ ธปู พนม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.จินดา แต้มบรรจง จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นางกมลวรรณ เกียรตกิ วนิ กลุ ผเู้ ชี่ยวชาญพเิ ศษอาวโุ ส สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ำ�นาญ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผ้ชู ำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี



สถาบนั สง� เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ� ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ศกึ ษาภณั ฑพ� าณชิ ย� เคมี เลม� ๓ ม.๕ ราคา 22.00 บาท พมิ พทโ�ี่ รงพมิ พ� สกสค. ลาดพรา� ว นายสเุ ทพ ชติ ยวงษ� ผพ�ู มิ พแ� ละผโ�ู ฆษณา ๕๙๐๐๑๖๕ www.suksapan.or.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook