โรเบิร์ต กาเย่ องค์ประกอบของการเรียนรู้ กระบวนการเรียนการสอน (Robert Gagne) หลักการและแนวคิด กาเย่ได้นำเอาแนวความคิดมาใช้ในการเรียนการสอน โรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gagne) โดยยึดหลักการนำเสนอเนื้อหาและจัดกิจกรรมการ เป็นนักปรัชญาและจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกา 1) ผลการเรียนรู้หรือความสามารถด้านต่างๆ เรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ (1916-2002) ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการ ของมนุษย์ ซึ่งมีอยู่ 5 ประเภท คือ หลักการสอน 9ประการ ได้แก่ สอน คือ ทฤษฎีเงื่อนไขการเรียนรู้ (Condition 1.เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) of Learning) – ทักษะทางปัญญา ซึ่งประกอบด้วยการจำแนก 2.บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) แยกแยะการสร้างความคิดรวบยอด การสร้างกฎ 3.ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior โดยทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่จัดอยู่ใน การสร้างกระบวนการหรือกฎชั้นสูง Knowledge) กลุ่มผสมผสาน (Gagne’s eclecticism) 4.นำเสนอเนื้อหาใหม่ (Present New ซึ่งเชื่อว่า ความรู้มีหลายประเภท บางประเภท – กลวิธีในการเรียนรู้ Information) สามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ – ภาษาหรือคำพูด 5.ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) ลึกซึ้ง บางประเภทมีความซับซ้อนจำเป็นต้องใช้ – ทักษะการเคลื่อนไหว 6.กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit ความสามารถในขั้นสูง – เจตคติ Response) 2) กระบวนการเรียนรู้และจดจำของมนุษย์ มนุษย์มี 7.ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) กระบวนการจัดกระทำข้อมูลในสมองซึ่งมนุษย์จะ 8.ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) อาศัยข้อมูลที่สะสมไว้มาพิจารณาเลือกจัดกระทำสิ่งใด 9.สรุปและนำไปใช้ (Review and Transfer) สิ่งหนึ่ง และในขณะที่กระบวนการจัดกระทำข้อมูล ภายในสมองกำลังเกิดขึ้นเหตุการณ์ภายนอร่างกาย ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น มนุษย์มีอิทธิพลต่อการส่งเสริมหรือการยับยั้งการ ของกาเย่ ( Gagne ) เรียนรู้ที่เกิดขึ้นภายในได้ ดังนั้นในการจัดการเรียน การสอนกาเย่จึงได้เสนอแนะว่าควรมีการจัดสภาพ ทฤษฎีของกาเย่นี้จะให้ความสำคัญในการจัด การเรียนการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนรู้แต่ละ ลำดับขั้นการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ประเภท ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน และส่ง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้สิ่งเร้า สิ่งแวดล้อม เสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง โดยการจัด ภายนอกกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ และ สภาพภายนอกให้เอื้ อต่อกระบวนการเรียนรู้ภายใน สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน ว่ามีการตอบสนอง ของผู้เรียน อย่างไร เพื่อที่จะจัดลำดับขั้นของการเรียนรู้ให้ผู้ เรียนได้ถูกต้อง วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาสาระ ต่าง ๆ ได้อย่างดี รวดเร็ว และสามารถจดจำ สิ่งที่เรียนได้นาน
ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้น ประกอบด้วย การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาด สมาชิก หวังของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้ นางสาวณัฐศิ มา ติระนนท์ 1020 นางสาวปัณณพร แสงจันทร์ 1022 การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ นางสาวสุกัลยา นัยนิตย์ 1025 ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ นางสาวอรจิรา รักวงศ์ ไทย 1031 (Apprehending Phase) ผู้เรียนจะรับรู้ นางสาวอาฐิติญา ตันจรูญ 1209 Robert Gange สิ่งที่สอดคล้องกับความตั้งใจ SCAN ME! https://www.gotoknow.org/posts/514954 https://sites.google.com/site/prae8311 การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ ( Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจำ ระยะสั้นและระยะยาว ความสามารถในการจำ (Retention Phase) ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไป แล้ว (Recall Phase ) การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase) การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase) การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase)ผู้เรียนได้รับทราบ ผล เร็ว จะทำให้มีผลดี และประสิทธิภาพสูง
Search
Read the Text Version
- 1 - 2
Pages: