แผนการวัดและประเมนิ ผล รายวิชา ภาษาจีนฟงั -พดู 1 รหัสวิชา จ31203 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จัดทำโดย นายนพิ ล โทรกั ษา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนักคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บันทกึ การอนมุ ตั กิ ารใชแ้ ผนการวดั และประเมนิ ผล รายละเอยี ดประกอบแผนการวัดและประเมนิ ผล ผลการนเิ ทศและตรวจสอบ รายวชิ า ภาษาจีนฟงั -พูด 1 รหสั วชิ า จ31203 …............................................................................................... ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 …............................................................................................... …............................................................................................... จำนวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ชัว่ โมง ลงชอื่ .............................................. ลงชื่อ............................................... (นายนพิ ล โทรกั ษา) (นางสาวยุพา มณกี ร) ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ผู้จัดทำ/ผู้ใช้แผนการวัดและประเมนิ ผล ขอ้ คดิ เห็น/ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ........................................................ (นายวชิ า ภมิ ขุ ) ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการกลุ่มงานบริหารวชิ าการ ขอ้ คิดเหน็ และกลั่นกรอง ❑ เหน็ ควรอนมุ ัติ ❑ ไม่เหน็ ควรอนุมัติ เนอ่ื งจาก................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ....................................................... (นายนพดล ธรรมใจอุด) รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ การพิจารณา/อนุมัติ/ส่ังการ ❑ อนุมตั ใิ หใ้ ช้ได้ ❑ ไมอ่ นุมตั ิ เน่อื งจาก.................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื .......................................................... (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา
จดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร โรงเรยี นราประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจดุ หมาย เพื่อให้เกิดกับผเู้ รยี นเมอ่ื จบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดังนี้ 1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ตั ติ น ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ เทคโนโลยีและมีทักษะชวี ติ 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มสี ขุ นสิ ยั และรกั การออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 5. มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนรุ กั ษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งมั่นทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสขุ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หลกั สตู รโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา ม่งุ พฒั นาผเู้ รยี น ใหม้ คี ณุ ภาพ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซ่งึ การพฒั นาผเู้ รยี นใหบ้ รรลุมาตรฐานการเรยี นรทู้ ก่ี าหนดนนั้ จะช่วย ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรม ในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทศั นะของตนเอง เพอ่ื แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสารและประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม รวมทงั้ การเจรจาตอ่ รองเพอ่ื ขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไมร่ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารสอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบเพอ่ื นาไปสกู่ าร สรา้ งสรรคอ์ งคค์ วามรหู้ รอื สารสนเทศเพอ่ื การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรค ตา่ ง ๆ ทเ่ี ผชญิ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มลู
สารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คมแสวงหา ความรู้ ประยุกตค์ วามรมู้ าใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาและมกี ารตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ประจาวนั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง การทางานและ การอยู่ร่วมกนั ในสงั คมด้วยการสร้างเสรมิ ความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปัญหา และความขดั แย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทนั กบั การเปล่ยี นแปลงของสงั คมและ สภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ กั หลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่นื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยดี า้ นต่าง ๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสอ่ื สารการทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม และมี คณุ ธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ์ พ่อื ใหส้ ามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่นื ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะ เป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 3. มวี นิ ยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง 6. มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ
คุณภาพผู้เรียน เม่ือจบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 • ปฏิบัตติ ามคำแนะนำในคู่มือการใช้งานต่างๆ คำชแ้ี จง คำอธิบาย และคำบรรยายท่ีฟังและ อ่าน อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้นถูกต้องตาม หลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรยี งรูปแบบต่างๆ ท่ี อา่ น รวมท้ังระบแุ ละเขียนสื่อท่ีไม่ใช่ความเรยี งรูปแบบตา่ งๆ สัมพนั ธ์กับประโยคและข้อความทฟี่ ังหรือ อา่ น จบั ใจความสำคญั วเิ คราะห์ความ สรปุ ความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่าน เรื่องทเ่ี ปน็ สารคดีและบันเทิงคดี พรอ้ มท้ังให้เหตุผลและยกตวั อยา่ งประกอบ • สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง คำชี้แจง คำอธิบาย และให้คำแนะนำ พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอ และให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จำลองหรือ สถานการณจ์ รงิ อยา่ งเหมาะสม พูดและเขียนเพอ่ื ขอและใหข้ ้อมลู บรรยาย อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียน บรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และ ขา่ ว/เหตุการณ์อยา่ งมเี หตผุ ล • พูดและเขียนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและ ประเดน็ ตา่ งๆ ตามความสนใจ พูดและเขยี นสรุปใจความสำคัญ แกน่ สาระทไ่ี ดจ้ ากการวิเคราะห์เร่ือง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมทั้งให้เหตุผลและ ยกตวั อย่างประกอบ • เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและ สถานทตี่ ามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย/อภิปรายวถิ ชี ีวิต ความคิด ความ เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนำ และจัดกิจกรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม • อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสรา้ งประโยค ข้อความ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย วิเคราะห/์ อภปิ รายความเหมือนและความ แตกตา่ งระหวา่ งวิถชี ีวิต ความเช่ือ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตผุ ล • ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อ่ืน จากแหลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆ และนำเสนอดว้ ยการพูดและการเขยี น
• ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม • ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูล ต่างๆ จากส่อื และแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ ในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร/่ ประชาสัมพันธ์ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ของโรงเรียน ชมุ ชน และท้องถน่ิ /ประเทศชาติ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ • มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ )เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่อง เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลา ว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การ เดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ ประมาณ ๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คำ )คำศพั ทท์ ม่ี รี ะดบั การใช้แตกต่างกนั ) • ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อนสื่อความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนา ทั้งที่ เป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรือ่ งท่ฟี งั และอ่านจากส่ือประเภทต่าง ๆ และแสดงความ คิดเหน็ อยา่ งมเี หตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลข่าวสาร แสดง ความรู้สกึ และความคิดเหน็ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพดู และการเขยี น สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างภาษากบั วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา และ นำไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างภาษากับวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และ นำไปใช้ได้อยา่ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพันธก์ บั กลุม่ สาระการเรยี นร้อู ื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความร้กู ับกลมุ่ สาระการเรยี นรูอ้ ืน่ และเป็นพนื้ ฐาน สาระท่ี 4 ภาษากับความสัมพันธก์ บั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ตา่ งๆ ทัง้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และ สังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใชภ้ าษาต่างประเทศเปน็ เครื่องมือพ้นื ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับสังคมโลก
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม วิชา ภาษาจีนฟัง-พดู 1 รหสั วชิ า จ31203 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ศกึ ษาทกั ษะการอ่านและเขยี นเกีย่ วกบั การทักทาย ตัวเลขภาษาจีน อวัยวะต่างๆของ รา่ ยกาย และถามชอ่ื และอายุเป็นภาษาจนี ทใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ใหม้ ที ักษะการพูด ฟัง อ่าน และเขยี น ในการเรยี นรูแ้ ละคำศัพท์ประโยคทใ่ี ชบ้ ่อยเพ่ือให้ผเู้ รียนเกดิ ทกั ษะการเรียนรู้ภาษาจนี เพม่ิ มากขนึ้ โดยใชก้ ระบวนการฟงั การพดู การอ่าน การเขียน ทั้งในรปู ของคำศพั ท์ ประโยค บทความ โดยใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ ใชภ้ าษาเป็นเคร่ืองมือในการรบั สารและส่งสารได้อย่าง คลอ่ งแคล่วถกู ต้อง เขา้ ถึงสารได้อย่างชดั เจนรวมทง้ั กระบวนการสบื เสาะหาความรู้กระบวนการ กล่มุ การอภปิ ราย และเสนอแนะ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีความร้แู ละบูรณาการในการเรยี นให้เปน็ ผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตย์สจุ ริต มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุง่ มน่ั ในการทำงาน รักความเป็นไทย และมจี ิต สาธารณะ อนรุ ักษ์พลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม สบื สานศลิ ปะวัฒนธรรมท้องถ่นิ ชมุ ชนร่วมพัฒนา ยึด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาทักษะการอ่านและเขียนเก่ียวกับการทักทาย ตัวเลขภาษาจนี อวยั วะ ตา่ งๆของร่ายกาย และถามชื่อและอายุเป็นภาษาจนี ทใ่ี ชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ 2. การเลอื กใช้ภาษา ฟงั เสยี ง และกิรยิ าท่าทางเหมาะสมกบั บคุ คล โอกาสและ สถานทตี่ ามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมจนี 3. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ตามท่ีฟังหรืออ่าน จากสื่อทีเ่ ป็นความเรยี งและไม่ใช่ความเรยี งในรูปแบบตา่ งๆ 4. ทักษะการ ฟัง พูด อ่าน และเขยี น ในการเรียนรู้และคำศพั ท์ประโยคท่ีใชบ้ อ่ ย เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนเกิดทักษะการเรียนรู้ภาษาจีน 5. ฝึกทักษะการฟงั พดู อ่าน เขียน โดยใชค้ ำศัพท์ โครงสร้างสัทอักษร ตวั อักษร จนี ขอ้ ความ บทสนทนาง่ายๆ 6. การทกั ทายและแนะนำสถานท่ี โรงเรยี น ครอบครัว ส่ิงของ เพ่ือใหเ้ กิดทักษะ การใช้ภาษาจนี ในการสอื่ สาร ถา่ ยทอดความร้สู กึ และข้อมูลในชีวติ ประจำวนั ของตนเอง ชุมชน สงั คม และประเทศ 7. น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงประยุกตใ์ ช้ในการดำเนิน ชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม
โครงสร้างรายวชิ า วิชาภาษาจีนฟงั -พดู 1 รหัสวิชา จ31203 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต หน่วย ช่ือหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน ท่ี (ชวั่ โมง) 1 กล่าวคำทักทาย ทักษะการ ฟงั พดู อ่าน -คำศัพทใ์ หม่ 10 10 และเขียน ในการเรียนรู้ -การทกั ทาย -ทักษะการฟงั พูด อ่านเขียน และคำศพั ทป์ ระโยคที่ใช้ -การใช้ประโยคคำถามตาม บอ่ ยเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นเกดิ หลักไวยากรณจ์ ีน ทกั ษะการเรียนรู้ -ร้จู กั ลำดับการเขยี นตวั อักษร ภาษาจีน จนี 2 ตัวเลข บอกความหมายของคำ -คำศพั ท์ใหม่ 10 20 กลุ่มคำ ประโยค หรอื -ตวั เลขจนี ขอ้ ความส้ันๆ ตามที่ฟัง -การถามสนิ ค้า ถามราคา หรืออา่ นจากสอื่ ที่เป็น -รู้จักลำดบั การเขยี นตัวอกั ษร ความเรยี งและไม่ใช่ จนี ความเรียงในรูปแบบ ตา่ งๆ ศกึ ษาทกั ษะการอ่าน และเขียนเก่ยี วกบั การ ทักทาย ตวั เลข ภาษาจีน อวัยวะต่างๆ ของรา่ ยกาย และถาม ชอื่ และอายุเป็น ภาษาจนี ทีใ่ ช้ใน ชวี ิตประจำวันได้
หนว่ ย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน ท่ี (ชัว่ โมง) 3 ถามช่ือและอายุ การทักทายและ --คำศัพท์ใหม่ 10 20 10 20 แนะนำสถานท่ี -อายุ โรงเรียน ครอบครวั -การเรียกชอื่ สง่ิ ของ เพ่ือใหเ้ กดิ -การออกเสยี งภาษาจีน ทกั ษะการใช้ -รู้จักลำดับขดี การเขียน ภาษาจนี ในการ ตวั อกั ษรจีน ส่อื สาร ถ่ายทอด ความรสู้ กึ และขอ้ มลู ในชีวติ ประจำวนั ของ ตนเอง ชมุ ชน สังคม และประเทศ 4 รา่ งกายของฉนั ศกึ ษาทกั ษะการอ่าน -คำศพั ท์ใหม่ และเขยี นเกี่ยวกับ -ร่างกายต่างๆ -การออกเสยี งภาษาจนี การทกั ทาย ตัวเลข -รจู้ กั ลำดบั ขดี การเขียน ภาษาจีน อวยั วะ ตวั อกั ษรจนี ตา่ งๆของรา่ ยกาย และถามช่อื และอายุ เปน็ ภาษาจนี ท่ใี ช้ใน ชวี ติ ประจำวันได้ รวมระหว่างภาค - 70 สอบกลางภาคและปลายภาคเรยี น - 30 รวม 40 100
ผงั มโนทัศน์ วชิ าภาษาจนี ฟงั -พูด 1 รหัสวิชา จ31203 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต กล่าวคำทกั ทาย ตวั เลข ถามชอ่ื และอายุ ร่างกายของฉนั
รายวิชา ภาษาจีนฟัง-พดู 1 การกำหนดสดั ส่วนคะแ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 รหสั วิชา จ31203 เวลา หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ ที่ 1 กลา่ วคำทกั ทาย ทกั ษะการ ฟงั พูด อ่าน และเขยี น ในการ เรยี นรู้และคำศัพทป์ ระโยคท่ีใช้บ่อยเพื่อให้ ผเู้ รียนเกดิ ทกั ษะการเรียนรู้ภาษาจีน
แนนและการวดั และประเมนิ ผล กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ 40 ชวั่ โมง จานวน 1.0 หน่วยกิต คะแนน ความ ้รู (K) วิธีการวดั ผล เครื่องมอื ทักษะ กระบวนการ (คุP)ณลักษณะ(A) คะแนนรวม 5 3 2 10 - ทดสอบ - แบบทดสอบ - สงั เกต - ใบงาน - การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ ที่ บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค 2 ตัวเลข หรือขอ้ ความสนั้ ๆ ตามท่ฟี ังหรืออ่านจาก สอ่ื ทเี่ ป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรยี งใน 3 ถามช่อื และอายุ รปู แบบตา่ งๆ ศึกษาทกั ษะการอ่านและเขยี นเก่ียวกบั การทักทาย ตัวเลขภาษาจีน อวยั วะต่างๆ ของรา่ ยกาย และถามช่ือและอายุเป็น ภาษาจีน ท่ีใช้ในชีวติ ประจำวันได้ การทักทายและแนะนำสถานท่ี โรงเรยี น ครอบครวั ส่ิงของ เพอ่ื ใหเ้ กิดทกั ษะการใช้ ภาษาจีนในการสื่อสาร ถ่ายทอดความรู้สกึ และข้อมูลในชีวิตประจำวนั ของตนเอง ชุมชน สงั คม และประเทศ
คะแนน ความ ้รู (K) วิธีการวดั ผล เครื่องมือ ทักษะ กคุรณะลับกวษนกณาะ(ร (A)P) คะแนนรวม 10 5 5 20 - ทดสอบ - แบบทดสอบ - สงั เกต - ใบงาน - การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 10 5 5 20 - ทดสอบ - แบบทดสอบ - สงั เกต - ใบงาน - การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
หน่วย ชื่อหน่วย ผลการเรียนรู้ ท่ี 4 ร่างกายของฉัน ศึกษาทักษะการอ่านและเขียนเกี่ยวกับ การทกั ทาย ตวั เลขภาษาจีน อวัยวะต่างๆ ของร่ายกาย และถามชื่อและอายุเป็น ภาษาจีน ท่ใี ช้ในชีวิตประจำวนั ได้ ระหว่างเรยี น สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน รวม
คะแนน ความ ้รู (K) วิธีการวดั ผล เครื่องมือ ทักษะ กระบวนการ (คุP)ณลักษณะ(A) คะแนนรวม 10 5 5 20 - ทดสอบ - แบบทดสอบ - สงั เกต - ใบงาน - การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 40 20 10 70 10 - - 10 20 - - 20 70 20 10 100
แผนการวดั และประเมินผล วชิ าภาษาจีนฟัง-พดู 1 รหัสวชิ า จ 31203 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จำนวน 1.0 หน่วยกติ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง 1. อตั ราส่วนการประเมนิ ผลการเรียนรู้ ระหว่างเรียน กลางภาคเรียน ปลายภาคเรียน 20 คะแนน 70 คะแนน 10 คะแนน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) 2. อตั ราสว่ นการประเมินผล KPA คะแนน ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คะแนน คะแนน 3. สัดสว่ นคะแนนของการประเมินผล การประเมนิ ความรู้ สดั สว่ นคะแนน รวม ระหวา่ งเรียน 40 ทกั ษะ คณุ ลกั ษณะ 70 กลางภาคเรยี น 10 10 ปลายภาคเรยี น 20 กระบวนการ อันพงึ ประสงค์ 20 70 100 รวม 20 10 -- -- 20 10
กำหนดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ วิชาภาษาจีนฟงั -พูด 1 รหัสวิชา จ 31203 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต หน่วยการเรียนรู้/แผนการ เรอ่ื ง เวลา/ จำนวนช่ัวโมง จัดการเรียนรู้ การกล่าวคำทักทาย 10 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 สนทนาคำทักทายพน้ื ฐาน 5 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 พยญั ชนะและสระ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 ตัวเลข 5 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 6 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ตัวเลขจนี 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 การสอบถามสินคา้ ราคาสนิ ค้า หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 ถามชื่อและอายุ 3 10 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 การถามอายุ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 การสนทนาหน้าช้นั เรยี น 5 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 รา่ งกายของฉนั 10 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รา่ งกายของเรา 5 สว่ นประกอบของร่างกาย 5 2 สอบกลางภาค 2 40 สอบปลายภาค รวม
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง การกลา่ วคำทกั ทาย รายวิชา ภาษาจีนฟงั -พูด1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 10 ชวั่ โมง ผ้สู อน นายนิพล โทรกั ษา 1. เปา้ หมายการเรียนรู้ 1.1 ความเข้าใจที่คงทน ทักษะการอ่านและเขยี นเกย่ี วกับการทกั ทาย ตวั เลขภาษาจีน อวัยวะตา่ งๆ ของร่างกาย และ ถามชื่อและอายุเป็นภาษาจีน ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ให้มีทักษะการพูด ฟัง อ่าน และเขียน ในการ เรยี นรู้และคำศัพทป์ ระโยคทีใ่ ช้บอ่ ยเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดทักษะการเรียนรู้ 1.2 ผลการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาทักษะการอา่ นและเขียนเก่ยี วกับการทักทาย ตวั เลขภาษาจีน อวัยวะต่างๆของร่าย กาย และถามชอ่ื และอายุเป็นภาษาจนี ทใี่ ช้ในชีวิตประจำวันได้ 2. การเลือกใชภ้ าษา ฟงั เสยี ง และกิรยิ าท่าทางเหมาะสมกับบุคคล โอกาสและสถานท่ีตาม มารยาทสังคมและวัฒนธรรมจนี 3. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความส้ันๆ ตามท่ีฟงั หรืออ่านจากส่ือทเ่ี ป็น ความเรียงและไม่ใช่ความเรียงในรปู แบบต่างๆ 4. ทกั ษะการ ฟัง พดู อา่ น และเขยี น ในการเรียนรแู้ ละคำศัพท์ประโยคท่ีใชบ้ อ่ ยเพ่อื ให้ผู้เรยี น เกิดทักษะการเรียนรู้ภาษาจีน 5. ฝกึ ทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น โดยใชค้ ำศัพท์ โครงสร้างสทั อักษร ตัวอักษรจีนข้อความ บท สนทนางา่ ยๆ 6. การทกั ทายและแนะนำสถานที่ โรงเรียน ครอบครัว ส่ิงของ เพื่อใหเ้ กิดทักษะการใชภ้ าษาจีน ในการส่อื สาร ถา่ ยทอดความรสู้ ึก และข้อมลู ในชีวิตประจำวนั ของตนเอง ชมุ ชน สงั คม และ ประเทศ 7. นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวันได้อย่าง เหมาะสม 1.3 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การทกั ทาย ตัวเลขภาษาจีน และถามช่อื และอายุเปน็ ภาษาจีน ที่ใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 1.4 สาระการเรยี นรู้ การเขยี นตัวเลข บอกตวั เลข นับจำนวนตัวเลข เป็นภาษาจีน
1.5 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1.ความสามารถในการส่อื สาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1.6 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1.ซอื่ สตั ย์ 2.มวี ินัย 3.ใฝ่เรียนรู้ 2. หลกั ฐานการเรียนรู้ 2.1 ช้ินงาน/ภาระงาน 1.ชน้ิ งาน 2.แบบฝึกหัดก่อนเรยี น 3.การสนทนาหน้าช้ันเรียน 2.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - การตรวจผลงาน ใบงาน - พฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านในหอ้ งเรียน - อ่นื ๆ 2.3 การวัดและประเมนิ ผลเม่ือสน้ิ สดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ - แบบทดสอบหลงั เรยี น 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (10ช่ัวโมง) ชื่อหนว่ ย กจิ กรรม ชน้ิ งาน/ภาระงาน จำนวน การเรียนรู้ ชวั่ โมง แบบฝึกหัดกอ่ นเรยี น-หลังเรยี น เร่อื งสนทนาคำทกั ทายพ้ืนฐาน ชิ้นงาน การนำเสนอหน้าชน้ั เรียน 5 การกล่าวคำทักทาย แบบฝกึ หัดกอ่ นเรยี น-หลงั เรียน 5 ชิ้นงาน การนำเสนอหนา้ ชั้นเรียน 10 เร่ืองพยัญชนะและสระ รวมเวลาเรยี น
การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรื่อง ตัวเลข รายวิชา ภาษาจีนฟัง-พูด1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 6 ช่วั โมง ผสู้ อน นายนิพล โทรักษา 1. เป้าหมายการเรยี นรู้ 1.1 ความเข้าใจทีค่ งทน ทักษะการอ่านและเขียนเกี่ยวกับการทักทาย ตัวเลขภาษาจีน ส่วนประกอบต่างๆ ของ ร่างกาย และถามชื่อและอายุเป็นภาษาจีน ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ให้มีทักษะการพูด ฟัง อ่าน และ เขยี น ในการเรียนรูแ้ ละคำศพั ทป์ ระโยคที่ใช้บอ่ ยเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกิดทักษะการเรยี นรู้ 1.2 ผลการเรียนรู้ 1. ศกึ ษาทักษะการอ่านและเขียนเกย่ี วกับการทักทาย ตัวเลขภาษาจีน อวัยวะต่างๆของร่ายกาย และถามชอื่ และอายุเป็นภาษาจีน ทใ่ี ช้ในชีวิตประจำวนั ได้ 2. การเลือกใช้ภาษา ฟงั เสียง และกิรยิ าทา่ ทางเหมาะสมกบั บุคคล โอกาสและสถานที่ตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมจนี 3. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ตามที่ฟังหรอื อ่านจากส่ือทเ่ี ป็นความ เรียงและไม่ใช่ความเรียงในรปู แบบตา่ งๆ 4. ทกั ษะการ ฟัง พดู อ่าน และเขียน ในการเรยี นรูแ้ ละคำศัพทป์ ระโยคท่ีใชบ้ ่อยเพอื่ ให้ผู้เรยี นเกิด ทักษะการเรียนรู้ภาษาจีน 5. ฝึกทักษะการฟัง พดู อา่ น เขียน โดยใชค้ ำศัพท์ โครงสร้างสัทอักษร ตวั อักษรจีนข้อความ บท สนทนางา่ ยๆ 6. การทกั ทายและแนะนำสถานที่ โรงเรียน ครอบครวั สง่ิ ของ เพื่อให้เกดิ ทักษะการใช้ภาษาจีนในการ สอ่ื สาร ถ่ายทอดความรสู้ ึก และข้อมลู ในชีวติ ประจำวนั ของตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศ 7. นอ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม 1.3 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การเขยี นและบอกตัวเลขภาษาจนี และถามช่ือและอายุเป็นภาษาจีน ท่ีใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ 1.4 สาระการเรยี นรู้ การเขียนตัวเลข บอกตวั เลข นบั จำนวนตวั เลข เปน็ ภาษาจนี
1.5 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสอ่ื สาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1.6 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.ซ่ือสตั ย์ 2.มวี ินัย 3.ใฝ่เรียนรู้ 2. หลกั ฐานการเรียนรู้ 2.1 ช้นิ งาน/ภาระงาน 1.ชน้ิ งาน 2.แบบฝึกหัดก่อนเรียน 3.การสนทนาหน้าช้นั เรยี น 2.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - การตรวจผลงาน ใบงาน - พฤตกิ รรมการปฏิบัติงานในหอ้ งเรยี น - อนื่ ๆ 2.3 การวัดและประเมินผลเม่อื สนิ้ สดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ - แบบทดสอบหลงั เรียน 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (6 ช่ัวโมง) ชอ่ื หน่วย กจิ กรรม ชนิ้ งาน/ภาระงาน จำนวน การเรียนรู้ ชัว่ โมง ตวั เลขจีน แบบฝึกหัดก่อนเรียน-หลังเรยี น 3 ตวั เลข ช้ินงาน การนำเสนอหน้าชน้ั เรียน 3 การสอบถามสนิ ค้า ราคาสนิ คา้ แบบฝึกหดั กอ่ นเรยี น-หลงั เรียน 6 ชิ้นงาน การนำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน รวมเวลาเรยี น
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรื่อง การถามช่อื และอายุ รายวชิ า ภาษาจนี ฟงั -พดู 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 10 ชั่วโมง ผู้สอน นายนพิ ล โทรักษา 1. เปา้ หมายการเรียนรู้ 1.1 ความเขา้ ใจทีค่ งทน ทักษะการอ่านและเขียนเกี่ยวกับการทักทาย ตัวเลขภาษาจีน ส่วนประกอบต่างๆ ของ ร่างกาย และถามชื่อและอายุเป็นภาษาจีน ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ให้มีทักษะการพูด ฟัง อ่าน และ เขียน ในการเรยี นรแู้ ละคำศพั ทป์ ระโยคที่ใชบ้ ่อยเพ่อื ให้ผูเ้ รยี นเกดิ ทักษะการเรยี นรู้ 1.2 ผลการเรียนรู้ 1. ศึกษาทักษะการอา่ นและเขียนเกี่ยวกบั การทักทาย ตัวเลขภาษาจีน อวยั วะต่างๆของร่ายกาย และถามชอ่ื และอายุเปน็ ภาษาจีน ที่ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ 2. การเลือกใช้ภาษา ฟงั เสียง และกริ ิยาท่าทางเหมาะสมกับบคุ คล โอกาสและสถานที่ตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมจนี 3. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ตามท่ีฟังหรืออ่านจากสอื่ ทเี่ ปน็ ความ เรยี งและไมใ่ ช่ความเรียงในรปู แบบต่างๆ 4. ทกั ษะการ ฟัง พูด อ่าน และเขยี น ในการเรียนร้แู ละคำศัพทป์ ระโยคที่ใช้บอ่ ยเพ่ือให้ผูเ้ รยี นเกดิ ทักษะการเรียนร้ภู าษาจีน 5. ฝึกทกั ษะการฟัง พดู อ่าน เขียน โดยใช้คำศัพท์ โครงสร้างสทั อักษร ตวั อักษรจนี ข้อความ บท สนทนางา่ ยๆ 6. การทักทายและแนะนำสถานที่ โรงเรยี น ครอบครวั สิง่ ของ เพ่ือให้เกิดทักษะการใช้ภาษาจนี ในการ สือ่ สาร ถ่ายทอดความรู้สกึ และข้อมูลในชีวิตประจำวันของตนเอง ชมุ ชน สังคม และประเทศ 7. นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวติ ประจำวันได้อย่าง เหมาะสม 1.3 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ถามชอ่ื และอายุเป็นภาษาจีน ที่ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ 1.4 สาระการเรียนรู้ การเขียนชอื่ และบอกชอ่ื ตวั เอง เปน็ ภาษาจีนได้
1.5 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการสอื่ สาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 1.6 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1.ซื่อสัตย์ 2.มีวินัย 3.ใฝเ่ รียนรู้ 2. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 2.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ชิน้ งาน 2.แบบฝึกหดั ก่อนเรยี น 3.การสนทนาหน้าชัน้ เรยี น 2.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ - การตรวจผลงาน ใบงาน - พฤติกรรมการปฏบิ ัติงานในหอ้ งเรยี น - อ่นื ๆ 2.3 การวัดและประเมนิ ผลเม่ือสน้ิ สุดกิจกรรมการเรยี นรู้ - แบบทดสอบหลังเรียน 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (10 ช่ัวโมง) ชื่อหนว่ ย กิจกรรม ชนิ้ งาน/ภาระงาน จำนวน การเรยี นรู้ ช่ัวโมง การถามอายุ แบบฝกึ หัดกอ่ นเรยี น-หลังเรียน 5 การถามชื่อและอายุ ชน้ิ งาน การนำเสนอหน้าชนั้ เรียน 5 การสนทนาหน้าชนั้ เรยี น การนำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น 10 การสังเกต รวมเวลาเรยี น
การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง รา่ งกายของเรา รายวิชา ภาษาจีนฟงั -พูด1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 10 ชั่วโมง ผ้สู อน นายนพิ ล โทรกั ษา 1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ 1.1 ความเขา้ ใจท่ีคงทน ทักษะการอ่านและเขียนเกี่ยวกับการทักทาย ตัวเลขภาษาจีน ส่วนประกอบต่างๆ ของ ร่างกาย และถามชื่อและอายุเป็นภาษาจีน ที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ให้มีทักษะการพูด ฟัง อ่าน และ เขียน ในการเรียนร้แู ละคำศัพท์ประโยคท่ีใชบ้ อ่ ยเพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกิดทักษะการเรยี นรู้ 1.2 ผลการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาทักษะการอา่ นและเขยี นเกย่ี วกับการทักทาย ตัวเลขภาษาจีน อวัยวะต่างๆของร่ายกาย และถามชอ่ื และอายุเป็นภาษาจนี ท่ใี ช้ในชวี ิตประจำวันได้ 2. การเลือกใช้ภาษา ฟงั เสียง และกิริยาท่าทางเหมาะสมกบั บคุ คล โอกาสและสถานท่ีตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมจีน 3. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความส้ันๆ ตามท่ีฟังหรอื อา่ นจากส่ือทเี่ ปน็ ความ เรียงและไมใ่ ชค่ วามเรียงในรปู แบบตา่ งๆ 4. ทักษะการ ฟัง พดู อ่าน และเขยี น ในการเรยี นรแู้ ละคำศัพทป์ ระโยคท่ีใช้บอ่ ยเพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกิด ทักษะการเรียนรู้ภาษาจีน 5. ฝึกทักษะการฟัง พดู อา่ น เขยี น โดยใชค้ ำศัพท์ โครงสร้างสัทอักษร ตัวอักษรจนี ข้อความ บท สนทนาง่ายๆ 6. การทักทายและแนะนำสถานท่ี โรงเรยี น ครอบครัว ส่ิงของ เพ่ือใหเ้ กิดทักษะการใช้ภาษาจีนในการ สื่อสาร ถ่ายทอดความรูส้ กึ และขอ้ มลู ในชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศ 7. น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงประยุกต์ใช้ในการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ ง เหมาะสม 1.3 สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 1.4 สาระการเรียนรู้ การเขียนคำศัพทแ์ ละบอกคำศัพทเ์ ก่ียวกบั ร่างกา เปน็ ภาษาจีนได้
1.5 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคิด 3.ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 1.6 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1.ซ่ือสตั ย์ 2.มีวนิ ัย 3.ใฝ่เรยี นรู้ 2. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 2.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ช้ินงาน 2.แบบฝึกหัดก่อนเรยี น 3.การสนทนาหน้าชัน้ เรยี น 2.2 การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ - การตรวจผลงาน ใบงาน - พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานในห้องเรียน - อน่ื ๆ 2.3 การวดั และประเมินผลเมอ่ื สน้ิ สุดกจิ กรรมการเรียนรู้ - แบบทดสอบหลังเรียน 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ (10 ชว่ั โมง) ชอ่ื หน่วย กิจกรรม ช้นิ งาน/ภาระงาน จำนวน การเรียนรู้ ชั่วโมง รา่ งกายของเรา แบบฝกึ หัดกอ่ นเรียน-หลังเรียน 5 รา่ งกายของเรา ชน้ิ งาน การนำเสนอหน้าชั้นเรียน 5 ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของร่างกาย แบบฝึกหดั ก่อนเรยี น-หลงั เรียน 10 การนำเสนอหนา้ ช้ันเรียน การสงั เกต รวมเวลาเรียน
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: