1 แผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ี 1หวั ข้อเรื่อง การขนสง่ กับการจดั การโลจสิ ติกส์และห่วงโซ่อปุ ทานรายละเอียด แนะนากระบวนการเรียนการสอน ความสัมพันธ์ของการขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์และหว่ งโซ่อุปทาน หน้าที่ของการขนส่ง บทบาทของการขนส่งต่อธุรกิจอุตสาหกรรม ความสาคัญของการขนสง่ โครงสรา้ งตน้ ทุนโลจิสตกิ ส์ของประเทศไทยวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่าง การขนส่งกบั การจดั การโลจสิ ติกส์และหว่ งโซ่อปุ ทานได้ 2. อธิบายหนา้ ทีข่ องการขนส่งได้ 3. อธิบายบทบาทการขนสง่ ที่มตี ่อธุรกิจอุตสาหกรรม 4. บอกความสาคัญของการขนส่งได้ 5. อธิบายโครงสร้างตน้ ทุนโลจิสตกิ ส์ของประเทศไทยได้จานวนชั่วโมงทีส่ อน 3 ชวั่ โมงกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ชีแ้ จงเน้ือหาและวัตถปุ ระสงค์ของบทเรียน 2. ผเู้ รียนทาแบบประเมินก่อนเรียน 3. ผู้สอนบรรยายเน้ือหาความสัมพันธ์ของการขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน หน้าที่ของการขนส่ง บทบาทของการขนส่งต่อธุรกิจอุตสาหกรรม ความสาคัญของการขนส่ง โครงสรา้ งตน้ ทนุ โลจิสตกิ ส์ของประเทศไทย 4. สรปุ เนือ้ หาของบทเรียน 5. ให้ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดท้ายบทเรียน
2สอ่ื การสอน 1. เอกสารประกอบการสอนการจดั การขนส่งและกระจายสินค้า 2. แบบประเมินผู้เรยี นก่อนเรียน 3. เครื่องคอมพวิ เตอร์โน๊ตบุ๊ค 4. power-point เร่ือง ความสัมพันธ์ของการขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน หน้าที่ของการขนส่ง บทบาทของการขนส่งต่อธุรกิจอุตสาหกรรม ความสาคัญของการขนส่ง โครงสรา้ งตน้ ทุนโลจิสตกิ ส์ของประเทศไทย 5. แบบฝกึ หดัแผนการประเมินผลการเรียนรู้ 1.ผลการเรียนรู้ 1.1 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบสูงท้ังต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.2 ดา้ นความรู้ 1.2.1 มีความรู้และเข้าใจหลักการและทฤษฎีพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและโลจิสติกส์ 1.2.2 มีความเข้าใจในการปฏิบัติงานทางวชิ าชีพโลจิสติกส์อุตสาหกรรม 1.2.3 เข้าใจหลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและโลจสิ ติกส์ เช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลกั วิศวกรรม หลักการจัดการ เป็นต้น และสามารถนามาประยกุ ต์หรอื เปน็ พืน้ ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลจิสตกิ ส์อตุ สาหกรรม 1.3 ด้านทักษะทางปัญญา 1.3.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมา 1.3.2 สามารถแก้ปัญหาทางด้านโลจิสติกส์อุตสาหกรรมได้โดยนาหลักการตา่ งๆมาอ้างองิ ได้อย่างเหมาะสม 1.3.3 มีความใฝห่ าความรู้ 1.4 ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1.4.1 สามารถทางานกบั ผอู้ ื่นได้เป็นอย่างดี
31.5 ด้านทักษะการวิเคราะหต์ ัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ1.5.1 มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในอันที่จะวิเคราะห์สถานการณต์ ลอดจนนาเสนอข้อมูลโดยใช้คณติ ศาสตร์หรอื สถิติ2. วิธีการประเมนิ ผล2.1 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม2.1.1 ประเมินจากการตรงเวลาการเข้าช้ันเรียนของนิสิต การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย และการรว่ มกิจกรรม2.1.2 ประเมินการกระทาทุจรติ ในการสอบ และการคดั ลอกงานของผู้อ่ืน2.1.3 ประเมินจากความรบั ผดิ ชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย2.2 ด้านความรู้ ประเมินจากผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและการปฏิบตั ิของนสิ ิต-นกั ศึกษา ในด้านต่างๆ คือ2.2.1 การทดสอบย่อย2.2.2 การทดสอบระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน2.2.3 ประเมินจากการตรวจแบบฝกึ หัด/ตรวจรายงาน/ตรวจผลงาน2.3 ด้านทกั ษะทางปญั ญา2.3.1 ประเมินจากการอภปิ รายแสดงความคิดเหน็2.3.2 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน2.3.3 ประเมินจากการทดสอบ2.3.4 การแสดงความคิดเห็นในชน้ั เรียน ทั้งรายกลุ่มและรายบคุ คล2.4 ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ2.4.1 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมขณะทากิจกรรมระหว่างภาค2.5 ด้านทกั ษะการวิเคราะหต์ วั เลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ2.5.1 การทดสอบระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน2.5.2 ประเมินจากการตรวจผลงาน3. สัดส่วนของการประเมิน3.1 ด้านคุณธรรม 1%3.1.1 มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา และมีความรับผดิ ชอบสูงท้ังตอ่ ตนเอง วิชาชีพและสงั คม 1%3.2 ดา้ นความรู้ 5%
4 3.2.1 มีความรู้และเข้าใจหลักการและทฤษฎีพืน้ ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและโลจสิ ติกส์ 2% 3.2.2 มีความเข้าใจในการปฏิบตั ิงานทางวิชาชีพโลจสิ ติกส์อตุ สาหกรรม 2% 3.2.3 เข้าใจหลักการของศาสตรอ์ ืน่ ที่เกีย่ วข้องด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและโลจิสตกิ ส์ เช่น หลกั เศรษฐศาสตร์ หลักวิศวกรรม หลกั การจดั การ เป็นต้น และสามารถนามาประยกุ ต์หรอื เป็นพืน้ ฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อโลจิสตกิ ส์อุตสาหกรรม 1%3.3 ด้านทักษะทางปัญญา 2% 3.3.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ 1 %โดยใช้หลกั การทีไ่ ด้เรยี นมา3.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ 3.4.1 สามารถทางานกับผอู้ ื่นได้เป็นอย่างดี 1%
5 บทที่ 1 การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกสแ์ ละหว่ งโซ่อปุ ทาน การจัดการขนส่งเป็นกิจกรรมที่สาคัญของโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ในการผลิตสินค้าหรือธุรกิจบริการต่างๆน้ัน ย่อมจะต้องมีการขนส่งเกี่ยวข้อง เช่น การขนส่งวัตถุดิบจากแหล่งวัตถุดิบไปยังโรงงานผลิต ผ่านกระบวนผลิตจนเป็นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ และขนส่งผลิตภัณฑ์น้ันจนไปถึงมือลูกค้าหรือผู้บริโภค จะเห็นได้ว่า การจัดการขนส่งช่วยสนับสนุนกระบวนการเพิ่มคุณค่าจากกระบวนการเพิม่ คุณค่าหน่งึ ไปยงั กระบวนการเพิ่มคณุ ค่าหน่งึ ตลอดทั้งโซ่อุปทานความสมั พนั ธ์ของการขนสง่ กับการจดั การโลจิสติกส์และห่วงโซอ่ ปุ ทาน วิทยา สุหฤทดารง (2550) ให้ความหมายของคาว่า โลจิสติกส์ คือ การปฏิบัติการทุกอย่างที่จาเป็นต่อการส่งมอบสินค้าหรอื การบริการ ยกเว้นการผลิตสินค้าหรือการให้การบริการ ในอุตสาหกรรมการผลิต โลจิสติกส์ครอบคลุมถึงการไหลของวัสดุระหว่างโรงงานและระหว่างสายการผลิตภายในโรงงาน และยงั รวมถึงการไหลของขอ้ มูลสารสนเทศที่เกิดจากกระบวนการทางธุรกรรมซึ่งเกีย่ วโยงกับการไหลของวัสดุ การวิเคราะห์กิจกรรมในอดีต การพยากรณ์ การวางแผนและกาหนดการของกิจกรรมที่จะทาในอนาคต รวมทั้งการไหลของเงินทุนที่เป็นผลจากการเคลื่อนที่ของสินค้าและข้อมูลอกี ด้วย Council of Supply Chain Management Professionals (USA) (2006) ให้ความหมายของคาว่า การจัดการโลจิสติกส์ คือ การวางแผน การนาไปปฏิบัติ และการควบคุมการไหลที่มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล ท้ังในทิศทางไปข้างหน้าและย้อนกลับ และการจัดเก็บของสินค้าบริการ และข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ระหว่างจุดกาหนดและจุดที่มีการบริโภคเพื่อตอบสนองข้อเรยี กร้องของลกู ค้า ห่วงโซ่อุปทาน(Supply Chain) เป็นกระบวนการเริ่มตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบต่างๆ เข้าสู่โรงงานผลิต ผา่ นขั้นตอนการแปรสภาพวัตถดุ ิบที่ได้รับจากผู้ส่งมอบให้มีมูลค่าสูงขึ้น เม่ือผลิตเสร็จสินค้าจะถูกนาไปจัดเก็บในคลังสินค้าเพื่อรอการกระจายหรือจัดส่งไปยังลูกค้า กลยุทธ์ของห่วงโซ่อุ ป ท านที่ มีป ระสิ ท ธิ ผ ล ใ นก า รล ด ต้น ทุ นแ ล ะป รั บ ป รุง ระดั บ ก ารใ ห้บ ริ ก า รน้ัน จะต้ อ ง ค านึ งถึ งปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ภายในห่วงโซ่อุปทานนั้น ซึ่งประกอบขึ้นด้วย ผู้จัดหาวัตถุดิบหรือซัพพลายเออร์(Supplier) โรงงานผลิต (Manufacturer) คลังสินค้า(Warehouse) ศูนย์
6กระจายสินค้า (Distribution Center) และร้านค้าปลีก (Retail Outlet) ซึ่งแต่ละข้ันตอนจะมีค่าใช้จ่ายหรอื ต้นทนุ เกิดข้ึน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) เป็นวิธีการที่บูรณาการหนว่ ยงานตา่ งๆ ตงั้ แต่ซัพพลายเออร์ (Supplier) ผผู้ ลติ คลังสนิ ค้า และร้านค้าให้มีความสัมพันธ์กันและประสานงานกันอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของท้ังระบบให้ต่าที่สดุ และสามารถตอบสนองตอ่ ระดบั บริการทีลกู ค้าต้องการ กิ จ ก ร ร ม โ ล จิ ส ติ ก ส์ จึ ง เ ป็ น ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ ท า ง า น ร่ ว ม กั น ข อ ง ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ นกระบวนการโลจิสติกส์ทั้งห่วงโซ่อุปทาน เพื่อให้การกระจายสินค้าดาเนินไปอย่างถูกต้อง และสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคโดยมีเป้าหมายการจัดการโลจิสติกส์ ดังต่อไปนี้ ถูกผลิตภัณฑ์(Right Product) ถูกจานวน(Right Quantity) ถูกสภาพ(Right Condition) จัดส่งถูกลูกค้า(Right Customer) ถกู สถานที่(Right Place) ถกู เวลา(Right Time) ถกู ต้นทนุ (Right Cost) การขนส่ง (Transportation) จัดเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในการจัดการโลจิสติกส์ ผู้ทาการขนส่งต้องเข้าใจถึงบทบาทของการขนส่งต่อระบบโลจิสติกส์ ในขณะเดียวกันผู้ขนส่งก็ต้องตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยเช่นกัน ดังนั้นการจัดการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพจะมีส่วนสาคัญต่อการลดต้นทุนโดยรวมของสินค้า แต่การบริหารจัดการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพจาเป็นต้องมีการประสานงานกับฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์และฝ่ายอื่นๆ ซึ่งในการขนส่งน้ันผู้ผลิตอาจพิจารณาขนส่งสินค้าไปยังลูกค้าเอง หรือใช้บริการผู้รับจ้างขนส่งภายนอกซึ่งจะต้องพิจารณาคดั เลือกรูปแบบการขนสง่ ที่เหมาะสม คัดเลือกผู้รับจ้างขนส่ง จัดเส้นทางและตารางเวลาการขนส่ง รวบรวมปริมาณการขนส่ง การเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ขนส่งหากจาเป็น รวมถึงเจรจาต่อรองกับผู้รับจ้างขนส่งอีกด้วย ซึ่งสามารถกล่าวสรุปได้ว่าการขนส่งเป็นส่วนประกอบที่สาคัญ แมจ้ ะเป็นเพียงแค่สว่ นหนง่ึ ของระบบโลจสิ ติกส์และหว่ งโซ่อทุ านก็ตามหน้าที่ของการขนสง่ไชยยศ ไชยมน่ั คง และ ดร.มยขุ พนั ธ์ ไชยมัน่ คง (2552) ได้กล่าวถึง หน้าที่ของการขนส่งมี 2 อย่างดงั น้ี 2.1 หนา้ ที่เคลือ่ นย้ายผลิตภัณฑ์ การขนส่งทาหน้าที่เคลื่อนย้ายวัตถุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ(components) ผลิตภัณฑ์ระหว่างกระบวนการผลิต (work in process) สินค้าสาเร็จรูป (finished Products) และการนาผลิตภัณฑ์
7กลับมายังโรงงาน (reverse logistics) ผลิตภัณฑ์ที่นากลับมาอาจเป็นเพราะเสียหาย บกพร่องต้องการซ่อมบารุงหรอื การเรียกคืน รวมถึงการนาบรรจุภัณฑใ์ ช้แล้วกลบั คืนบริษทั 2.2 หนา้ ทีเ่ ก็บรกั ษาผลติ ภณั ฑ์ การขนส่งทาหน้าที่เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ระหว่างขนส่ง การขนส่งใช้เวลาแตกต่างไปตามระยะทางและรูปแบบการขนส่งที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ระหว่างขนส่ง เรียกว่า สินค้าคงคลังระหว่างขนส่ง (transit inventory) ต้นทุนสินค้าคงคลังระหว่างขนส่งมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระยะทางรปู แบบการขนสง่ และมูลค่าสินค้าบทบาทของการขนสง่ ตอ่ ธุรกิจอตุ สาหกรรม บริษัทต้องใช้การขนส่งเพื่อเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ การขนส่งเป็นปัจจัยพื้นฐานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ขณะที่ประเทศในโลกมีความได้เปรียบการแข่งขันแตกต่างกันและคนในโลกต้องการสินค้า ผลิตภัณฑ์จึงมีการขนส่งระหว่างประเทศ เพือ่ ใช้ประโยชน์แหล่งผลติ ต้นทุนตา่ และตอบสนองความต้องการสินค้าของผู้บริโภค 1. ความหมายการจัดการขนส่ง มีคา 2 คาที่ใช้กันกว้างขวาง คือ TransportationManagement และ Traffic Management คา 2 คานี้มีความหมาย “การจัดหาและควบคุมบริการขนส่งให้เปน็ ไปตามความต้องการของลกู ค้า” ลูกค้านั้นครอบคลุมท้ังลูกค้าในบริษัทและนอกบริษัทบริษัทใช้บริการขนส่งเพื่อนาวตั ถดุ ิบมายงั โรงงานและขนส่งสินค้าไปยังคลังสินค้าและให้ลูกค้า การจัดหาบริการขนส่งครอบคลุมการเลือกรูปแบบขนส่ง ผู้ให้บริการขนส่งและมีบริการขนส่งของตนเอง บริษทั จะต้องจัดการการขนส่งให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า 2. บทบาทการขนสง่ การขนสง่ มบี ทบาทต่อทั้งบริษทั ประเทศและโลก ดังน้ี 1) บทบาทการขนส่งต่อบริษัท บริษัทต้องใช้วัตถุดิบเป็นปัจจัยการผลิต วัตถุดิบเหล่านี้บริษัทผลิตเองและซื้อจากผู้ผลิตภายนอก แหล่งผลิตอาจอยู่ในประเทศหรือต่างประเทศการนาวัตถุดิบมายังโรงงานต้องใช้การขนส่ง การขนส่งจงึ สนับสนุนการผลิต ขณะที่สินค้าสาเร็จรูปก็ต้องใชบ้ ริการขนส่ง การขนสง่ จึงสนบั สนนุ การตลาด 2) บทบาทการขนส่งต่อประเทศ ประเทศมีพื้นที่กว้างใหญ่ มีประชาชนต้ังถิ่นฐานอยู่ทั่วไปและมีกิจกรรมการผลิตกระจายไปตามภูมิภาคของประเทศ การขนส่งจึงมีบทบาทกับการพัฒนาเศรษฐกิจ การค้า การผลิต สังคมและความม่ันคง เม่ือรัฐบาลลงทุนพัฒนาการขนส่งก็จะมีกิจกรรมเศรษฐกิจเกิดข้ึน เชน่ ใชพ้ ืน้ ที่เพาะปลกู ลงทุนผลิตสนิ ค้า การค้าขาย การขนส่งยังเอื้อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสงั คมได้สะดวก เช่น บริการการแพทย์ การศึกษา การขนส่งจึงมีบทบาทในการพัฒนาประเทศทั้งดา้ นเศรษฐกิจและสังคม
8 3) บทบาทการขนส่งต่อโลก การขนส่งที่ก้าวหน้าทาให้โลกเล็กลง เพราะการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีขนสง่ เทคโนโลยีขนสง่ ทาให้ผู้โดยสารและผลิตภัณฑ์เดินทางได้รวดเร็วจากประเทศหนึ่งไปยงั อีกประเทศหนึง่ หรอื ทวีปหนึ่งไปยงั อีกทวีป บริการขนส่งที่เป็นเครือข่ายไปท่ัวโลกทาให้ใช้ประโยชน์ทรัพยากรและความเชี่ยวชาญของแต่ละประเทศ การผลิตจึงกระจายไปยังทุกสถานที่ในโลกที่มีความได้เปรียบการแข่งขัน ผลิตภัณฑ์เหล่านี้กระจายไปตามแหล่งผลิตสินค้าสาเร็จรูปและแหล่งบริโภค ผู้บริโภคซื้อสินค้าได้ในราคาที่ต่าทาให้มีความเป็นอยู่ดีขึ้น ตามที่กล่าวมาสิ่งเหล่านี้เกิดได้เพราะบริโภค ผู้บริโภคซื้อสินค้าได้ในราคาที่ต่าทาให้มีความเป็นอยู่ดีขึ้น ตามที่กล่าวมาสิ่งเหล่านี้เกิดได้เพราะการขนส่ง การขนส่งจึงทาให้การผลิตเป็นผลผลิตโลก (GlobalProduct) และตลาดเป็นตลาดโลก (Global Market)ความสาคญั ของการขนสง่ ความก้าวหน้าเทคโนโลยีขนส่งทาให้การเดินทางท้ังสินค้าและผู้โดยสารรวดเร็วและต้นทุนต่าสิ่งนี้เป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญกับโลกในหลายด้าน ในที่นี้จะกล่าวเฉพาะด้านโลจิสติกส์และหว่ งโซ่อุปทานดงั น้ี 1) สร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์ สินค้าสาเร็จรูปผ่านขั้นตอนการผลิตต่างๆ แต่ละข้ันตอนการผลติ มกี ารเพิ่มคุณค่า (Add Value) กับผลิตภัณฑ์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ข้ันตอนการผลิตเหล่านี้อาจเกิดขึ้นในหลายประเทศ การกระจายข้ันตอนการผลิตเป็นไปได้ก็ด้วยการขนส่ง การขนส่งจึงสนับสนุนการสร้างคุณค่ากับผลิตภัณฑ์ทั้งด้านคุณภาพและต้นทุน สินค้าสาเร็จรูปที่ผลิตออกมาขายจึงมีคณุ ภาพ ต้นทุนตา่ และประชาชนได้ประโยชน์ สินค้าหากผลิตแล้วเก็บไว้ที่โรงงานก็จะไม่มีค่า สินค้าจะมีค่ากับผู้บริโภคก็เม่ือสินค้าน้ันมีจาหน่ายในเวลาที่ลูกค้าต้องการ (Time Utility) ณ สถานที่ที่มีความต้องการ (Place Utility) และในปริมาณทีต่ อ้ งการ (Quantity Utility) การขนส่งเป็นเคร่ืองมือนาสินค้าไปยังสถานที่ที่ลูกค้าต้องการทาให้สินคา้ มีคา่ และผบู้ ริโภคมคี วามสุขจากการใชป้ ระโยชน์ 2) ขยายพื้นที่ตลาด ค่าขนส่งมีความสาคัญในการกาหนดพื้นที่ตลาด ต้นทุนสินค้าบวกค่าขนส่งจะเป็นราคาขาย(Landed Cost) ราคาขายเป็นตัวกาหนดความสามารถในการแข่งขัน ดังน้ันหากใหต้ ้นทนุ สินค้าคงทีค่ ่าขนส่งก็จะเป็นตัวแปรสาคญั ทีก่ าหนดเขตพืน้ ที่ตลาด ดังน้ี 2.1) การขนส่งกับพื้นที่ตลาด (Transport and Market Area) พื้นที่ตลาดของสินค้าใดสินค้าหนึ่งขึ้นอยู่กับต้นทุนสินค้า(Cost) และค่าขนส่ง ต้นทุน 2 ตัวรวามกันก็จะเป็นราคาขาย(Landed Cost) สินค้าจะแข่งขันได้ในตลาดใดตลาดหนึ่งจงึ อยู่ที่ราคาขาย ภาพที่ 1.1 แสดงการขนส่งกับพืน้ ที่ตลาด
9 Transport cost Baht 20/unitThai MalaysiaCost (Baht 100/unit) Cost (Baht 120/unit) ภาพที่ 1.1 การขนส่งกับพืน้ ที่ตลาดที่มา : ไชยยศ ไทยมน่ั คง และมยขุ พ้นธ์ ไชยมน่ั คง (2556) หนา้ 244 สินค้าชนิดเดียวกันต้นทุนการผลิตในประเทศไทย 100 บาท/หน่วย ในมาเลเซีย120 บาท/หนว่ ย หากค่าขนส่งจากไทยไปตลาดมาเลเซีย 20 บาท/หน่วย ราคาขายสินค้าของผู้ผลิตไทยในตลาดมาเลเซียเท่ากับ 120 บาท (100 บาท + 20 บาท) ซึ่งเท่ากับราคาของผู้ผลิตในมาเลเซีย สินค้าจากไทยก็สามารถแข่งขันกับผู้ผลิตในมาเลเซียได้ อนึ่งค่าขนส่งยังเป็นกาหนดความสามารถในการแข่งขันในตลาดที่ 3 เช่น ผู้ผลิตไทยกับผู้ผลิตมาเลเซียแข่งขนในตลาดญี่ปุ่นถ้าตน้ ทนุ การผลิตเท่ากัน แต่คา่ ขนส่งจากมาเลเซียไปญีป่ ุ่นต่ากว่าจากไทยไปญี่ปุ่น ราคาขายสินค้ามาเลเซียกจ็ ะถกู กว่าของไทย สินค้ามาเลเซียก็มีความได้เปรียบในการแข่งขนั ในตลาดญี่ปุ่น 2.2) การขนสง่ กับเขตตลาด (Extent of Market Area) ผู้ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันแต่โรงงานตั้งอยู่คนละสถานที่ เขตตลาดของผู้ผลิตจะขึ้นอยู่กับค่าขนส่ง ตามภาพที่ 1.2 ผู้ผลิตที่ Aและที่ B ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันและมีต้นทุนการผลิตเท่ากัน โรงงานอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตรต้นทนุ ขนส่งของโรงงานที่ A เท่ากับ 5 บาท/หน่วย/กิโลเมตร ของโรงงานที่ B เท่ากับ 4 บาท/หน่วยกิโลเมตร ค่าขนส่งที่ตา่ งกนั มีผลต่อเขตตลาดManufacturer 300 Kms. Manufacturer A B Cost (Baht 100/unit) Cost (Baht 100/unit)Transport cost (Baht 5/unit/km.) Transport cost (Baht 4/unit/km.) ภาพที่ 1.2 การขนสง่ กับเขตตลาดที่มา : ไชยยศ ไทยมน่ั คง และมยุขพ้นธ์ ไชยมนั่ คง (2556) หนา้ 245การคานวณเขตตลาด ดังนี้ = ต้นทนุ สินค้า B + ค่าขนส่ง Bต้นทุนการผลิต A + ค่าขนส่ง A
10กาหนดให้ E เปน็ เขตตลาดของผู้ผลติ ที่ Aดงั นน้ั เขตตลาดผู้ผลติ ที่ B = (300-E)100+5(E) = 100+(4(300-E))100+5E = 100+1200-4E9E = 1200E = 133.3 กม.เขตตลาดของผู้ผลติ ที่ A จากโรงงานไปเป็นระยะทาง 133.3 กม.เขตตลาดของผู้ผลติ ที่ B จากโรงงานไปเป็นระยะทาง 166.7 กม. (300-133.3 กม.)บริการขนส่งที่ B มีประสิทธิภาพกว่าที่ A ทาให้ผู้ผลติ B มีเขตตลาดไกลกว่า A 2.3) การขนส่งกับพื้นที่ตลาดตามกฎ Lardner (Lardner’s Law) มองตลาดเป็นพืน้ ที่วงกลม เชน่ ผู้ผลิต A สามารถแบกรับภาระค่าขนส่งเป็นระยะทาง 100 ไมล์ พื้นที่ตลาดของ Aก็จะเท่ากับวงกลมเล็ก หากมีการปรับปรุงระบบขนส่งทาให้ค่าขนส่งเท่าเดิมแต่ส่งสินค้าได้ไกลขึ้นเชน่ 200 ไมล์ พ้ืนทีต่ ลาดของ A กจ็ ะเป็นวงกลมใหญ่ ซึ่งเป็น 4 เท่าของวงกลมเล็ก การขยายพื้นที่ตลาดอกี วิธี คือ ผผู้ ลติ รับภาระค่าขนส่งมากขึ้น 200 miles Point100 miles A ภาพที่ 1.3 พืน้ ทีต่ ลาด Lardner’s Law ทีม่ า : ไชยยศ ไทยม่นั คง และมยุขพ้นธ์ ไชยมน่ั คง (2556) หนา้ 246โครงสร้างตน้ ทนุ โลจิสติกสข์ องประเทศไทย จากรายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทยประจาปีในปี 2557 ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า ในปี 2556 ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยมีมูลค่าประมาณ 1,835.2 พันล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 14.2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจาปี (GDP at Current Prices) ข้อมลู ดังแสดงในภาพที่ 1.4
11หมายเหตุ : r หมายถึง ข้อมูลปรับปรุงย้อนหลงั p หมายถงึ ข้อมลู เบือ้ งต้น e หมายถึง ข้อมลู ประมาณการ ภาพที่ 1.4 ต้นทนุ โลจิสตกิ ส์ของประเทศไทย ทีม่ า : สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (2558) โครงสรา้ งตน้ ทุนโลจิสตกิ ส์ ในปี 2556 ต้นทุนค่าขนส่งสินค้ายงั เป็นองค์ประกอบใหญ่ที่สุด คือ มีสัดส่วนร้อยละ 51.9 ของต้นทุนโลจิสติกส์รวม ลดลงจากร้อยละ 52.6 ในปี 2555รองลงมา คอื ตน้ ทนุ การเก็บรกั ษาสินค้าคงคลังมสี ดั ส่วนร้อยละ 39.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 38.4 ในปี 2555 ส่วนตน้ ทุนการบริหารจัดการดา้ นโลจิสติกส์มสี ัดส่วนเพียงร้อยละ 9.1 ดังภาพที่...โดยต้นทนุ ค่าขนส่งสินค้าในปี 2556 มีมลู ค่า 953.2 พันล้านบาทเพิม่ ข้นึ ร้อยละ 1.78 จากปี 2555หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.4 ต่อ GDP ข้อมูลดงั แสดงในภาพที.่ ..
12 ภาพที่ 1.5 โครงสรา้ งตน้ ทุนโลจิสติกส์ในชว่ งปี 2548-2556 ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (2558) ภาพที่ 1.6 แนวโน้มสัดส่วนต้นทุนโลจสิ ติกส์ตอ่ GDP ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (2558)รูปแบบการขนสง่ สินค้าของประเทศไทย การขนสง่ สินค้าภายในประเทศ
13 การขนส่งสินค้าภายในประเทศไทยพึ่งพารูปแบบการขนส่งทางถนนเป็นหลักในขณะที่การขนส่งรูปแบบอื่นไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางน้า การขนส่งทางราง และทางอากาศมีปริมาณการขนส่งน้อย ข้อมูลปริมาณการขนส่งสินค้าในประเทศดังแสดงในตารางที่ 1 ปัจจัยที่สาคญั ประการหนง่ึ คอื การขนสง่ ทางถนนเปน็ รปู แบบการขนส่งที่สามารถเข้าถึงได้ทุกสถานที่ดีกว่าทุกรูปแบบการขนส่ง แม้ว่าจะใช้รูปแบบการขนส่งสินค้าอื่นๆก็ยังจาเป็นต้องเชื่อมต่อกับการขนส่งทางถนนเพื่อให้การขนส่งสินค้าบรรลุตามความต้องการของผู้ใช้บริการอย่างสมบูรณ์ เม่ือพิจารณาสดั ส่วนของรูปแบบการขนส่งสินค้าภายในประเทศในปี 2556 ดังภาพที่ พบว่า การขนส่งทางถนนมีสดั สว่ นที่สูงสดุ ถึงประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณการขนสง่ สินค้าทั้งหมด รองลงมาคือการขนส่งทางน้า ซึ่งประกอบด้วย การขนส่งทางน้าภายในประเทศร้อยละ 9.0 และการขนส่งทางชายฝ่ังทะเล ร้อยละ 8.4 ทางรางรอ้ ยละ 2.2 และทางอากาศ ร้อยละ 0.02ตารางท่ี 1.1 ปริมาณการขนส่งสินค้าภายในประเทศ จาแนกตามรูปแบบการขนส่งที่มา : สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (2558) ภาพที่ 1.7 สัดส่วนของรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้าภายในประเทศในปี 2556 ที่มา : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (2558)
14 การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของไทย ใช้รูปแบบการขนส่งสินค้าทางน้าเป็นหลัก โดยมีสัดส่วนคิดเปน็ รอ้ ยละ 87.36 ของปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศท้ังหมด ทั้งนี้การขนส่งสินค้าทางน้าเป็นรูปแบบที่เหมาะกับการขนส่งสินค้าคราวละมากๆ ระยะทางไกล ต้นทุนต่า ไม่เร่งด่วน แต่จาเป็นต้องมีการวางแผนที่ดี รองลงมา ได้แก่ การขนส่งสินค้าทางถนนร้อยละ12.3 การขนส่งทางอากาศ ร้อยละ 0.3 และการขนส่งทางราง ร้อยละ 0.05ท้ังนี้ ระหว่างปี 2553 –2556 สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางถนนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นผลจากการขยายตัวของการค้าชายแดน และการค้าผ่านแดนของประเทศไทยที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในปี2556 มูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนของไทยอยู่ที่ประมาณ 1 ,034.4พันล้านบาท ขยายตัวจากปี 2555 ประมาณร้อยละ 2.4 และมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทีเ่ ชือ่ มโยงระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะในอนุภมู ิภาคลุ่มแม่นา้ โขง (GMS)ตารางท่ี 1.2 ปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ จาแนกตามรปู แบบการขนส่งที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (2558)
15 ภาพที่ 1.8 สัดส่วนของรูปแบบการขนสง่ สนิ ค้าระหว่างประเทศในปี 2556 ทีม่ า : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (2558)คาถามทบทวน 1. จงอธิบายความสมั พันธ์ระหว่าง การขนส่งการจดั การโลจสิ ติกส์ และหว่ งโซ่อปุ ทาน 2. จงอธิบายหน้าที่ของการขนส่ง 3. การขนส่งมบี ทบาทต่อบริษทั ประเทศ และโลก อย่างไร จงอธิบาย 4. การขนส่งมีความสาคญั อย่างไร จงอธิบาย 5. จงอธิบายภาพรวมของโครงสรา้ งตน้ ทนุ โลจิสตกิ ส์ของประเทศไทยมาพอสังเขป
16 เอกสารอ้างองิกรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม (2557). คูม่ ือพัฒนาศกั ยภาพผ้ปู ระกอบการขนสง่ ด้วยรถบรรทุก.คานาย อภปิ รัชญาสกลุ . (2554). การจดั การขนส่ง กรงุ เทพฯ : บริษทั โฟกัสมีเดีย แอนด์ พบั ลิช ชิง่ จากดัคานาย อภปิ รัชญาสกุล. (2556). การขนส่งในงานโลจสิ ติกส์ กรุงเทพฯ : บริษทั โฟกัสมีเดีย แอนด์ พบั ลิชชิง่ จากดัไชยยศ ไชยมั่นคง และ มยุขพันธุ์ ไชยม่ันคง (2556). กลยทุ ธโ์ ลจสิ ติกสแ์ ละซพั พลายเชนเพื่อ แข่งขันในตลาดโลก นนทบรุ ี : บริษัท วิชนั่ พรีเพรส จากดัไชยยศ ไชยมัน่ คง และ มยุขพันธุ์ ไชยมั่นคง (2556). กลยทุ ธก์ ารขนส่ง นนทบรุ ี : บริษทั วชิ ่นั พรี เพรส จากัดวิทยา สุหฤทดารง.(2546) โลจิสติกส์และการจดั การโซ่อปุ ทาน. กรุงเทพฯ :สานักพิมพบ์ ริษัทซี เอด็ ยเู คช่ันสานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). รายงานโลจสิ ติกส์ ของประเทศไทยประจาปีในปี 2557
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: