Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไหร ชลธิชา

สมุนไหร ชลธิชา

Published by ชลธิชา สมเพชร, 2021-01-28 08:46:45

Description: สมุนไหร ชลธิชา

Search

Read the Text Version

~1~

~2~ คำนำ โครงงานเรอ่ื งสมนุ ไพรพื้นบานนี้จัดทำขึน้ เพือ่ ใหไดศึกษาหาความรูในเรอ่ื งสมนุ ไพรพ้นื บาน และไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปนประโยชนกบั บคุ คลท่ีมีความสนใจในเรื่องน้ี คณะผจู ดั ทำหวงั วา รายงานเลมนีจ้ ะเปนประโยชนกบั ผูอาน ที่กำลงั หาขอมูลเร่อื งนี้อยู หากมี ขอแนะนำหรอื ขอผดิ พลาดประการใด คณะผูจดั ทำขอนอมรบั ไวและขออภัยมา ณ ทน่ี ้ีดวย

~3~ สมุนไพรพ้นื บาน ประวตั ิความเปนมา สมุนไพรคอื อะไร คำวา สมุนไพร ตามพระราชบัญญตั ิหมายความถึง ยาที่ไดจากพืช สัตว และแร ซ่งึ ยงั มิไดมี การผสมปรุงหรือแปรสภาพ (ยกเวนการทำใหแหง) เชน พืชก็ยังคงเปนสวนของราก ลำตน ใบ ดอก ผล ฯลฯ ยังไมไดผานข้ันตอนการแปรรูปใดๆ เชน การหั่น การบด การกล่ัน การสกัดแยก รวมทัง้ การผสมกับสารอ่ืนๆ แตในทางการคา สมุนไพรมักจะถกู ดดั แปลงในรปู แบบ ตางๆ เชน ถูก ห่ันเปนชิ้นเล็กลง บดใหเปนผง อัดใหเปนแทง หรือปอกเปลือกออก เปนตน เม่ือพูดถึงสมุนไพร คนท่ัวๆ ไปมักจะนึกถึงเฉพาะพืชที่นำมาใชประโยชนในทางยา ทั้งน้ีเพราะ สัตว และแรมีการใช นอย จะใชเฉพาะในโรคบางชนดิ เทาน้ัน ประวัติของการใชสมนุ ไพร สมุนไพร คอื ของขวัญท่ีธรรมชาติมอบใหกับมวลมนุษยชาติ มนุษยเรารูจักใชสมุนไพรใน ดานการบำบดั รักษาโรค นับแตยคุ นแี อนเดอรทัลในประเทศอิรักปจจุบนั ท่ีหลมุ ฝงศพพบวามกี ารใช สมุนไพรหลายพนั ปมาแลวท่ีชาวอินเดียแดงในเม็กซิโก ใชตนตะบองเพชร(Peyate) เปนยาฆาเชื้อ และรักษาบาดแผล ปจจุบันพบวา ตะบองเพชรมีฤทธ์ิกลอมประสาทประมาณ 4,000 ปมาแลว ท่ี ชาวสุเมเรียนไดเขามาตั้ งรกราก ณ บริเวณแมน้ำไทกริสและยูเฟรตสิ ปจจุบัน คือ ประเทศอิรัก ใช สมุนไพร เชน ฝน ชะเอม ไทม และมัสตารด และตอมาชาวบาบิโลเนียน ใชสมุนไพรเพ่ิมเติมจาก ชาวสุเมเรยี น ไดแกใบมะขามแขก หญาฝรน่ั ลูกผกั ชี อบเชย และกระเทียม ในยุคตอมาอียิปตโบราณมี อิมโฮเทป แพทยผูมีช่ือเสียงซ่ึงตอมาไดรับการยกยองใหเปน เทพเจาแหงการรักษาโรค ของอียิปต มีตำราสมุนไพรที่เกาแก คือ Papytus Ebers ซ่ึงเขียน เมื่อ 1,600 ป กอนครสิ ตศักราช ซึ่งคนพบโดยนกั อยี ิปตวิทยาชาวเยอรมนั นี ช่ือ Georg Ebers ใน ตำราน้ีไดกลาวถึงตำราสมุนไพรมากกวา 800 ตำรับ และสมุนไพรมากกวา 700 ชนิด เชน วาน หางจระเข เวอรมวูด(warmwood) เปปเปอรมินต เฮนเบน(henbane) มดยอบ, hemp dagbane ละหุง mandrake เปนตน รูปแบบในการเตรียมยาในสมยั นั้น ไดแก การตม การชง ทำ เปนผง กล่นั เปนเม็ด ทำเปนยาพอก เปนขี้ผ้ึง

~4~ นอกจากน้ียังพบวาชาติตางๆ ในแถบยุโรปและแอฟริกา มีหลักฐานการใชสมุนไพร ตามลำดับกอนหลังของการเร่ิมใชสมุนไพร คอื หลังจากสมุนไพรไดเจรญิ รุงเรืองในอียปิ ตแลว ก็ได มีการสืบทอดกันมา เชน กรีก โรมนั อาหรบั อิรัก เยอรมัน โปรตุเกส สวีเดน และโปแลนดสวนใน แถบเอเซีย ตามบันทึกประวัติศาสตรพบวามีการใชสมุนไพรท่ีอินเดยี กอน แลวสบื ทอดมาท่ีจีน มะ ละกา และประเทศไทย ประโยชนของพชื สมุนไพร 1. สามารถรกั ษาโรคบางชนิดได โดยไมตองใชยาแผนปจจุบัน ซ่ึงบางชนิดอาจมีราคาแพง และตองเสียคาใชจายมาก อกี ท้งั อาจหาซือ้ ไดยากในทองถ่นิ น้ัน 2. ใหผลการรกั ษาไดดีใกลเคยี งกบั ยาแผนปจจุบัน และใหความปลอดภัยแกผใู ชมากกวาแผน ปจจุบัน 3. สามารถหาไดงายในทองถนิ่ เพราะสวนใหญไดจากพืชซึ่งมอี ยูทวั่ ไปทั้งในเมอื งและ ชนบท มรี าคาถูก สามารถประหยดั คาใชจายในการซ้ือยาแผนปจจบุ นั ทตี่ องสัง่ ซอ้ื จากตาง ประเทศเปนการลดการขาดดุลทางการคา 4. ใชเปนยาบำรงุ รักษาใหรางกายมีสุขภาพแข็งแรง 5. ใชเปนอาหารและปลกู เปนพืชผกั สวนครวั ได เชน กะเพรา โหระพา ขิง ขา ตำลงึ 6. ใชในการถนอมอาหารเชน ลกู จนั ทร ดอกจนั ทรและกานพลู 7. ใชปรงุ แตง กล่ิน สี รส ของอาหาร เชน ลกู จนั ทร ใชปรงุ แตงกลิน่ อาหารพวก ขนมปง เนย ไสกรอก แฮม เบคอน 8. สามารถปลกู เปนไมประดบั อาคารสถานท่ตี าง ๆ ใหสวยงาม เชน คนู ชมุ เหด็ เทศ 9. ใชปรงุ เปนเครอื่ งสำอางเพื่อเสริมความงาม เชน วานหางจระเข ประคำดีควาย 10. ใชเปนยาฆาแมลงในสวนผัก, ผลไม เชน สะเดา ตะไคร หอม ยาสบู 11. เปนพืชทีส่ ามารถสงออกทำรายไดใหกับประเทศ เชน กระวาน ขม้นิ ชนั เรว 12. เปนการอนุรักษมรดกไทยใหประชาชนในแตละทองถนิ่ รูจักชวยตนเองในการ นำพชื สมนุ ไพรในทองถิน่ ของตนมาใชใหเกิดประโยชนตามแบบแผนโบราณ 13. ทำใหคนเหน็ คณุ คาและกลบั มาดำเนนิ ชีวิตใกลชิดธรรมชาติย่ิงข้นึ 14. ทำใหเกิดความภูมิใจในวัฒนธรรม และคณุ คาของความเปนไทย

~5~ สรรพคุณสมุนไพรพื้นบาน ตะไคร ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cymbopogon citratus Stapf. วงศ GRAMINEAE ชอ่ื อน่ื ๆ ภาคเหนอื : จะไค (Cha-khai) จะไค (Cha-khai) ภาคใต : ไคร (Khrai)

~6~ ชวา : ซีเร (Sere) ถิน่ กำเนดิ อนิ โดนีเซยี ศรีลังกา พมา อินเดยี อเมรกิ าใต ไทย รูปลักษณะ : ไมลมลกุ ทมี ีอายไุ ดหลายป ชอบดินรวนซุย ปลกู ได ตลอดป ใบสีเขยี วยาวแหลม ดอก ฟสู ขี าว หัวโตขนึ้ จากดินเปนกอๆ กลน่ิ หอมฉนุ คอนขางรอน การปลูก : ไถพรวนดินและตากดนิ ไวประมาณ 7 - 10 วัน ยอยดินใหละเอยี ด ใสปยุ คอกหรือปุย หมักคลกุ เคลาใหเขากับดินขดุ หลุมปลุกระยะ 30 x 30 เซนตเิ มตร กอนนำตะไครไปปลกู นำพนั ธุ ท่ีเตรยี มไวตัดใบออก ใหเหลือตนยาว ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร มาแชน้ำประมาณ 5 - 7 วัน เพอ่ื ใหรากงอก รากท่แี กเตม็ ทจี่ ะมีสเี หลอื งเขม นำไปปลกุ ในแปลงวางตนพันธุ ใหเอียง 45 องศา ไปดานใดดานหน่ึงแลวกลบดนิ จากน้ันรดนำ้ ใหชมุ หลงั ปลกู ไดประมาณ 30 วัน ก็ควรใสปุย สูตร 15 - 15 - 15 หรอื 46 - 0 - 0 อตั รา 50 กิโลกรัม/ไร สรรพคุณและสวนทีน่ ำมาใชเปนยา นำ้ มนั จากใบและตน – แตงกลิ่นอาหาร เคร่ืองดื่ม สบู ลำตนแกหรอื เหงา – แกอาการทองอืดทองเฟอ ขับปสสาวะ แกนว่ิ ขับประจำเดือน ขิง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Zingiber officinale Roscoe. ชือ่ วงศ : ZINGIBERACEAE

~7~ ช่อื พ้นื เมอื ง: ขิงแกลง, ขิงแดง (จันทรบุร)ี ขิงเผือก (เชยี งใหม) สะเอ (แมฮองสอน) ขงิ บาน ขงิ แครง ขงิ ปา ขิงเขา ขิงดอกเดยี ว (ภาคกลาง) เกยี (จนี แตจ๋ิว) ลักษณะทั่วไป : ไมลมลุก สงู 0.3-1 เมตร มีเหงาใตดนิ เปลอื กนอกสนี ้ำตาลแกมเหลือง เน้ือในสี นวลแกมเขียว มกี ลน่ิ เฉพาะ แตกสาขา คลายนวิ้ มอื ใบเดีย่ ว เรียงสลบั รูปขอบขนาน แกมใบหอก กวาง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. ดอกชอแทงออกจากเหงา กลบี ดอกสเี หลอื งแกมเขยี ว ใบ ประดบั สเี ขียวออน ผลแหง มี 3 พูสรรพคุณเหงาแกท้งั สดและแหงใชเปนยาขบั ลม ชวยใหเจรญิ อาหาร แกอาเจียน แกไอ ขับเสมหะและขับเหง่อื ผงขิงแหงมฤี ทธ์ิขับนำ้ ดี ชวยยอยไขมนั ลดการ บีบตวั ของลำไส บรรเทาอาการปวดทองเกรง

~8~ บวั บก ชื่อวทิ ยาศาสตร : Centella asiatica Urban วงศ : Umbelliferae ชอื่ สามัญ : Asiatic Pennywort/Tiger Herbalช่ืออนื่ : ผกั แวน ผกั หนอก รปู ลักษณะ : ไมลมลุก อายุหลายป เลอ้ื ยแผไปตามพ้ืนดิน ชอบทชี่ ้นื แฉะ แตกรากฝอยตามขอ ไหล ท่แี ผไปจะงอกใบจากขอ ชขู ้ึน 3-5 ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลบั รปู ไต เสนผาศูนยกลาง 2-5 ซม. ขอบใบ หยัก กานใบยาว ดอกชอ ออกท่ซี อกใบ ขนาดเลก็ 2-3 ดอก กลีบดอกสีมวง ผลแหง แตกได สรรพคณุ และสวนท่ีนำมาใชเปนยาใบสด - ใชเปนยาภายนอกรกั ษาแผลเปอย แผลไฟไหมนำ้ รอน ลวก โดยใชใบสด 1 กำมอื ลางใหสะอาด ตำละเอยี ด ค้นั เอาน้ำทาบริเวณแผลบอย ๆ ใชกากพอก ดวยก็ได แผลจะสนทิ และเกดิ แผลเปนชนดิ นูน (keloid) นอยลง สารท่ีออกฤทธ์ิคือ กรด madecassic, กรด asiatic และ asiaticoside ซง่ึ ชวยสมานแผลและเรงการสรางเนอื้ เยื่อ ระงบั การเจรญิ เติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ที่ทำใหเกิดหนองและลดการอกั เสบ มีรายงานการคนพบ ฤทธฆ์ิ าเช้ือรา อนั เปนสาเหตุของโรคกลาก ปจจบุ นั มกี ารพฒั นายาเตรยี มชนิดครมี ใหทารักษา แผลอักเสบจากการผาตดั น้ำตมใบสด - ดื่มลดไข รักษาโรคปากเปอย ปากเหม็น เจ็บคอ รอนใน กระหายนำ้ ขบั ปสสาวะ แกทองเสยี

~9~ ขา ชอ่ื วิทยาศาสตร : Languas galaga (Linn). Stuntz ชอ่ื วงศ: ZINGIBERACEAE ชื่อพื้นเมอื ง: ขา ขาใหญ ขาหลวง ขาหยวก (ภาคเหนือ) กุฎกกโรหนิ ี เสะเออเคย (แมฮองสอน) สะเชย (กะเหร่ยี ง-แมฮองสอน) ลกั ษณะท่ัวไป : ไมลมลุก สงู 1.5-2 เมตร เหงามีขอและปลองชัดเจน ใบเดย่ี ใบสเี ขยี วออนสลับกัน รูปรางรยี าว ปลายแหลม ดอกออกเปนชอท่ีนอ ดอกยอยขนาดเลก็ กลีบดอกสีขาว โคนตดิ กนั เปน หลอดส้ันๆ ปลายแยกเปน 3 กลีบ กลบี ใหญที่สุดมรี ิ้วสแี ดง ใบประดบั รปู ไข ผลแหง แตกได รปู กลมสรรพคุณเหงาสดตำผสมกบั เหลาโรง ใชทารกั ษาโรคผิวหนงั ที่เกดิ จากเชอ้ื รา เชน กลาก เกล้อื น เหงาออนตมเอาน้ำด่ืม บรรเทาอาการทองอืด ทองเฟอ และขับลม ขาไมมีฤทธกิ์ อกลาย พันธุและไมเปนพษิ

~ 10 ~ กระชาย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Boesenbergia rotunda (Linn.) Mansf. ชื่อวงศ : ZINGIBERACEAE ชื่อพ้ืนเมือง: ขิง กระชาย กะชาย วานพระอาทิตย (กรุงเทพฯ) กระแอม ระแอน (ภาคเหนือ) ขิง ทราย (มหาสารคาม) จ๊ีปู ซีฟู (ฉาน-แมฮองสอน) เปาะสี่ เปาซอเราะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน) ลกั ษณะทว่ั ไป : ไมลมลุก ไมมีลำตนบนดิน มีเหงาใตดิน ซ่ึงแตกรากออกไป เปนกระจุกจำนวนมาก อวบน้ำ ตรงกลางพองกวางกวาสวนหัวและทาย ใบเดี่ยว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบ ขนานแกมรูปไข ตรงกลางดานในของกานใบมีรองลึก ดอกชอ ออกแทรกอยูระหวางกาบใบที่โคน ตน กลีบดอกสีขาวหรอื ชมพูออน ใบประดบั รูปใบหอก สีมวงแดง ดอกยอยบานคร้ังละ 1 ดอก ผล ของกระชายเปนผลแหงสรรพคณุ เหงาใชแกโรคในปาก ขับปสสาวะ รักษาโรคบิด แกปวดมวนทอง ขับระดขู าว

~ 11 ~ มะกรดู ชื่อวิทยาศาสตร Citrus hystrix DC. ชอ่ื วงศ Rutaceac ช่ือสามัญ Leech Lime, Mauritius Papeda, Kaffir Lime, Porcupine Orange ชือ่ ทองถ่ิน ภาคเหนือ เรยี ก มะขดู , มะขนุ ภาคใต เรียก สมกรูด, สมม่ัวผี เขมร เรียก โกรยเขยี ด กะเหรี่ยง-แมฮองสอน เรยี ก มะขู ลกั ษณะท่ัวไป : มะกรูดเปนไมยนื ตนขนาดเลก็ แตกกิ่งกาน ลำตนและกิง่ มีหนามแข็ง ใบ เปนใบ ประกอบทีม่ ีใบยอยใบเดียว สีเขียวหนา มลี ักษณะคอดกิ่วทกี่ ลางใบเปนตอนๆ มกี านแผออกใหญ เทากับแผนใบ ทำใหเหน็ ใบเปน 2 ตอน ใบสีเขยี วแกคอนขางหนา มกี ลิ่นหอมมากเพราะมีตอม น้ำมันอยู ดอก ออกเปนกระจุก 3–5 ดอก กลีบดอกสีขาว รวงงาย ผล มีหลายแบบแลวแตพนั ธุผล เล็กเทามะนาว ผิวขรุขระนอยกวาและไมมีจุกที่หวั การปลูก มะกรดู ปลกู ไดดีในดินทกุ ชนิด ขยายพนั ธุโดยการเพาะเมล็ด สรรพคุณทางยา :ผวิ ผลสดและผลแหง รสปรา หอมรอน สรรพคุณแกลมหนามืด แกวงิ เวียน บำรงุ หวั ใจ ขับลมลำไส ขับระดูผล รสเปรย้ี ว มสี รรพคุณเปนยาขับเสมหะ แกไอ แกน้ำลายเหนียว ฟอก โลหติ ใชสระผมทำใหผมดกดำ ขจดั รังแค ราก รสเย็นจืด แกพิษฝภายใน แกเสมหะ แกลมจุกเสียด น้ำมะกรูด รสเปรย้ี ว กดั เสมหะ ใชดองยามสี รรพคุณเปนยาฟอกโลหติ สำหรบั สตรี ใบ รสปราหอม แกไอ แกอาเจียนเปนโลหิต แกช้ำใน และดบั กล่ินคาว

~ 12 ~ วานหางจระเข ช่อื วทิ ยาศาสตร : Aloe barbadensis Mill. ช่ือวงศ: ALOACEAE ชือ่ พนื้ เมือง: วานไฟไหม (ภาคเหนอื ) หางตะเข (ภาคกลาง) ลักษณะทัว่ ไป : ไมลมลกุ อายหุ ลายป สูง 0.5-1 เมตร ขอและปลองสน้ั ใบเดี่ยว เรียงรอบตน กวาง 5-12 ซม. ยาว 0.3-0.8 เมตร อวบน้ำมาก สีเขียวออนหรือสีเขยี วเขม ภายในมีวุนใส ใตผวิ สี เขียวมีน้ำยางสเี หลือง ใบออนมปี ระสขี าว ดอกชอออกจากกลางตน ดอกยอย เปนหลอดหอยลง สี สม บานจากลางขึ้นบน ผลแหง แตกไดสรรพคุณวุนสดภายในใบทฝี่ านออกใชปดพอกรักษาแผลสด แผลเร้อื รงั แผลไฟไหมน้ำรอนลวก แผลไหมเกรียม กินรักษาแผลในกระเพาะอาหาร และใชเปน สวนผสมในเครื่องสำอาง นำ้ ยางสีเหลอื งจากใบเคย่ี วใหแหง เรยี กวา ยาดำ เปนยาระบายชนดิ เพิ่ม การบีบตวั ของลำไสใหญ

~ 13 ~ กานพลู ชื่อวิทยาศาสตร : Eugenia caryophyllum Bullock & Harrison วงศ : Myrtaceae ชอื่ สามญั : Clove ลกั ษณะ : ไมยืนตน สงู 5-10 เมตร ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รูปวงรีหรือรูปใบหอก กวาง 2.5-4 ซม. ยาว 6-10 ซม. ขอบเปนคลน่ื ใบออนสีแดงหรือนำ้ ตาลแดง เนอ้ื ใบบางคอนขางเหนยี ว ผิวมัน ดอก ชอ ออกท่ซี อกใบ กลบี ดอกสขี าวและรวงงาย กลีบเลี้ยงและฐานดอกสีแดงหนาแข็ง ผลเปนผลสด รปู ไข ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทย ใชดอกตมู แหงแกปวดฟน โดยใชดอกแชเหลาเอาสำลีชุบอดุ รฟู น และใชขนาด 5-8 ดอก ชงน้ำเดอื ด ด่ืมเฉพาะสวนนำ้ หรอื ใชเคย้ี วแกทองเสีย ขบั ลม แก ทองอดื เฟอ นอกจากนีใ้ ชผสมในยาอมบวนปากดับกลน่ิ ปาก พบวาในน้ำมนั หอมรเหยท่ีกลน่ั จาก ดอกมสี าร eugenol ซ่ึงมฤี ทธิเ์ ปนยาชาเฉพาะท่ี จึงใชแกปวดฟน และมีฤทธ์ิลดการบบี ตวั ของ ลำไส ทำใหเกดิ อาการปวดทองลดลง ชวยขับนำ้ ดี ลดอาการจกุ เสยี ดที่เกดิ จากการยอยไมสมบูรณ และสามารถฆาเชอ้ื แบคทีเรยี หลายชนดิ เชน เชือ้ โรคไทฟอยด บดิ ชนดิ ไมมตี ัว เชือ้ หนองเปนตน นอกจากนี้ยงั กระตุนใหมกี ารหลั่งเมือก และลดการเปนกรดในกระเพาะอาหารดวย

~ 14 ~ กลวยน้ำวา ช่ือวทิ ยาศาสตร : Musa sapientum L. ]วงศ : Musaceae ช่ือสามัญ ; Banana ลกั ษณะ : ไมลมลุก สูง 2-4.5 เมตร มลี ำตนใตดิน ลำตนเหนือดินเกิดจากกาบใบหุมซอนกัน ใบ เดีย่ ว เรยี งสลบั ซอนกันรอบตนท่ปี ลายยอด รปู ขอบขนาน กวาง 25-40 ซม. ยาว 1-2 เมตร ผวิ ใบ เรยี บมัน ทองใบสอี อนกวา มนี วล ดอก ชอเรยี กวา หัวปลีออกทีป่ ลายยอด ใบประดบั หุมชอดอกสี แดงหรือมวง กลบี ดอกสีขาว บาง ผล เปนผลสด ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผลดบิ ซงึ่ มีสารแทนนนิ มาก รักษาอาการทองเสียและบิด โดยกนิ ครง้ั ละคร่งึ หรือหนงึ่ ผล มีรายงานวา มฤี ทธิป์ องกันการเกดิ แผลในกระเพาะอาหารของหนู ขาวทถ่ี ูกกระตุนดวยยาแอสไพริน เชอื่ วาฤทธิ์ดงั กลาวเกดิ จากการถกู กระตุนผนังกระเพาะอาหาร ใหหลั่งสารเมือกออกมามากขน้ึ จงึ นำมาทดลองรกั ษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใชกลวยดบิ ห่นั เปนแวน ตากแหงบดเปนผง กินวันละ 4 ครง้ั ๆ ละ 1-2 ชอนแกง กอนอาหารและกอนนอน อาจทำใหเกิดอาการทองอืด ซึ่งปองกันไดโดยกินรวมกับยาขบั ลม เชน ขิง

~ 15 ~ กระเทียม ชอื่ วิทยาศาสตร : Allium sativum L. วงศ : Alliaceae ชือ่ สามัญ : Common Garlic , Allium ,Garlic , ชอ่ื อ่ืน : กระเทียม (ภาคกลาง) หอมเทียม (ภาคเหนอื ) หอมขาว (ภาคอีสาน) เทยี ม, หอมเทยี ม (ภาคใต) ลักษณะ : ไมพุม สงู 2-4 เมตร กงิ่ ออนมีหนาม ใบประกอบชนดิ มีใบยอยใบเดยี ว เรยี งสลับ รปู ไข รปู วงรหี รอื รปู ไขแกมขอบขนานกวาง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เน้อื ใบมจี ดุ น้ำมันกระจาย กานใบมี ครบี เล็ก ๆ ดอกเด่ียวหรือชอ ออกทป่ี ลายกิ่งและที่ซอกใบ กลบี ดอกสขี าว กล่ินหอม รวงงาย ผล เปนผลสด กลมเกล้ียง ฉำ่ น้ำ ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชน้ำมะนาวและผลดองแหงเปนยาขับเสมหะแกไอ แกโรค เลือดออกตามไรฟน เพราะมวี ติ ามินซี น้ำมะนาวเปนกระสายยาสำหรบั สมุนไพรท่ใี ชขบั เสมหะเชน ดีปลีกนิ รวมกับยาขบั ลม เชน ขงิ

~ 16 ~ ขี้เหล็ก ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Cassia siamea Britt. วงศ : Leguminosae ชื่อสามญั : Cassod Tree / Thai Copper Pod ชอ่ื อ่ืน ขเ้ี หล็กแกน ข้เี หลก็ บาน ขีเ้ หล็กหลวง ขี้เหล็กใหญลักษณะ : ไมยืนตน สูง 10-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรยี งสลับใบยอยรปู ขอบ ขนาน กวางประมาณ 1.5 ซม. ยาว 4 ซม. ใบออนมขี นสนี ำ้ ตาลแกมเขยี ว ดอกชอ ออกทีป่ ลายกง่ิ กลีบดอกสีเหลอื ง ผลเปนฝกแบนยาวและหนา ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชดอกเปนยานอนหลบั ลดความดนั โลหติ ดอกตมู และใบออน เปนยาระบาย ใบแกระดูขาว แกนว่ิ ขับปสสาวะ แกนแกไข ทำใหนอนหลับ รักษากามโรค ใบออน และแกนมีสารกลุมแอนทราควโิ นนหลายชนดิ จงึ มฤี ทธเ์ิ ปนยาระบายใชใบออนครงั้ ละ 2-3 กำมอื ตมกบั นำ้ 1-1.5 ถวย เตมิ เกลอื เล็กนอย ดมื่ กอนอาหารเชาคร้งั เดียว นอกจากนี้ในใบออนและดอก ตมู ยงั พบสารซง่ึ มีฤทธ์กิ ดประสาทสวนกลางทำใหนอนหลับโดยใชวิธีดองเหลาด่มื กอนนอน

~ 17 ~ คณู ชื่อวิทยาศาสตร : Cassia fistula L. วงศ : Leguminosae ชือ่ สามัญ : Golden Shower Tree/ Purging Cassia ชื่ออ่นื : ราชพฤกษ ลมแลง ลักษณะ : ไมยืนตน สงู 5-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกเรยี งสลบั ใบยอยรูปไขหรอื รปู วงรี กวาง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอกชอออกทีป่ ลายกง่ิ หอยเปนโคมระยา กลบี ดอกสเี หลอื ง ผลเปน ฝกกลม สนี ำ้ ตาลเขมหรอื ดำ เปลือกแขง็ ผิวเรยี บ ภายในมีผนงั ก้ันเปนหอง แตละหองมี เมลด็ 1 เมลด็ หมุ ดวยเนอื้ สีดำเหนยี ว ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเน้อื หุมเมล็ดแกทองผกู ขับเสมหะ ดอกแกไข เปนยา ระบาย แกนขบั พยาธไิ สเดอื น พบวาเนื้อหุมเมล็ดมีสารกลุมแอนทราควโิ นน จงึ มสี รรพคณุ เปนยา ระบาย โดยนำเนอื้ หุมเมล็ดซ่ึงมสี ีดำเหนยี ว ขนาดกอนเทาหัวแมมือ (ประมาณ 4 กรมั ) ตมกบั น้ำ ใสเกลือเลก็ นอย ดืม่ กอนน้ำ ดืม่ กอนนอน มีขอควรระวังเชนเดียวกับชุมเหด็ เทศ

~ 18 ~ ชุมเหด็ เทศ ชื่อวิทยาศาสตร : Senna alata L. วงศ : Leguminosae ช่อื สามัญ Ringworm Bush ช่ืออน่ื : ขค้ี าก ลบั มนี หลวง หมากกะลงิ เทศ ชุมเห็ดใหญ ลักษณะ : ไมพุม สงู 1 - 3 เมตร แตกกง่ิ ออกดสนขาง ในแนวขนานกบั พืน้ ใบประกอบ แบบขนนก เรยี งสลบั ใบยอยรปู ขอบขนาน รปู วงรีแกมขอบขนาน หรือรูปไขกลบั กวาง 3-7 ซม. ยาว 6- 15 ซม. หูใบเปนรูปสามเหล่ยี ม ดอกชอ ออกท่ีซอกใบตอนปลายกิง่ กลีบดอกสีเหลืองทอง ใบ ประดับ สนี ำ้ ตาลแกมเหลืองหุมดอกยอยเหน็ ชดั เจน ผลเปนฝก มีครบี 4 ครบี เมล็ดแบน รปู สามเหลี่ยม ประโยชนทางสมนุ ไพร : รสเบ่ือเอียน ใบตำทาแกกลากเกล้อื น โรคผิวหนัง ดอกและใบตม รบั ประทานแกอาการทองผูก มีสาร แอนทราควโิ นน กลัยโคซายด หลายชนิด ไดแก emodin, aloe - emodin และ rhein ใชเปนยาระบายกระตุนลำไสใหญใหบีบตวั การทดลองในสัตว และ คน พบวา ใบแกมฤี ทธ์ิ นอยกวาใบออน นอกจากนี้น้ำจากใบ ยงั มีฤทธ์ฆิ าเชือ้ แบคทเี รยี ดวย

~ 19 ~ มะขาม ชือ่ วิทยาศาสตร : Tamarindus indica L. วงศ : Leguminosae ชือ่ สามญั : Tamarind ช่ืออ่ืน : Tamarind ลกั ษณะ : มะขามเปนไมยืนตนขนาดกลางจนถงึ ขนาดใหญแตกกง่ิ กานสาขามาก เปลือกตนขรขุ ระ และหนา สนี ำ้ ตาลออน ใบ เปนใบประกอบ ใบเลก็ ออกตามกงิ่ กานใบเปนคู ใบยอยเปนรปู ขอบ ขนาน ปลายไบและโคนใบมน ดอก ออกเปนชอเลก็ ๆ ตามปลายกิ่ง หนึ่งชอมี 10-15 ดอก ดอก ยอยขนาดเลก็ กลีบดอกสีเหลอื งและมจี ุดประสีแดงอยูกลางดอก ผล เปนฝกยาว รูปรางยาวหรือ โคง ยาว 3-20 ซม. ฝกออนมีเปลอื กสีเขยี วอมเทา สนี ้ำตาลเกรยี ม เนอ้ื ในติดกับเปลอื ก เม่อื แกฝก เปล่ียนเปนเปลอื กแข็งกรอบหักงาย สีน้ำตาล เนอื้ ในกลายเปนสีนำ้ ตาลหุมเมล็ด เนื้อมรี สเปรีย้ ว และหวาน ประโยชนทางสมุนไพร : สรรพคณุ ทางยา · ยาระบาย แกอาการทองผูก ใชมะขามเปยกรสเปรีย้ ว 10–20 ฝก (หนัก 70–150 กรมั ) จิม้ เกลอื รบั ประทาน แลวดื่มน้ำตามมากๆ หรือตมนำ้ ใสเกลอื เล็กนอยดม่ื เปนนำ้ มะขาม · ขับพยาธิไสเดอื น นำเอาเมล็ดแกมาควั่ แลวกะเทาะเปลอื กออก เอาเน้ือในเมล็ดไปแชนำ้ เกลือจน นมุ รับประทานคร้ังละ 20-30 เม็ด · ขับเสมหะ ใชเน้อื ในฝกแกหรือมะขามเปยกจม้ิ เกลือรบั ประทานพอสมควร คณุ คาทางโภชนาการ ยอดออนและฝกออนมีวติ ามิน เอ มาก มะขามเปยกรสเปรีย้ ว ทำใหชุมคอ ลดความรอนของรางกายไดดี เนอื้ ในฝกมะขามท่ีแกจัด เรยี กวา \"มะขามเปยก\" ประกอบดวยกรด อินทรียหลายตัว เชน กรดทารททารริค กรดซิตริค เปนตน ทำใหออกฤทธ์ิ ระบายและลดความ รอนของรางกายลงได แพทยไทยเช่อื วา รสเปรยี้ วน้ีจะกัดเสมหะใหละลายไดดวย

~ 20 ~ แมงลัก ช่อื วิทยาศาสตร : Ocimum basilicum L.f. var. citratum Back. วงศ : Labiatae ชื่อสามญั : Hairy Basil ชื่ออื่น : กอมกอขาว มงั ลกั ลกั ษณะ : แมงลกั มลี กั ษณะทรงตน ใบ ดอก และผลคลายโหระพา ตางกันทก่ี ล่ิน ใบสีเขียวออน กวา กลีบดอกสขี าวและใบประดบั สีเขียว ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยมักเรียกผลแมงลักวาเม็ดแมงลกั ใชเปนยาระบายชนิดเพ่ิม กาก เพราะเปลอื กผลมีสารเมอื กซ่ึงสามารถพองตัวในน้ำได 45 เทา เหมาะสำหรับ ผูทีไ่ มชอบกิน อาหารที่มกี ากเชน ผัก ผลไม ใชผลแมงลัก 1-2 ชอนชา แชนำ้ 1 แกว จนพองตัวเตม็ ที่ กินกอน นอน ถาผลแมงลักพองตวั ไมเตม็ ทีจ่ ะทำใหทองอืดและอจุ จาระแข็ง จากการทดลองพบวาแมงลกั ทำใหจำนวนคร้ังในการถายและปริมาณอุจจาระเพม่ิ ขึ้น รวมทงั้ ทำใหอุจจาระออนตัวกวาปกติ นอกจากนใี้ บและตนสดมีฤทธ์ิขบั ลม เน่อื งจากมีนำ้ มนั หอมระเหย

~ 21 ~ ไพล ช่ือวทิ ยาศาสตร : Zingiber purpureum Roscoe วงศ : Zingiberaceae ชอื่ อื่น : ปูลอย ปูเลย วานไฟ ลกั ษณะ : ไมลมลกุ สงู 0.7-1.5 เมตร มีเหงาใตดนิ เปลอื กนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนือ้ ในสีเหลอื ง แกมเขยี ว มกี ลน่ิ เฉพาะ แทงหนอหรอื ลำตนเทยี มขึ้นเปนกอประกอบดวยกาบหรอื โคน ใบหุมซอน กัน ใบ เด่ยี ว เรียงสลบั รปู ขอบขนานแกมใบหอก กวาง 3.5-5.5 ซม. ยาว 18-35 ซม. ดอก ชอ แทงจากเหงาใตดิน กลีบดอกสีนวล ใบประดับสมี วง ผล เปนผลแหง รปู กลม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเหงาเปนยาขบั ลม ขับประจำเดือน มีฤทธร์ิ ะบายออน ๆ แกบิด สมานลำไส ยาภายนอกใชเหงาสดฝนทาแกเคล็ดยอก ฟกบวม เสนตึง เมอ่ื ยขบ เหน็บชา สมานแผล จากการวิจัยพบวาในเหงามนี ้ำมนั หอมระเหยซ่งึ มคี ุณสมบัตลิ ดอาการอกั เสบและบวม จงึ มกี ารผลิตยาขีผ้ ึ้งผสมนำ้ มนั ไพล เพ่อื ใชเปนยาทาแกอาการเคล็ดขดั ยอก น้ำมันไพลผสม

~ 22 ~ แอลกอฮอลสามารถทากนั ยงุ ได นอกจากน้พี บวาในเหงามีสาร 4-(4-hydroxy-1-butenyl) veratrole ซง่ึ มีฤทธ์ิขยายหลอดลม ไดทดลองใชผงไพล กับผปู วยเดก็ ที่เปนหดื สรปุ วาใหผลดีท้งั ในรายทมี่ ีอาการหอบหดื เฉียบพลนั และเร้ือรัง เทียนบาน ชือ่ วิทยาศาสตร : Impatiens balsamina L. วงศ : Balsaminaceae ช่อื สามญั : Garden Balsam ชอ่ื อ่ืน : เทียนดอก เทียนสวน

~ 23 ~ ลกั ษณะ : พรรณไมพวกคลมุ ดิน ลำตนจะอุมนำ้ ลำตนจะไมต้งั ตรงขึน้ ไป จะเอียงเลก็ นอย เปราะ งาย ใบมลี กั ษณะมนรี ปลายแหลม ดอกน้ันจะมีหลายสี เขน สีชมพู สีแดง สม และขาว เปนดอก เดีย่ ว จะออกติดกนั ชอหนึง่ อาจะจะมี 2-3 ดอก กลีบดอกจะซอน ๆ กันเปนวงกลม มกี ลีบ เลยี้ ง 3 กลีบ กลบี ดอก 5 กลีบ กลีบดานลางงอเปราะ มีจะงอยยนื่ ออกมาเปนหลอดเล็ก-ยาว ปลายโคงขึ้น ขนาดดอก 3-6 ซม. ประโยชนทางสมุนไพร : ใชรักษาฝ แผลพพุ อง ใชใบสดและดอกสดประมาณ 1 กำมอื ตำละเอียด พอกฝ หรือคน้ั น้ำทาบรเิ วณที่เปนฝและแผลพพุ องวนั ละ 3 ครง้ั (สีจากนำ้ ค้นั จะตดิ อยูนาน จงึ ควร ระวงั การเปรอะเปอนเสอ้ื ผาและรางกายสวนอ่ืน ๆ ) กะเพรา ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ocimum sanctum L.

~ 24 ~ วงศ : Labiatae ชอื่ อนื่ : กอมกอ กอมกอดง กะเพราขาว กะเพราแดง ลักษณะ : กะเพรามี 3 พนั ธุ คอื กะเพราแดง กะเพราขาวและกะเพราลกู ผสมระหวางกะเพราแดง และกะเพราขาว มีลกั ษณะทัว่ ไปคลายโหระพา ตางกนั ที่กลิ่นและก่ิงกานซึง่ มขี นปกคลุมมากกวา ใบกะเพราขาวสเี ขยี วออน สวนใบกะเพราแดงสเี ขียวแกมมวงแดง ดอกยอยสีชมพูแกมมวง ดอก กะเพราแดงสีเขมกวากะเพราขาว ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชใบหรือทั้งตนเปนยาขบั ลมแกปวดทอง ทองเสยี และ คลนื่ ไสอาเจียน นิยมใชกะเพราแดงมากกวากะเพราขาว โดยใชยอดสด 1 กำมือ ตมพอเดอื ด ด่มื เฉพาะสวนน้ำ พบวาฤทธ์ิขับลมเกดิ จากนำ้ มนั หอมระเหย การทดลองในสัตว แสดงวานำ้ สกดั ท้งั ตนมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส สารสกัดแอลกอฮอลสามารถรกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร สาร eugenol ในใบมฤี ทธ์ิขับนำ้ ดี ชวยยอยไขมันและลดอาการจกุ เสยี ด

~ 25 ~ ยอ ชอื่ วิทยาศาสตร : Morinda citrifolia L. วงศ : Rubiaceae ชอ่ื สามัญ : Indian Mulberry ชอ่ื อน่ื : มะตาเสอื ยอบาน ลักษณะ : ไมยืนตน สงู 2-6 เมตร ใบเด่ยี ว เรยี งตรงขาม รปู วงรี กวาง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. หใู บอยูระหวางโคนกานใบ ดอกชอ ออกที่ซอกใบ ฐานดอกอัดกันแนนเปนรปู ทรงกลม กลีบดอกสี ขาว ผลเปนผลสด เชอื่ มติดกันเปนผลรวม ผวิ เปนตมุ พอง ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผลสดดิบหรอื หาม ฝานเปนชิน้ บาง ยางหรอื ควั่ ไฟออน ๆ ใหเหลือง ตมหรือชงกับนำ้ ดื่มแกคล่นื ไสอาเจียน

~ 26 ~ ฟกทอง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Cucurbita moschata Decne. วงศ : Cucurbitaceae ชอ่ื สามญั : Pumpkin ชือ่ อื่น : หมากอึ (ภาคอสี าน) มะฟกแกว ฟกแกว (ภาคเหนอื ) มะน้ำแกว หมกั อื้อ (เลย) หมากฟก เหลือง (แมฮองสอน) นำ้ เตา ภาคใต ลกั ษณะ : เปนพืชลมลกุ มีเถายาวเล้อื ยปกคลมุ ดนิ ลำตนมีลกั ษณะกลมหรอื เปนเหล่ยี มมน ผวิ เปน รองตามความยาว มขี นออน ๆ มหี นวดสำหรับยดึ เกาะยึดบรเิ วณขอ ใบเปนใบเดี่ยว มขี นาดใหญ ออกเรยี งสลับกนั โคนใบเวาคลายรปู หัวใจ ขอบใบหยักเปนเหล่ียม 5 เหล่ยี ม มีขนท้ัง 2 ดานของ ตวั ใบดอกเปนดอกเด่ยี วสีเหลืองมีขนาดใหญ ลกั ษณะคลายระฆงั หรือกระด่ิงออกบริเวณงามใบผล มขี นาดใหญ มลี กั ษณะเปนพูเลก็ ๆ โดยรอบเปลอื กนอกขรขุ ระและแข็ง มีสีเขียวและจะ เปล่ียนเปนสีเขียวออนและ สเี หลืองเขม และสีเหลอื งตามลำดับ เนอ้ื ภายในมสี ีเหลืองอมเขยี ว สี เหลอื ง และสสี ม เมลด็ มีจำนวนมากซึง่ อยูตรงกลางผลระหวางเนอ้ื ฟู ๆ มรี ปู รางคลายไข แบน มี ขอบนนู อยูโดยรอบ ประโยชนทางสมนุ ไพร : เน้อื ฟกทองประกอบดวยแปง โปรตนี ไขมนั ฟอสฟอรสั แคลเซียม เหล็ก และ สารเบตา - แคโรทนี ซ่ึงเปนสารทร่ี างกายนำไปสรางวติ ามิน เอ เมล็ดมฟี อสฟอรสั ในปรมิ าณ สงู รวมทัง้ แปง โปรตีน และน้ำประมาณรอยละ 40 สวนเมลด็ แหงมีสารควิ เคอรบทิ ีน (Cucurbitine) เปนสารสำคัญ ซง่ึ มฤี ทธิฆ์ าพยาธิไดผลดี นอกจากนั้น ฟกทองสามารถกระตุนการ หล่ังอนิ ซูลิน ซ่ึงชวยปองกันโรคเบาหวาน ความดนั โลหิต ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด บำรุง นยั นตา ตบั และไต เมลด็ ใชเปนยาขับพยาธิตวั ตดื ปองกนั การเกิดน่วิ ในกระเพาะปสสาวะ และชวย ดบั พษิ ปอดบวม รากชวยแกพษิ แมลงสตั วกัดตอย ยางชวยแกพษิ ผน่ื คัน เรมิ และงูสวัด ออกฤทธ์ิ คือ asperuloside

~ 27 ~ มะเกลอื ชื่อวิทยาศาสตร : Diospyros mollis Griff. วงศ : Ebenaceae ชอื่ สามญั : Ebony tree ชื่ออ่ืน : ผเี ผา (ฉาน-ภาคเหนอื ) มักเกลือ (เขมร-ตราด) ลกั ษณะ : ไมตนขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ สูง 10-30 เมตร เรอื นยอดเปนพมุ กลม ผิวเปลอื กเปน รอยแตกสะเกด็ เลก็ ๆ สดี ำ เปลอื กในสเี หลือง กระพ้ีสขี าว กิ่งออนมขี นนุมขึ้นประปราย ใบ เปนใบ เด่ียวขนาดเลก็ รูปไขหรอื รเี รยี งตัวแบบสลับ ดอก ออกเปนชอตามซอกใบ ดอกแยกเพศตางตน ดอกตวั ผูมขี นาดเลก็ สเี หลืองออน หน่งึ ชอมี 3 ดอก ผิวเกลีย้ ง ผลออนสเี ขียว ผลแกสดี ำ ผลแกจัด จะแหง มกี ลบี เลยี้ งตดิ บนผล 4 กลีบ ผลแกราวเดือนมิถนุ ายน-สิงหาคม เมล็ด แบน สเี หลือง 4- 5 เมล็ด ขนาดกวาง 0.5-0.7 ซม. ยาว 1-2 ซม. ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ด ประโยชนทางสมุนไพร : ผลดบิ สด-ใชเปนยาถายพยาธิไดหลายชนดิ ถายพยาธิปากขอไดดที ีส่ ดุ เดก็ อายุ 10 ปใช 10 ผล ผูท่ีอายมุ ากกวา 10 ป ใหเพ่ิมจำนวนข้ึน 1 ผลตอ 1 ป แตสงู สดุ ไม เกิน 25 ผล คอื ผูทีอ่ ายุ 25 ปข้นึ ไปกิน 25 ผลเทานัน้ ลางใหสะอาด ตำพอแหลก กรองเอาเฉพาะ น้ำผสมหัวกะทิ 2 ชอนชาตอมะเกลือ 1 ผล กินคร้ังเดยี วใหหมดตอนเชามดื กอนอาหาร 3 ช่วั โมง หลังจากน้ี 3 ชั่วโมง ถาไมถายใหกนิ ยาระบายดีเกลอื โดยใชผงดีเกลือ 2 ชอนโตะ ละลายนำ้ ประมาณครึง่ แกว เพื่อถายพยาธิ และตัวยาทเ่ี หลอื ออกมา สารทีม่ ฤี ทธค์ิ ือ diospyrol diglucosideขอควรระวัง 1: ผูท่หี ามใชมะเกลอื ไดแก เดก็ อายุต่ำกวา 10 ป หญิงมคี รรภ หรอื หลัง คลอดไมเกนิ 6 สปั ดาห ผูที่เปนโรคกระเพาะอาหาร หรือมีอาการปวดทอง ถายอุจจาระผิดปกติ บอยๆ และผูทก่ี ำลงั เปนไข ในการเตรยี มยาตองใชผลดิบสด เตรยี มแลวกินทันที ไมควรเตรยี มยา ครง้ั ละมากๆ ใชเครอ่ื งบดไฟฟา จะทำใหละเอยี ดมาก มีตวั ยาออกมามากเกินไปขอควรระวงั 2

~ 28 ~ : เคยมรี ายงานวาถากนิ ยามะเกลือขนาดสงู กวาทรี่ ะบุไว หรอื เตรยี มไวนาน สารสำคัญจะ เปลย่ี นเปนสารพษิ ชอื่ diospyrol ทำใหจอรบั ภาพ และประสาทตาอกั เสบ อาจตาบอดได ประโยชนดานอ่ืนๆ เนื้อไมใชทำเฟอรนิเจอรประดับมุก ผล ใหสดี ำ ใชยอมผาและแพรได เล็บมือนาง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Quisqualis indica L. วงศ : Combretaceae ชื่อสามญั : Rangoon Creeper ช่ืออื่น : จะมั่ง จาม่งั มะจีมง่ั ลกั ษณะ : ไมเถาเนือ้ แขง็ ตนแกมกั มกี ลิ่นทเี่ ปลย่ี นเปนหนาม ใบเด่ียว เรียงตรงขาม รปู วงรี หรือรปู ไขแกมขอบขนาน กวาง 5-8 ซม. ยาว 10-16 ซม. ดอกชอ ออกทีป่ ลายกง่ิ และซอกใบบรเิ วณปลาย ก่งิ กลบี ดอกสแี ดงโคนกลบี เล้ียงเปนหลอดเรยี วยาว สีเขียว ผลเปนผลแหง รูปกระสวย มเี ปลือก แขง็ สนี ้ำตาลเขม มสี ันตามยาว 5 สนั ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชเนอ้ื ในเมลด็ แหงเปนยาขบั พยาธิไสเดอื น สำหรับเดก็ กิน คร้งั ละ 2-3 เมลด็ และผใู หญคร้งั ละ 4-5 เมล็ด โดยนำมาปนเปนผง ผสมกับน้ำผึ้ง ปนเปนยา

~ 29 ~ ลกู กลอน หรือตมเอานำ้ ดื่ม หรือทอดกบั ไขกินก็ได สารท่มี ฤี ทธิ์ขับพยาธไิ ดแกกรด quisqualic ซ่งึ เปนกรดอะมิโนชนดิ หน่ึง ฟาทะลายโจร ชือ่ วิทยาศาสตร : Andrographis paniculata (Burm.) Wall. ex Nees วงศ : Acanthaceae ชอ่ื อนื่ : คีปงฮี (จนี ) ฟาทะลายโจร หญากันงู นำ้ ลายพังพอน ลกั ษณะ : ไมลมลกุ สูง30-60 ซม.ทง้ั ตนมีรสขม ลำตนเปนส่เี หล่ยี ม แตกกิง่ ออกเปนพมุ เลก็ ใบ เด่ียว เรยี งตรงขาม รูปไขหรือรปู ใบหอก กวาง 2-3 ซม. ยาว4-8 ซม. สเี ขยี วเขมเปนมัน ดอกชอ ออกท่ปี ลายกงิ่ และซอกใบ ดอกยอยขนาดเลก็ กลีบดอกสีขาว โคนกลบี ดอกตดิ กนั ปลายแยก

~ 30 ~ ออกเปน 2 ปาก ปากบนมี 3 กลบี มีเสนสแี ดงเขมพาดตามยาว ปากลางมี 2 กลีบ ผลเปนฝกสี เขยี วอมนำ้ ตาล ปลายแหลม เมอ่ื ผลแกจะแตกเปนสองซีก ดดี เมลด็ ออกมา ประโยชนทางสมนุ ไพร : ชาวจีนใชฟาทะลายเปนยามาแตโบราณ และมาเปนทีน่ ยิ มใชในปะเทศ ไทยเม่อื ไมนานมานี้ โดยใชเฉพาะใบหรอื ทัง้ ตนบนดินซึ่งเก็บกอนท่ีจะมีดอกเปนยาแกเจ็บคอ แก ทองเสีย แกไข เปนยาขมเจรญิ อาหาร การศกึ ษาฤทธิ์ลดไขในสตั วทดลองพบวาสารสกัด แอลกอฮอลมีแนวโนมลดไขได รายงานการใชรักษาโรคอุจจาระรวงและบิดไมมีตวั แสดงวาฟา ทะลายมปี ระสทิ ธิภาพในการรักษาเทากบั เตตราซยั คลนิ แตในการรักษาอาการเจ็บคอน้ันมรี ายงาน ท้งั ทไ่ี ดผลและไมไดผลขนาดทใี่ ชคอื พชื สด 1-3 กำมือ ตมน้ำดมื่ กอนอาหารวนั ละ 3 คร้ัง หรอื ใช พชื แหงบดเปนผงละเอียดปนเปนยาลกู กลอนขนาดเสนผาศนู ยกลางประมาณ 0.8 ซม. กินคร้งั ละ 3-6 เม็ด วันละ 3-4 ครง้ั กอนอาหารและกอนนอน สำหรับผงฟาทะลายทบ่ี รรจแุ คปซูล ๆ ละ 500 มลิ ลิกรมั ใหกนิ ครั้งละ 2 เมด็ วันละ 2 คร้งั กอนอาหารเชาและเย็น อาการขางเคยี งที่ อาจพบคือ คลน่ื ไส กระเจีย๊ บแดง ช่ือวิทยาศาสตร : Hibiscus sabdariffa L.

~ 31 ~ วงศ : Malvaceae ช่ือสามัญ : Roselle ช่ืออืน่ : กระเจ๊ียบ กระเจ๊ยี บเปร้ีย ผกั เกง็ เคง็ สมเกง็ เค็ง สมตะเลงเครง ลักษณะ : ไมพุม สงู 50-180 ซม. มีหลายพนั ธุ ลำตนสมี วงแดง ใบเด่ียว รปู ฝามือ 3 หรอื 5 แฉก กวางและยาวใกลเคยี งกนั 8-15 ซม. ดอกเดย่ี ว ออกทีซ่ อกใบ กลีบดอกสีชมพหู รอื เหลืองบริเวณ กลางดอกสีมวงแดง เกสรตวั ผเู ช่อื มกันเปนหลอด ผลเปนผลแหง แตกได มกี ลีบเล้ยี งสแี ดงฉำ่ น้ำ หมุ ไว ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชใบและยอดออนซึ่งมรี สเปร้ยี วแกไอ เมล็ดบำรงุ ธาตุ ขบั ปสสาวะ มรี ายงานการทดลองในผูปวยโรคน่ิวในทอไต ซง่ึ ดมื่ ยาชงกลีบเล้ียงแหงของผล 3 กรมั ใน นำ้ 300ซีซี วันละ 3 ครัง้ ทำใหถายปสสาวะสะดวกข้นึ บางรายนว่ิ หลดุ ไดเอง นอกจากน้ีทำให ผูปวยกระเพาะปสสาวะอักเสบมีอาการปวดแสบเวลาปสสาวะนอยลง

~ 32 ~ หญาหนวดแมว ช่อื วทิ ยาศาสตร : Orthosiphon grandiflorus Bolding วงศ : Labiatae ชอ่ื สามญั : Cat's Whisker ช่อื อ่นื : พยบั เมฆ ลักษณะ : ไมพุม สูง 0.5-1 เมตร กงิ่ และกานส่เี หลี่ยมสมี วงแดง ใบ เด่ยี ว เรียงตรงขาม รปู ไขแกม สเ่ี หลี่ยมขาวหลามตดั กวาง 2-4 ซม. ยาว 4-7 ซม. ขอบใบหยกั ฟนเล่อื ย ดอก ชอ ออกท่ีปลายกงิ่ มี 2 พันธุคือพนั ธุดอกสีขาวและพันธุดอกสีมวงน้ำเงิน เกสรตัวผูยน่ื พนกลบี ดอกออกมายาวมาก ผล เปนผลแหงไมแตก รูปรขี นาดเลก็ ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชทั้งตนเปนยาขับปสสาวะ แกโรคปวดตามสนั หลงั และบัน้ เอว ใบเปนยารกั ษาโรคเบาหวานและลดความดนั โลหิต มกี ารทดลองใชใบแหงเปนยาขบั ปสสาวะ ขับกรดยูรคิ ซง่ึ เปนสาเหตขุ องโรคเกาดและรกั ษาโรคน่ิวในไตกบั ผูปวยโรงพยาบาลรามาธิบดี โดย ใชใบแหงประมาณ 4 กรัม ชงกบั นำ้ เดือด 750 ซซี ี ดื่มตางน้ำตลอดวัน ไดผลเปนทีน่ าพอใจของ แพทย พบวาในใบมีเกลือโปแตสเซยี มสูง ผูปวยโรคหัวใจไมควรใช

~ 33 ~ หญาคา ช่ือวทิ ยาศาสตร : Imperata cylindrica Beauv. วงศ : Gramineae ช่ือสามัญ : ลักษณะ : ไมลมลุก สงู 0.3-0.9 เมตร มีเหงาใตดนิ รปู รางยาวและแข็ง ใบ เด่ียว แทงออกจาก เหงา กวาง 1-2 ซม. ยาวไดถงึ 1 เมตรขอบใบคม ดอก ชอ แทงออกจากเหงา ดอกยอยอยูรวมกนั แนน สเี งินอมเทาจาง ผล เปนผลแหง ไมแตก ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชรากและเหงาเปนยาขบั ปสสาวะ แกอาการกระเพาะ ปสสาวะอักเสบ ปสสาวะแดง บำรงุ ไต ขับระดขู าว มกี ารศกึ ษาฤทธ์ขิ บั ปสสาวะในสตั วทดลอง พบวาไดผลเฉพาะนำ้ ตมสวนราก

~ 34 ~ ออยแดง ช่ือวิทยาศาสตร : Saccharum officinarum L. วงศ : Gramineae ชื่อสามัญ : Sugar-cane ชอื่ อ่ืน : ออย ออยขม ออยดำ ลกั ษณะ : ไมลมลุก สงู 2-5 เมตร ลำตนสีมวงแดง มีไขสขี าวปกคลุม ไมแตกก่ิงกาน ใบเด่ยี ว เรียงสลับ กวาง 2.5-5 ซม. ยาว 0.5-1 เมตร ดอกชอ ออกทีป่ ลายยอด สีขาว ผลเปนผลแหง ขนาดเลก็ ออย มหี ลายพนั ธุ แตกตางกันท่คี วามสงู ความยาวของขอและสขี องลำตน ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชลำตนเปนยาขับปสสาวะ โดยใชลำตนสด 70-90 กรัม หรอื แหง 30-40 กรมั หั่นเปนชิ้น ตมนำ้ แบงดืม่ วันละ 2 ครง้ั กอนอาหาร แกไตพกิ าร หนองในและขบั น่วิ แพทยพ้นื บานใชขบั เสมหะ มรี ายงานวาออยแดงมฤี ทธ์ิขับปสสาวะในสัตวทดลอง

~ 35 ~ ขลู ช่ือวิทยาศาสตร : Pluchea indica Less วงศ : Compositae ชอื่ สามัญ : Indian Marsh Fleabane ชือ่ อ่นื : ขลู หนวดง่ัว หนงดงวิ้ หนวดงวั หนวดวัว ลักษณะ : ไมพุม สูง 1-2.5 เมตร ชอบข้นึ ในท่ีชนื้ แฉะ ใบเดย่ี ว เรียงสลับ รปู ไขกลบั กวาง 1-5 ซม. ยาว 2.5-10 ซม. ขอบใบหยกั ซฟ่ี นหาง ๆ ดอกชอ ออกที่ยอดและซอกฟน กลบี ดอกสมี วง ผลเปน ผลแหง ไมแตก ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชทง้ั ตนตมกินเปนยาขบั ปสสาวะ แกเบาหวาน ตมน้ำอาบแก ผน่ื คัน น้ำคั้นใบสดรักษาริดสดี วงทวาร การทดลองในสัตวและคนปกติ พบวายาชงทงั้ ตนมีฤทธิ์ขบั ปสสาวะมากวายาขับปสสาวะแผนปจจบุ ัน (hydrochlorothiazide) และมีขอดีคอื สูญเสยี เกลอื แร นอยกวา

~ 36 ~ สับปะรด ช่อื วิทยาศาสตร : Ananas comosus Merr. วงศ : Bromeliaceae ช่ือสามัญ : Pineapple ชื่ออื่น : ขนนุ ทอง ยานัด ยานนัด บอนดั มะขะนดั มะนัด ลงิ ทอง หมากเกง็ ลกั ษณะ : ไมลมลุกอายหุ ลายป สงู 90-100 ซม. มีลำตนอยูใตดนิ ใบ เดยี่ ว เรียงสลบั ซอนกนั ถี่มา กรอบตน กวาง 6.5 ซม. ยาวไดถึง 1 เมตร ไมมีกานใบ ดอก ชอ ออกจากกลางตน มีดอกยอย จำนวนมาก ผล เปนผลรวม รปู ทรงกระบอก มใี บเปนกระจกุ ทป่ี ลายผล ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเน้อื ผลเปนยาแกไอขบั เสมหะ เหงาเปนยาขบั ปสสาวะ แก นิว่ พบวาลำตน และผลมเี อนไซมยอยโปรตนี ชอ่ื bromelain ใชเปนยาลดการอักเสบและบวม

~ 37 ~ จากการถูกกระแทกบาดแผล หรอื การผาตัด โดยผลิตเปนยาเมด็ ชื่อ Ananase Forte Tablet สะแก ช่อื วิทยาศาสตร : Combretum quadrangulare Kurz วงศ : Combretaceae ช่ือสามญั : ช่อื อ่นื : แก ขอนแข จองแข แพง สะแก

~ 38 ~ ลกั ษณะ : ไมยนื ตน สงู 5-10 เมตร ก่งิ ออนเปนรูปเหลีย่ ม ใบเดี่ยว เรยี งตรงขาม รปู วงรี หรอื รูปไข กลับ กวาง 3-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ดอกชอ ออกที่ซอกใบ และปลาดยอด ดอกยอยมขี นาดเลก็ กลบี ดอกสีขาว ผลแหง มี 4 ครบี เมล็ดสีน้ำตาลแดง รูปกระสวย มี 4 สนั ตามยาว ประโยชนทางสมุนไพร : เมลด็ แก-ใชขับพยาธิไสเดอื น และพยาธเิ สนดายในเด็ก โดยใช ขนาด 1 ชอนคาว หรอื 3 กรัม ตำผสมกบั ไขทอดกนิ คร้งั เดียว ขณะทองวาง พลู ช่อื วิทยาศาสตร : Piper betle L.

~ 39 ~ วงศ : Piperaceae ชื่อสามัญ : Betel Vine ลกั ษณะ : ไมเถาเนอื้ แขง็ รากฝอยออกบริเวณขอใชยึดเกาะ ขอโปงนนู ใบ เดยี่ ว เรยี งสลบั รูปหัวใจ กวาง 8- 12 ซม. ยาว 12-16 ซม. มีกลิ่นเฉพาะและมีรสเผด็ ดอก ชอ ออกที่ซอกใบ ดอกยอยขนาดเลก็ อัด แนนเปนรปู ทรงกระบอก แยกเพศ สขี าว ผล เปนผลสด กลมเลก็ เบียดอยูบนแกน พลูมหี ลายพนั ธุ เชนพลูเหลอื ง พลูทองหลาง ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชน้ำค้ันใบสดกินเปนยาขบั ลมและทาแกลมพิษ โดยใช 3-4 ใบ ขย้ีหรอื ตำใหละเอยี ด ผสมเหลาโรงเล็กนอย ทาบรเิ วณทีเ่ ปน ใบมีน้ำมนั หอมระเหย ประกอบดวย สาร chavicol และ eugenol ซ่งึ มฤี ทธทิ์ ำใหชาเฉพาะท่ี สามารถบรรเทาอาการคันและฆาเช้ือโรค บางชนิดดวย จงึ มกี ารพัฒนาตำรับยาข้ผี ้งึ ผสมสารสกัดใบพลูข้ึนเพอ่ื ใชเปนยาทารักษาโรคผิวหนัง บางชนิด

~ 40 ~ ทองพนั ชั่ง ช่ือวิทยาศาสตร : Rhinacanthus nasutus Kurz วงศ : Acanthaceae ชอ่ื อ่นื : ทองคนั ชง่ั หญามันไก ลกั ษณะ : ไมพุมสูง 1-2 เมตร กิง่ ออนมกั เปนสนั ส่เี หลย่ี ม ใบเดี่ยวเรียงตรงขามรูปไขหรอื รูปวงรี กวาง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. ดอกชอ ออกท่ีซอกใบกลีบดอกสขี าว โดคนกลบี ตดิ กันเปนหลอด ปลายแยกเปน 2 ปาก ปากลางมจี ุดประสีมวงแดง ผลเปนผลแหง แตกได ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชใบสดและรากโขลกละเอยี ด แชเหลาโรง 1 สัปดาหเอานำ้ ทาแกกลากเกลอ้ื น สารสำคญั คอื rhinacanthin และ oxymethylanthraquinone

~ 41 ~ มะหาด ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Artocarpus lakoocha Roxb. วงศ : Moraceae ชอ่ื อ่ืน : หาด ขนุ ปา มะหาดใบใหญ ลักษณะ : ไมยืนตน สงู ประมาณ 30 เมตร ทรงพุมแผกวาง ใบ ดยี่ ว เรียงสลบั รปู ขอบขนานหรอื รปู วงรี กวาง 8-10 ซม. ยาว 10-20 ซม. หลงั ใบเปนมนั สเี ขยี วเขม ทองใบสาก ดอก ชอ ออกท่ี ซอกใบ คอนขางกลม กานสั้น แยกเพศ อยูบนตนเดยี วกนั ผล เปนผลรวม สีเหลือง ผวิ ขรขุ ระ มี ขนนุม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชปวกหาดเปนยาถายพยาธิเสนดาย พยาธิไสเดอื นและพยาธิ ตัวตืดสำหรบั เดก็ สารที่ออกฤทธคิ์ อื 2, 4, 3, 5- tetrahydroxystillbene จากการศกึ ษาไมพบ ความเปนพิษ ขนาดท่ใี ชคอื ผงปวกหาด 3 กรัม ละลายน้ำเย็นดื่มตอนเชามดื หลงั จากนั้น ประมาณ 2 ชวั่ โมงใหกินยาถาย (ดีเกลือ) นอกจากน้ียังใชละลายน้ำทาแกคนั “ปวกหาด” เตรียม โดยการเคย่ี วเนือ้ ไมกับน้ำ กรองเนอื้ ไมออก บีบน้ำออกใหแหง จะไดผงสนี วลจบั กนั เปนกอน ยาง ไฟจนเหลอื ง เรยี กกอนนี้ไดวา ปวกหาด

~ 42 ~ พญาปลองทอง ชอื่ วิทยาศาสตร : Clinacantus nutans (Burm.) Lindau วงศ : Acanthaceae ช่ืออ่ืน : ผกั มนั ไก ผักล้ินเขียด พญาปลองคำ พญาปลองดำ พญายอ เสลดพงั พอน เสลดพงั พอนตวั เมยี ลกั ษณะ : ไมพุมรอเล้ือย สงู 1-3 เมตร ใบเด่ยี ว เรียงตรงขาม รูปใบหอก กวาง 1-3 ซม. ยาว 4- 12 ซม. สีเขียวเขม ดอกชอ ออกเปนกะจุกท่ปี ลายกิ่ง กลบี ดอกสแี ดงสม โคนกลบี สเี ขยี ว ติดกัน เปนหลอดยาว ปลายแยกเปน 2 ปาก ไมคอยออกดอก ผลเปนผลแหง แตกได ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชใบสดรักษาแผลไฟไหมนำ้ รอนลวก แมลงกัดตอย ผื่นคนั โดยนำใบสด 5-10 ใบ ตำหรอื ขยที้ า การทดลองในสัตวพบวาสารสกัดใบสดดวย n- butanol สามารถลดการอักเสบได มกี ารเตรยี มเปนทงิ เจอรเพ่ือใชทารกั ษาอาการอกั เสบจากเรมิ ในปาก โดยใชใบสด 1 กก. ปนละเอยี ด เติมแอลกอฮอล 70% 1 ลิตร หมัก 7 วัน กรอง ระเหยบน เครื่ององั ไอนำ้ ใหปรมิ าตรลดลงครง่ึ หนงึ่ เติมกลเี ซอรีนเทาตัว

~ 43 ~ มะนาว ชอ่ื วิทยาศาสตร : Citrus aurantifolia Swing. วงศ : Rutaceae ชอ่ื สามัญ : Common Lime ช่ืออน่ื : สมมะนาว มะลิว (ภาคเหนือ) ลกั ษณะ : ไมพุม สูง 2-4 เมตร ก่ิงออนมหี นาม ใบประกอบชนิดมใี บยอยใบเดยี ว เรียงสลับ รปู ไข รูปวงรีหรือรูปไขแกมขอบขนานกวาง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เน้อื ใบมจี ดุ น้ำมนั กระจาย กานใบมี ครบี เล็ก ๆ ดอกเดย่ี วหรือชอ ออกทปี่ ลายกิ่งและที่ซอกใบ กลีบดอกสขี าว กล่ินหอม รวงงาย ผล เปนผลสด กลมเกลีย้ ง ฉ่ำนำ้ ประโยชนทางสมนุ ไพร : รายาไทยใชนำ้ มะนาวและผลดองแหงเปนยาขับเสมหะแกไอ แกโรค เลือดออกตามไรฟน เพราะมวี ิตามนิ ซี นำ้ มะนาวเปนกระสายยาสำหรับสมนุ ไพรทใี่ ชขบั เสมหะเชน ดปี ลี

~ 44 ~ มะแวงเครอื ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Solanum trilobatum L. วงศ : Solanaceae ชื่ออ่ืน : แขวงเคยี ลักษณะ : ไมเลอ้ื ย มีหนามตามกง่ิ กาน ใบเดี่ยว เรยี งสลบั รปู ไขกวาง 4-5 ซม. ยาว 5-8 ซม. ขอบ ใบเวา มีหนามตามเสนใบ ดอกชอ ออกทีป่ ลายกิง่ และซอกใบ กลบี ดอกสมี วง ผลเปนผลสด รปู กลม ผลดิบสีเขียวมลี ายตามยาว เม่อื สกุ สแี ดง ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผลสดแกไอขับเสมหะ โดยใชขนาด 4-10 ผล โขลกพอ แหลกคัน้ เอาน้ำใสเกลอื เล็กนอย จบิ บอยๆ หรอื เคยี้ วกลนื เฉพาะน้ำจนหมดรสขมเฝอน มะแวง เครอื เปนสวนผสมหลักในยาประสะมะแวงเชนกนั นอกจากนีใ้ ชขับปสสาวะแกไขและเปนยาขม เจรญิ อาหารดวย

~ 45 ~ มะแวงตน ช่ือวิทยาศาสตร : Solanum indicum L. วงศ : Solanaceae ชอื่ อื่น :

~ 46 ~ ลักษณะ : ไมพุม สงู 1-1.5 เมตร ลำตนมขี นนุม ใบเดย่ี ว เรยี งสลับรปู ไขหรอื รูปขอบขนาน กวาง 4-10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบเวา ผวิ ใบมขี นนมุ ท้ังสองดาน ดอกชอ ออกตามก่ิงหรือที่ ซอกใบ กลีบดอกสมี วง ผลเปนผลสด รูปกลม ผลดบิ สเี ขียวออน ไมมลี าย เม่อื สุกสสี ม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผลสดแกไอขับเสมหะ รกั ษาเบาหวาน ขบั ปสสาวะ มีการ ทดลองในสตั ว พบวาน้ำสกดั ผลมีฤทธล์ิ ดน้ำตาลในเลือด แตมีฤทธ์ินอยและระยะเวลาการออกฤทธิ์ ส้ัน พบสเตดรอยดปริมาณคอนขางสูง จงึ ไมควรใชติดตอกนั เปนเวลานาน มะแวงตนเปนสวนผสม หลกั ในยาประสะมะแวง ซ่งึ องคการเภสชั กรรมผลิตขนึ้ ตามตำรับยาสามัญประจำบานแผนโบราณ แหวหมู ช่ือวิทยาศาสตร : Cyperus rotundus L. วงศ : Cyperacear

~ 47 ~ ชือ่ สามญั : Nutgrass ชือ่ อ่นื : หญาขนหมู ลักษณะ : ไมลมลกุ อายหุ ลายป สูง 20-40 ซม. มีลำตนใตดินเปนหวั คลายหัวแหวไทย แตกแขนง ลำตนเปนเสนแข็งเหนียวอยูใตดินและงอกเปนหัวใหมได ใบเด่ยี ว จำนวนมาก แทงออกจากหวั กวาง 2-6 มม. ยาว 5-20 ซม. ดอกชอ คลายดอกหญา สีนำ้ ตาลแดง แตกแขนงเปน 4-10 กง่ิ กาน ชอดอกเปนสามเหล่ยี มตรง ผลเปนผลแหง ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชหัวใตดนิ เปนยาบำรุงหวั ใจ ขับเหง่อื และขับปสสาวะ การ ทดลองในสัตวพบฤทธิข์ บั ปสสาวะ ลดไข ลดความดันโลหติ และลดการอักเสบ ซึ่งเชือ่ วาเกดิ จาก a- cyperone นอกจากน้ีพบฤทธ์ิยบั ย้งั การเจรญิ เติบโตของเชื้อมาลาเรียชนิดฟลซพิ ารมั ในหลอด ทดลองดวย

~ 48 ~ เรว ชอ่ื วิทยาศาสตร : Amomum xanthioides Wall. วงศ : Zingiberaceae ช่อื สามญั : Bustard cardamom, Tavoy cardamom ช่ืออ่ืน : หมากแหนง (สระบรุ )ี หมากเนิง (อสี าน) มะอี้ หมากอ้ี มะหมากอ้ี (เชยี งใหม) หนอเนง (ชัยภมู ิ) ลักษณะ : เรวเปนพืชลมลุก มเี หงาหรอื ลำตนอยูในดิน จัดเปนพืชสกลุ เดียวกับ กระวาน ขา ขงิ ใบมลี ักษณะ ยาวเรียว ปลายใบแหลมและหอยโคงลง กานใบมีขนาดส้นั ออกดอกเปนชอจากยอดท่แี ทงขน้ึ มา จากเหงา ดอกมสี ีขาวกานชอดอกสัน้ ผลมขี นสแี ดงปกคลมุ เมลด็ มีสนี ำ้ ตาล เรวมีหลายชนดิ เชน เรวหอม เรวชาง เรวกอ ซง่ึ เรวเหลานม้ี ีลกั ษณะตนแตกตางกันไป ประโยชนทางสมนุ ไพร : นำ้ มันหอมระเหยในเมลด็ เรวมีฤทธิ์เปนยาขบั ลม ชวยแกอาการทองอดื ทองเฟอ แนน จกุ เสยี ด โดย ใชเมลด็ ประมาณ 3 กรัม บดใหเปนผงรับประทานวันละ 3 ครั้ง และชวยขับเสมหะ แกคล่ืนเหียน อาเจียนไดดีอกี ดวย

~ 49 ~ ดีปลี ชอื่ วิทยาศาสตร : Piper chaba Hunt วงศ : Piperaceae ชื่อสามญั : Long Pepper ลักษณะ : ไมเถารากฝอยออกบรเิ วณขอเพ่ือใชยึดเกาะ ใบ เดีย่ วรูปไขแกมขอบขนาน กวาง 3- 5 ซม. ยาว 7-10 ซม. สเี ขียวเขมเปนมัน ดอก ชอ ออกท่ซี อกใบ ดอกยอยอดั กันแนน แยกเพศ ผล เปนผลสด มีสเี ขยี ว เมอ่ื สุกจะเปลย่ี นเปนสแี ดง รสเผ็ดรอน ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผลแกจดั แตยังไมสุกตากแหงเปนยาขับลม บำรุงธาตุ แก ทองเสีย ขับรกหลงั คลอด โดยใชผล 1 กำมือ (ประมาณ 10-15 ผล) ตมเอานำ้ ดื่ม นอกจากนใ้ี ช เปนยาแกไอ โดยเอาผลแหงคร่ึงผลฝนกับมะนาวแทรกเกลือใชกวาดคอหรอื จิบบอยๆ ฤทธิข์ บั ลม และแกไอ เกดิ จากนำ้ มันหอมระเหยและสาร piperine พบวาสารสกดั เมทานอลมีผลยบั ยัง้ การบบี ตัวของลำไสเลก็ และสารสกดั ปโตรเลยี มอเี ธอร ทำใหสตั วทดลองแทง จงึ ควรระวงั การใชในสตรีมี ครรภ

~ 50 ~ นอยหนา ชอ่ื วิทยาศาสตร : Annona squamosa L. วงศ : Annonaceae ช่อื สามัญ : Sugar Apple ช่อื อ่นื : นอยแน นะนอแน หมักเขียบ ลกั ษณะ : ไมยนื ตน สงู 3-5 เมตร ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รปู ใบหอกหรือรปู ใบหอกแกมขอบขนาน กวาง 3-6 ซม. ยาว 7-13 ซม. ดอกเด่ียว ออกท่ซี อกใบ หอยลง กลีบดอกสีเหลืองแกมเขยี ว 6 กลีบ เรยี ง 2 ชัน้ ๆ ละ 3 กลบี หนาอวบน้ำ มีเกสรตวั ผูและรังไขจำนวนมาก ผลเปนผลกลุม คอนขาง กลม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชใบสดและเมลด็ ฆาเหา โดยใชเมล็ดประมาณ 10 เมล็ด หรือใบสดประมาณ 1 กำมอื (15 กรัม) ตำใหละเอียด ผสมกับน้ำมนั มะพราวพอแฉะ ขยใ้ี หทว่ั ศรี ษะ ใชผาคลมุ โพกไวประมาณ 10 นาทถี ึงครงึ่ ชัว่ โมง ใชหวสี างเหาออก สระผมใหสะอาด (ระวงั อยาใหเขาตา เพราะจะทำใหตาอกั เสบและแสบได) มรี ายงานยืนยนั วานำ้ ยาท่ีคน้ั จากเมลด็ บดกับ น้ำมันมะพราวในอตั ราสวน 1:2 สามารถฆาเหาไดดีท่ีสดุ คอื ฆาไดถงึ 98% ใน 2 ชัว่ โมง ใชรักษา หดิ กลากและเกลอ้ื นดวย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook