คูมือ ก า ร ป ลู ก พื ช ส มุ น ไ พ ร ทม่ี าของขอ มลู เรยี บเรยี ง ภาวนา อัศวะประภา ผูจัดการสมุนไพร กลมุ สมนุ ไพรเครอ่ื งเทศ กองสง เสรมิ พชื สวน โทร. 9407459 จดั ทํา วิไลภรณ ชนกนําชยั กองเกษตรสมั พนั ธ สมนิตย เหลก็ อนุ วงษ กองเกษตรสมั พนั ธ ภาพ นริ ันดร นามไพร กองเกษตรสัมพันธ เรยี งพมิ พ ลออ พรพงษก ลุ กองเกษตรสมั พนั ธ ผลิตและเผยแพร ฝา ยเอกสารคําแนะนํา กองเกษตรสมั พนั ธ กรมสง เสรมิ การเกษตร โทร. 0-2579-5517
2 คํานํา พืชสมุนไพร เปนพืชที่มีวัตถุประสงคหลักในการนําไปใชประโยชนเปนยารักษาโรค เครอ่ื ง สําอาง และผลิตภัณฑอ าหารเสรมิ ซง่ึ ในปจ จบุ นั นก้ี ระแสความนยิ มเรอ่ื งสมนุ ไพรมมี ากขน้ึ ตามลําดบั และมีแนวโนมจะขยายตวั มากข้นึ ตอไป เนอ่ื งจากมกี ารนําเอาขบวนการทางวทิ ยาศาสตรส นบั สนนุ ให พืชสมุนไพรมีความนาเชื่อถือ เชน มงี านวจิ ยั รบั รอง มีรูปแบบที่ทันสมัย สะดวกตอ การใช และที่สําคญั มีความปลอดภยั ตอ ผบู รโิ ภคมากขน้ึ ถึงแมการใชสมุนไพรจะมีมาเปนเวลานานแลวแตการปลูกพืชสมนุ ไพร เปน การคา จดั วา เปน พืชใหมอยู ทง้ั น้ี เนอ่ื งจากผลผลติ สมนุ ไพรทผ่ี า นมาสว นมากเกบ็ มาจากแหลง ธรรมชาติ ไมเพียงพอ กับความตองการของตลาดทม่ี งุ ผลติ เพอ่ื การคา ดงั นน้ั คมู อื การปลกู พชื สมนุ ไพรเลม น้ี จึงไดจัดทําขน้ึ มา เพ่ือเปนเอกสารแนะนําสนบั สนนุ โครงการสง เสรมิ การปลกู สมนุ ไพรเปน การคา ป 2543 โดยมุง เนนใหมีการกระจายการผลิตสมุนไพรเปนการคาในจังหวัดและใหความรูแกเกษตรกรทั่วไป ในดา น ความรเู ทคโนโลยกี ารปลกู การดูแลรกั ษา และการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ซง่ึ ไดร วบรวมขอ มลู จาก ทั้งแหลงวิชาการและประสบการณของเกษตรกร โดยคัดเลอื กชนดิ ของสมนุ ไพรทม่ี คี วามแตกตา งกนั ตามลักษณะทางพฤกษศาสตรของพืช การปลูก การดูแลรักษา และการปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว จํานวน 15 ชนิด ซง่ึ ผอู า นสามารถนําไปประยกุ ตใ ชเ ปน แนวทางในการปลกู ดูแลรักษาพืชสมุนไพร ชนิดอน่ื ๆ ทม่ี ลี กั ษณะทางพฤกษศาสตรแ ละเขตกรรมทใ่ี กลเ คยี งกนั ได ภาวนา อัศวะประภา ผูจ ดั การสมนุ ไพร
3 ข มิ้ น ชั น ช่ือวทิ ยาศาสตร Curcuma longa Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนพืชลมลุกอายุหลายป มสี ว นของลําตน ใตด นิ เรียกวาเหงา ซง่ึ มสี ว นประกอบของน้ํามนั หอมระเหยและสารใหสี ทําใหเหงามีสีเหลืองเขมและมีกลิ่นเฉพาะ ลําตนเหนือดินสูง 30-90 เซนตเิ มตร สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบอากาศรอ นชนื้ ดนิ รว นปนทรายระบายน้ําดี ไมช อบดนิ เหนยี วและดนิ ลกู รงั • ปลูกในทีก่ ลางแจง การเตรยี มดนิ ปลกู • ไถพรวนหรอื ขดุ ดนิ เพอ่ื ใหด นิ รว นซยุ • ถา ดนิ ระบายน้ําดี ไมจําเปน ตอ งยกรอ ง การเตรยี มเหงา พนั ธุ • คัดเลือกหวั พนั ธท ม่ี อี ายุ 7-9 เดอื น มตี าสมบรู ณ ไมม โี รคแมลงทําลาย • แบงหัวพันธุ โดยการหั่น ขนาดของเหงา ควรมตี าอยา งนอ ย 3-5 ตา หรอื แงง มนี ้ําหนกั 15-50 กรัม • แชทอนพันธุดวยสารเคมีปองกันกําจัดแมลง เชน เพล้ียหอยดวยมาลาไธออน หรือ คลอไพรฟี อส 1-2 ชั่วโมง ตามอตั ราแนะนํา • ชุบทอนพนั ธดุ ว ยสารเคมปี อ งกนั กําจดั เชอ้ื รากอ นปลกู การปลกู • ควรปลูกในฤดูฝนชว งเดอื น พฤษภาคม-กรกฎาคม เพราะฤดอู น่ื ขมน้ิ ชนั จะพกั ตวั ไมง อก • ระยะระหวางตนและระยะระหวางแถว 30 x 30 เซนตเิ มตร • ขุดหลมุ ขนาด กวาง x ยาว x ลกึ 15 x 15 x 15 เซนตเิ มตร • ใสปุยคอกรองกน หลมุ ประมาณหลมุ ละ 200 กรัม (1 กระปอ งนม) • นําหวั พนั ธทุ เ่ี ตรยี มไวล งปลกู กลบดนิ หนา 5 เซนตเิ มตร • คลุมแปลงดวยฟางหรือหญาคา หนาประมาณ 2 นว้ิ เพอ่ื ปอ งกนั การงอกของวชั พชื และ รักษาความชน้ื ในดนิ จากนน้ั รดน้ําใหชุม การดแู ลรกั ษา • ชวงอายุ 1 ½-2 เดอื น เมอ่ื กาํ ลงั เจรญิ เตบิ โตทางดา นลําตน ใสป ยุ 15-15-15 อตั รา ½ ชอนแกง (15 กรัม)/ตน
4 • ชวงอายุ 3-4 ½ เดือน เมอ่ื อยใู นระยะสะสมอาหาร ใสป ยุ 15-15-15 อตั รา 1 ชอ น แกง (30 กรัม) /ตน การปอ งกนั กําจดั โรค • อาจพบโรคเนา เหงา ยบุ ในระยะขมน้ิ อยใู นแปลงและทง้ิ ใบหมดแลว ซง่ึ เกดิ จากเชอ้ื รา Fusarium solani ปองกนั โดยหลกี เลย่ี งไมป ลกู ซ้ําในพน้ื ทเ่ี ดมิ ตดิ ตอ กนั เกนิ 2-3 ป การเกบ็ เกย่ี ว • เก็บเกย่ี วเมอ่ื อายุ 9-11 เดอื น (ธนั วาคม-กุมภาพันธ) • หามเกบ็ เกย่ี วในระยะทม่ี ขี มน้ิ ชนั เรม่ิ แตกหนอ เพราะจะทําใหม สี าร curcumin ตา่ํ • วิธีการเก็บใชจอบขุด ถา ดนิ แขง็ รดน้ําใหช มุ กอ น ปลอยใหดินแหงหมาดๆ แลว จงึ ขดุ • เคาะเอาดนิ ออกจากหวั แลว ใสต ะกรา แกวง ลา งน้ําอกี รอบ ผลผลติ • ผลผลติ สด 3,000 กิโลกรัม/ไร อัตราการทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 6 : 1 สวนที่ใชประโยชน • เหงา สด, แหง สาระสําคญั • น้าํ มนั หอมระเหย เชน Turmerone, Zingiberene, Borneol และ Curcumin สรรพคณุ • แกท องอดื ทองเฟอ แปลงปลกู ขมน้ิ ชนั เหงา ขมน้ิ ชนั อายุ 11 เดอื น
5 ว า น ห า ง จ ร ะ เ ข ช่ือวทิ ยาศาสตร Aloe barbadensis Mill. ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมล ม ลกุ ลําตน สน้ั ใบหนา อวบน้ํา ยาว 30-50 เซนตเิ มตร ภายในมวี นุ ใสๆ มยี างสี เหลอื ง ดอกสสี ม แดง สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบดินทราย ดนิ ระบายน้ําดี แสงแดดปานกลางถงึ แดดจดั ปลูกไดทุกฤดู การเตรยี มพนั ธปุ ลกู • แยกหนอ ขนาดหนอ สงู 10-15 เซนตเิ มตร การเตรยี มแปลงปลกู • ไถ พรวนดนิ แลว ยกรอ งสงู 50-60 เซนตเิ มตร กวาง 1.30 เมตร ตามความยาวของพน้ื ที่ ระยะหา งระหวา งรอ ง 50 เซนตเิ มตร การปลูก • ระยะระหวางตน และระหวางแถว 50 x 70 เซนตเิ มตร การดแู ลรกั ษา • ควรรดน้ําแบบเปนฝอยกระจายสม่ําเสมอและพอเพียง ในฤดูรอนควรรดนํ้าใหไหลตาม รองแปลง หา มใหน ้ําโดยการรดน้ําหรอื เทราดเดด็ ขาด • ใสปุย คอกเดอื นละครง้ั อตั รา 1-1.5 ตนั /ไร/ป การเกบ็ เกย่ี ว • เกบ็ เกย่ี วไดห ลงั ปลกู 8-12 เดอื น • เก็บใบลางข้ึนไปโดยสงั เกตเนอ้ื วนุ ทโ่ี คนใบดา นในเตม็ และลายทใ่ี บลบหมดแลว • เกบ็ ไดป ล ะ 8 ครง้ั ระวงั อยา ใหใ บวา นช้ํา ผลผลติ • ใบสด ครง้ั ละ 2-4 ตนั /ไร สวนที่ใชประโยชน • วุน ในใบสด สาระสําคญั • aloctin A, B สรรพคณุ • รกั ษาแผลไฟไหม น้าํ รอ นลวก แปลงปลูกวานหางจระเข
6 ต ะ ไ ค ร ห อ ม ช่ือวทิ ยาศาสตร Cymbopogon nardus Rendle. (พันธศุ รลี งั กา) Cymbopogon winterianus Jowitt (พันธุชวา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมลมลุก แตกหนอเปนกอเหมือนตะไครแกง ท่ีโคนตน มกี าบเปน ชน้ั ๆ หมุ ลําตน เปน ปลองๆ ลําตน เปน สมี ว งแดง ลําตน และใบใหญแ ละยาวมกี ลน่ิ ฉนุ กวา ตะไครแ กง ดอกออกเปน ชอ ยาว ใหญโ นม ออ นลง สนี ้าํ ตาลแดงคล้ํา สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ปลูกไดในดนิ ทกุ ชนดิ เจรญิ เตบิ โตไดด ใี นดนิ รว นปนทราย • ตองการแสงแดดจดั • ทนตอ ความแหงแลง แตถา ใหน ้ําสม่ําเสมอ บํารงุ รกั ษาดจี ะใหผ ลผลติ สงู ตลอดป • ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมในการปลกู คอื เดือนพฤษภาคม การเตรยี มพนั ธปุ ลกู • ตัดแตง ใหมขี อ อยู 2-3 ขอ • มีกาบใบหมุ ขอ อยู 4-5 ใบ • ตัดปลายใบออก การเตรยี มแปลงปลกู • ไถพรวนดนิ กําจัดเศษวัชพืชออกจากแปลง ใสป ยุ คอกคลกุ เคลา ใหเ ขา กนั ดี ปรับพื้นที่ให เรียบ • ถาปลูกในกระถาง ควรใชก ระถางทม่ี ขี นาดเสน ผา ศนู ยก ลางไมน อ ยกวา 12 นว้ิ ใสด นิ รว น ซุยที่มีอินทรียวัตถุ การปลูก • ระยะระหวางตน และระหวางแถว 1.5 x 1.5 เมตร • ขุดหลมุ ขนาด กวาง x ยาว x ลกึ 15 x 15 x 15 เซนตเิ มตร • นําตน พนั ธทุ เ่ี ตรยี มไวป ลกู 3 ตน ตอ หลมุ หรอื ตอ กระถาง การดแู ลรกั ษา • รดน้ําสม่ําเสมอเพอ่ื ใหแ ตกกอไดผ ลเรว็ ขน้ึ และใหผ ลผลติ ตลอดป • กาํ จัดวัชพืชปละ 2 ครง้ั ดวยการใชจอบ • ใชปุยสูตร 16-16-8 หรือ 16-20-0 หรือ 15-15-15 อตั ราการใหข น้ึ อยกู บั ความ สมบรู ณข องดนิ
7 • หลังจากการเก็บเกี่ยวแลว ควรหวานปุยยเู รียหรือแอมโมเนียซัลเฟต อัตรา 15-20 กิโลกรัม/ไร เพื่อใหแตกใบใหมเร็วขึ้น โดยใบขนาดใหญ และมปี รมิ าณน้ํามนั หอมระเหย มากขน้ึ การเกบ็ เกย่ี ว • เก็บเกย่ี วไดห ลงั ปลกู 6-8 เดอื น อายกุ ารใหผ ลผลติ 2-3 ป • ตัดเอาสวนใบ ซง่ึ อยเู หนอื พน้ื ดนิ 25-30 เซนตเิ มตร เพอื่ ใหต นทเี่ หลอื แตกใบใหมไดเรว็ ขน้ึ • เก็บเกี่ยวแตละครั้งใหหางกัน 3 เดอื น ตดั ไดป ล ะ 2-3 ครง้ั • ผงึ่ ใบที่ตดั มาไว 1-2 วัน กอ นนําไปสกดั น้ํามนั ผลผลติ • ใบสด 1 ตนั /ครง้ั /ไร อัตราการแปรรปู • ใบสด : น้าํ มนั หอมระเหย เทากับ 1 ตนั : 1 ลติ ร สวนที่ใชประโยชน • ใบสด สาระสําคญั • geraniol, citronellal และ citronellol สรรพคณุ • ไลยุง ลกั ษณะตนตะไครหอม
8 ฟ า ท ะ ล า ย โ จ ร ช่ือวทิ ยาศาสตร Andrographis paniculata ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนพืชลม ลุกตระกูลเดียวกับตอยติ่ง ลําตน ลกั ษณะเปน สเ่ี หลย่ี ม ตน สงู 30-60 เซนตเิ มตร ใบเรียวสีเขียวเขม เปน มนั เปน คตู รงขา มกนั ดอกเดย่ี วสขี าวออกตามกา นเลก็ ๆ และปลายยอดผลเปน ฝก เรยี วแหลมเมอ่ื แกม สี นี ้ําตาล สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบอากาศรอ นชน้ื • เจริญเตบิ โตไดด ใี นดนิ รว นซยุ • ปลูกในที่แสง 50 เปอรเ ซน็ ต การเตรยี มแปลงปลกู • มีความจําเปน มาก ควรทําการไถพรวนดนิ จนรว นซยุ กอ นปลกู • ถา ดนิ ระบายน้ําดี ไมจําเปน ตอ งยกรอ งแปลง การเตรยี มเมลด็ ปลกู • เน่ืองจากเมล็ดมีระยะพักตัว ใหทําการพักตัวของเมล็ดดวยการแชในนํ้ารอน 50-80 องศาเซลเซยี ส เปน เวลา 5-10 นาที กอ นปลกู การปลูก • ปลูกแบบโรยเมลด็ เปน แถว ระยะระหวางแถว 40 เซนตเิ มตร โรยเมล็ดที่ทําลายการพัก ตัวแลว ในอตั ราประมาณ 100-400 เมลด็ ตอ ความยาวแปลง 1 เมตร • เกลย่ี ดนิ กลบบางๆ • คลุมแปลงดว ยฟางขา ว หรือใบหญาคาบางๆ เพื่อรักษาความชื้น • รดนํ้าทันที การดแู ลรกั ษา • เมื่อปลูกไปได 30-45 วัน ถา พบวา ตน งอกแนน เกนิ ไป ควรทําการถอนแยก • ในระยะ 1-2 เดอื น รดน้ําวนั ละ 1-2 ครง้ั • เม่ืออายุ 2 เดอื นขน้ึ ไป รดน้ําวนั เวน วนั • เม่ืออายุ 2 เดอื น ใสป ยุ คอกประมาณ 125 กรัม/ตน โดยโรยขนานไปกับแถว หางจาก แถวประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร แลวพรวนดินกลบ • กําจัดวชั พชื ดว ยการใชม อื ถอนหรอื จอบดาย แลว พรวนดนิ เขา โคนดว ย
9 การปอ งกนั กําจดั โรคแมลง • ไมม แี มลงทําความเสียหายรายแรง มเี พยี งบางโรคเทา นั้นท่ีทําความเสียหายบาง • อาจพบอาการผิดปกติที่ใบมีลักษณะเปนสีมวง แตบริเวณเสนใบเปนสีเขียวและแคระ แกรน็ ซง่ึ เกดิ จากการขาดน้ําเปน เวลานาน การปอ งกนั กระทําไดโดยใหน้ําสม่ําเสมออยา ใหพ ชื ขาดน้ํา การเกบ็ เกย่ี ว • เก็บในชว งเรม่ิ ออกดอกอายุ 110-150 วัน • ใชกรรไกรหรอื เคยี วเกย่ี วทง้ั ตน ใหเ หลอื ตอสงู ประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร • ปหนึ่งเก็บเกี่ยวได 2-3 ครง้ั • เด็ดใบ ยอดออ นลา งน้ําใหส ะอาด • ตากในทร่ี ม 5-7 วัน จนแหงสนทิ • บรรจใุ นถงุ พลาสตกิ • เก็บในบริเวณทเ่ี ย็น และไมโดนแสงแดด ผลผลติ • ผลผลติ สด ไรล ะ 2-4 ตนั อตั ราการทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 4 : 1 สวนที่ใชประโยชน • ทง้ั ตน สาระสําคญั • andrographolide สรรพคณุ • แกเจ็บคอ แกไข ลกั ษณะตนและใบฟาทะลายโจร ลักษณะดอกฟาทะลายโจร
10 ห นุ ม า น ป ร ะ ส า น ก า ย ช่ือวทิ ยาศาสตร Schefflera leucantha Viguier. ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมพุมขนาดยอม มใี บประกอบแบบนว้ิ มอื ใบหนง่ึ มใี บยอ ย 5-7 ใบ ปลายใบแหลมขอบ เรียบ หลังใบมสี เี ขยี วเขม เปน มนั ดอกเลก็ สขี าวแกมเหลอื งเขยี ว เปน ชอ ผลกลม สเี หลอื ง สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบอากาศรอ นชน้ื ดนิ รว นปนทรายระบายน้ําดี มอี นิ ทรยี ว ตั ถมุ าก • ชอบความชน้ื ปานกลาง แสงแดดเตม็ วนั -รม รําไร • ปลูกไดทุกฤดู การเตรยี มพนั ธปุ ลกู • ใชเ มลด็ กิ่งปกชํา หรอื กง่ิ ตอน การเตรยี มแปลงปลกู • ไถพรวน หรอื ขดุ ใหด นิ รว นซยุ การปลกู • ระยะหางระหวางตน และระหวางแถว 1.5 x 1.5 เซนตเิ มตร การดแู ลรกั ษา • ระยะแรกควรรดนํ้าทุกวัน ใหต น ตง้ั ตวั ไดด ี • กาํ จัดวัชพืช และตดั แตง ทรงพมุ บา ง การเกบ็ เกย่ี ว • เริ่มเก็บเกี่ยวได ตง้ั แตอ ายุ 4 เดอื น • เก็บใบที่เจริญเติบโตเต็มที่แลว ไมแ กแ ละไมอ อ นเกนิ ไป ผลผลติ • ใบสด ไรล ะ 2-3 ตนั สวนที่ใชประโยชน • ใบสด สาระสําคญั • oleic acid, butulinic acid, D-glucose, D-xylose และ L-rhamnose สรรพคณุ • แกไ อ แกเจ็บคอ แกชํ้าใน แกหอบหืด ใชห า มเลอื ด สมานแผล
11 พญายอ ช่ือวทิ ยาศาสตร Clinacanthus nutans (Burm. F) Lindau ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมพมุ เลอ้ื ย ลําตน สเี ขยี ว ไมม หี นาม ใบเดย่ี วตดิ กบั ลําตน แบบตรงขา ม ออกดอกเปน ชอ แนนท่ีปลายยอด มใี บประดบั สเี ขยี วตดิ ทโ่ี คนดอก ดอกมกี ลบี สแี ดงเขม ลกั ษณะเปน หลอดยาว สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบอากาศรอ นชน้ื • ดินรวนปนทรายระบายน้ําดี ไมช อบดนิ ลกู รงั หรอื ดนิ เหนยี ว • ขึ้นไดดีทั้งที่มีแดดและที่รม การเตรยี มดนิ ปลกู • ไถพรวนหรอื ขดุ ดนิ เพอ่ื ใหด นิ รว นซยุ • กาํ จัดเศษวัสดุและวัชพืชออกจากแปลง • ในทท่ี ม่ี กี ารระบายน้ําดี ไมจําเปน ตอ งยกรอ ง การเตรยี มกง่ิ ปก ชํา • เลือกกง่ิ ทส่ี มบรู ณ ไมแ กห รอื ออ นเกนิ ไป • ตัดก่ิงพันธุใ หม ขี นาด 6-8 นว้ิ และมตี าประมาณ 3 ตา ใหม ใี บเหลอื อยปู ลายยอด ประมาณ 1/3 ของกง่ิ พนั ธุ • ทาปูนแดงบรเิ วณรอยตดั ของตน ตอ • ปกชําในถงุ โดยใชว ัสดุปกชําเปน ดนิ รว นปนทราย • รดน้ําและรักษาความชื้นใหเพียงพอ • กงิ่ ปกชําจะออกรากภายใน 20-30 วัน การปลูก • ระยะปลูก 50 x 50 เซนตเิ มตร • ขุดหลมุ ปลกู ขนาด กวาง X ยาว X ลกึ 10 X 10 X 10 เซนตเิ มตร • ใสปุยคอกรองกน หลมุ อัตรา 125 กรัม/หลุม • ยา ยกง่ิ ชําลงปลกู • รดน้ําทันที การดแู ลรกั ษา • ในระยะ 1-2 เดอื นแรก รดน้ําทุกวัน ถา แดดจดั ควรรดน้ําเชา-เย็น
12 • เมอ่ื อายุ 2 เดอื นไปแลว อาจใหน ้ําวนั เวน วนั • เม่ืออายุ 6 เดอื น ใสป ยุ สตู ร 15-15-15 ตน ละประมาณ 10 กรัม โดยโรยปุยหางจาก โคนตนประมาณ 10 เซนตเิ มตร แลวพรวนดินกลบ • กําจดั วชั พชื โดยการใชม อื ถอน สวนท่ีวา งระหวา งแปลงปลูกใชวิธีดายหญา • พรวนดนิ โคนตน เมอ่ื ดนิ แนน โรคแมลง • ไรแมงมมุ ทาํ ลายตน ใตใ บทง้ั ใบออ นและใบแก ทําใหใ บเหลอื งซดี ถา ระบาดรนุ แรงควรใช สารเคมกี ําจัด • เพลี้ยไฟ ดูดทําลายใบออ นและยอดออ น ทาํ ใหใบหงิกงอ ถา ระบาดรนุ แรงควรใชส ารสกดั สะเดาปอ งกนั กําจัด • เม่ือฉีดพนสารเคมี ตอ งทง้ิ ไวอ ยา งนอ ย 10-14 วัน จงึ เกบ็ ผลผลติ ได การเกบ็ เกย่ี ว • เริ่มเก็บเกี่ยวได ตง้ั แตอ ายุ 6 เดอื น • ตัดตนเหนอื ผวิ ดนิ 10 เซนตเิ มตร • ลา งน้ํา 1-2 ครง้ั • ผ่ึงในทร่ี ม จนแหง สนทิ ผลผลติ • ผลผลติ สด 1 ตนั /ไร อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 4 : 1 สวนที่ใชประโยชน • ใบสด สาระสําคญั • Lupeol, B-Sitosterol, Stigmasterol และสารประกอบ Flavonoid สรรพคณุ • รักษาโรคเริม ลกั ษณะตนพญายอ
13 เ พ ช ร สั ง ฆ า ต ช่ือวทิ ยาศาสตร Cissus quadrangularis Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร • เปนไมเถาเล้ือย เถารปู สเ่ี หลย่ี มเปน ปลอ งๆสเี ขยี วออ นคอ นขา งอวบน้ํา ตรงขอ เลก็ รดั ตวั ลง มมี อื ยดึ ออกจากขอ • ใบเด่ียว ทรงสามเหลย่ี มปลายมน ออกทข่ี อ ๆ ละ 1 ใบ ใบคอ นขา งหนา อวบน้ํา ผิวใบ เรียบ • ดอกกลมเลก็ สแี ดงเขยี ว เปน ชอ เลก็ ออกตามขอ สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ขึ้นไดทั่วไปในดินแทบทุกชนิด • ชอบดนิ รว นและทร่ี ม รําไร ชอบชื้นแตไมแฉะ การขยายพนั ธุ • ใชเถาปกชํา การปลกู และการดแู ลรกั ษา • ตัดเถาทอ่ี ยถู ดั จากยอดลงมา 2-3 ปลอ ง • ชําเถาลงดนิ ใหข อ ฝง ดนิ 1 ขอ รดน้ําใหชุม • เมอ่ื แตกยอดใหมค วรทําคา งใหล ําตน เลอ้ื ย การเกบ็ เกย่ี ว • เริ่มเก็บเกี่ยวไดเมื่ออายุ 6 เดอื นขน้ึ ไป ใชเ ถาหรอื ลําตน สดทกุ สว น การตดั ใหเ หลอื เถาไว 1-2 วา นําเถาไปหั่น แลวอบใหแหง ผลผลติ • ผลผลติ สด ไรล ะ 2-3 ตนั ผลผลติ แหง ไรล ะ 0.3-0.5 ตนั อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 6-7 : 1 สวนที่ใชประโยชน • เถาสด สาระสําคญั • ยังไมม รี ายงาน สรรพคณุ • รักษาโรครดิ สดี วงทวาร ลกั ษณะเถาและใบของตนเพชรสังฆาต
14 บ อ ร ะ เ พ็ ด ช่ือวทิ ยาศาสตร Tinospora tuberculata Beumee., Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook. F.& Thoms ลักษณะทางพฤกษศาสตร • เปน ไมเ ถา เถากลม ผวิ มเี มด็ ตมุ ถๆ่ี ตลอดเถา • ใบเดี่ยว รูปหัวใจปลายแหลมเรียบ • ดอกเปน ชอ สเี หลอื ง สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ข้ึนไดใ นดนิ ทว่ั ไป แตช อบดนิ รว นซยุ • ไมชอบแดดจัด ควรปลกู ในฤดฝู น การขยายพนั ธุ • ใชเถาปกชํา การปลกู และการดแู ลรกั ษา • ตดั เถาแกย าวประมาณ 1 คบื รอใหผ ลแหง กอ นจงึ นําไปปกชํา • ชําเถาลงดนิ ใหเ อยี งเลก็ นอ ย ลกึ 10 เซนตเิ มตร รดน้ําใหชุม • เม่ือแตกใบและรากมากพอสมควร จึงยายไปปลูกและควรทําคา งใหต น บอระเพด็ เลอ้ื ยดว ย สวนการรดน้ําไมต อ งรดบอ ยครง้ั มากนกั การเกบ็ เกย่ี ว • เริ่มเก็บเกี่ยวไดเมื่ออายุ 2 ปข น้ึ ไป โดยเก็บเถาสดที่เจริญเต็มที่ตากแดด 3-5 วัน จนแหง สนิท เพอ่ื ปอ งกนั เชอ้ื รา • นําเถาแหง มาหน่ั เฉยี งเปน แวน ๆ หนา 1-2 เซนตเิ มตร การตดั เถามาใชใ หเ หลอื เถาไว ประมาณ 2-3 วา ผลผลติ • ผลผลติ สด 3-5 ตนั /ไร ผลผลิตแหง 0.7-1.2 ตนั /ไร อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 4-5 : 1 สวนที่ใชประโยชน • เถาหรอื ลําตน สด
15 สาระสําคญั • N-trans-feruloyltyramine, N-cis-feruloyltyramine, tinotuberide, phytosterol และ Picroretin สรรพคณุ • เปนยาอายุวัฒนะ แกไอ ลกั ษณะเถาและใบบอระเพ็ด
16 เ ถ า วั ล ย เ ป รี ย ง ช่ือวทิ ยาศาสตร Derris scandens Benth. ลักษณะทางพฤกษศาสตร • เปนไมเถาขนาดใหญ เถามกั จะบดิ เนอ้ื ไมส มี วี งเขม ซง่ึ มี 2 ชนิด คอื ชนดิ แดง(เนอ้ื สแี ดงวง สีแดงเขม) และชนดิ ขาว (เนอ้ื ออกสนี ้ําตาลออ นๆ วงสนี ้ําตาลไหม) • ใบเปนใบประกอบ ใบยอ ยรปู ไขก ลบั ผิวเรียบมันเขียว ขอบเรยี บ • ดอกเลก็ เปน ชอ พวงระยา สขี าว • ฝก ยาวออกเปน พวง สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบดนิ เหนยี วไมช อบดนิ ทราย ชอบสภาพชื้นแตไมแฉะ การขยายพนั ธุ • ใชเ มลด็ การปลกู และการดแู ลรกั ษา • ใชเมล็ดแกที่มีสีน้ําตาล (เมลด็ แกช ว งเดอื นมกราคม-กุมภาพันธ) แกะเปลอื กนอกของ เมลด็ ออก นําไปเพาะในถุงชํา ถงุ ละ 2-3 เมลด็ รดน้ําใหชุม • เม่ือตัดตนสงู ประมาณ 1 คบื นําลงปลกู ในหลมุ ทเ่ี ตรยี มไว รองกน หลมุ ดว ยปยุ คอก ถา หากไมเพาะลงถุงจะปลูกตรงจุดที่ตองการเลยก็ได พรอมทํ าซุมบริเวณท่ีปลูก เถาวลั ยเ ปรยี งไดเ ลอ้ื ยเกาะดว ย การเกบ็ เกย่ี ว • เร่มิ เก็บเกยี่ วได เม่ืออายุ 3-5 ป • เลือกเถาแกซึ่งจะมีสีเทา และมจี ดุ คลา ยเกลด็ สขี าวๆ เถามขี นาดเสน ผา ศนู ยก ลาง 1 นว้ิ ขน้ึ ไป • ตัดใหเ หลอื เถาไว 1-2 ศอก เพอ่ื ใหแ ตกขน้ึ ใหม ตดั ไดป ระมาณ 2 ปต อ ครง้ั • นําเถามาสบั เปน แวน ๆ หนาประมาณ 1 เซนตเิ มตร ตากแดด 3-5 วัน หรืออบใหแหง ผลผลติ • ผลผลติ สด 3-5 ตนั /ไร ผลผลิตแหง 0.7-1.25 ตนั /ไร อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 4 : 1 สวนที่ใชประโยชน • เถา
17 สาระสําคญั • ไมม รี ายงาน สรรพคณุ • แกป วดเมอ่ื ย เถาวัลยเ ปรียง ลักษณะตนเถาวัลยเปรียง
18 พ ริ ก ไ ท ย ช่ือวทิ ยาศาสตร Piper nigrum Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร พริกไทยเปนพืชที่อยูตระกูลเดียวกับดีปลี ชะพลู พลู เปน ไมเ ลอ้ื ยยนื ตน ลําตน มคี วามสงู ประมาณ 5 เมตร เถาของพริกไทยจะมีราก เรียกวา ตนี ตแุ ก เกาะพนั กบั ไมค า งหรอื พชื ชนดิ อน่ื เถาจะ มีขอพองมองเห็นไดชัด ใบจะออกสลบั กนั ลักษณะเปนใบรีใหญ ดอกจะออกเปน ชอ จากขอ ผลมี ลักษณะกลมออกเปน พวง สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบอากาศอบอนุ และมคี วามชน้ื สงู • เจริญเตบิ โตไดด ใี นดนิ รว นทม่ี อี นิ ทรยี ว ตั ถมุ าก มกี ารระบายน้ําดี • ดินสภาพคอ นขา งเปน กรด คา pH ประมาณ 6-6.5 การเตรยี มแปลงปลกู • ในกรณีเปน ท่ีบุกเบกิ ใหม ควรไถหนา ดนิ ใหล กึ ประมาณ 40-60 เซนตเิ มตร แลวไถพรวน หนาดินอกี ครง้ั เพอ่ื ใหห นา ดนิ เรยี บสม่ําเสมอ ไมใ หเ ปน แอง ในแปลง การขยายพนั ธุ • การปกชําเปน วธิ ที น่ี ยิ มมากทส่ี ดุ การเตรียมเสาคา ง • ใชค า งซเี มนตร ะยะหา ง 2X 2 เมตร หากใชไ มย นื ตน เปน ไมค า งควรใชร ะยะปลกู 2 X 3 เมตร หรือ 2.5 x 2.5 เมตร • ในกรณีท่ีใชคางซีเมนต ผูปลูกตองใชกระสอบปานหุมคางไวเพ่ือเก็บรักษาความชื้นและ เปนที่ยึดเกาะของรากพริกไทย การปลกู • ควรปลกู ชวงฤดฝู น • ขุดหลมุ ปลกู ขนาด กวาง X ยาว X ลกึ 50 X 50 x 60 เซนตเิ มตร • นําตนพริกไทยทเ่ี ตรยี มไวว างลงในหลมุ ใหเ อยี งเขา หาคา ง ฝง ดนิ ลงไปประมาณ 2 ขอ และอกี ประมาณ 3 ขอ อยเู หนอื ผวิ ดนิ การดแู ลรกั ษา • ควรพรวนดินกอนฤดูหลังการเก็บเกี่ยวพรอมกับใสปุยอินทรีย และควรใหน้ําอยางนอย อาทิตยละ 1 ครง้ั ตดั แตง กง่ิ ทไ่ี มด อี อกบา ง เชน กิ่งแกหรือกิ่งที่หัก
19 ศัตรูและการปอ งกนั กําจดั ศตั รู • เพลี้ยงแปง มกั พบมกี ารระบาดในชว งฤดฝู น โดยการกําจดั นน้ั ควรใชส ารเคมพี วกเซฟวนิ หรอื มาลาไธออนทกุ 7-10 วัน/ครง้ั • เพลย้ี ออ น ทาํ ลายโดยการดดู กนิ น้ําเลย้ี งตน พรกิ ไทย การกําจดั จะใชส ารเคมเี ชนเดียวกับ เพลี้ยแปง • โรครากเนา เกดิ จากเชอ้ื รา จะทําใหเถาและใบเหี่ยวแลวตนพริกไทยจะตายไปในที่สุด การ ปอ งกนั กําจดั เมอ่ื พบตน เปน โรคใหข ดุ และเผาทําลายทิ้ง การเกบ็ เกย่ี ว • ผลพริกไทยชอเดียวกันจะสุกเปนสีแดงไมเทากัน เมอ่ื พบวา มผี ลเรม่ิ สกุ ในชอ ใดทําการเกบ็ ชอนั้นมาทั้งชอ การเกบ็ เกย่ี วผลหมดทง้ั ตน ในแตล ะป จะใชเ วลาเกบ็ ประมาณ 10 ครง้ั ผลผลติ • ผลผลิตแหง 600 กิโลกรัม/ไร อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 3 : 1 สวนที่ใชประโยชน • ผลแหง สาระสําคญั • สารกลมุ monoterpene และ sesquiterpene สรรพคณุ • แกท อ งอืด ทองเฟอ ลกั ษณะผลใบและตนพริกไทย
20 ม ะ แ ว ง เ ค รื อ ช่ือวทิ ยาศาสตร Solanum trlobatum Linn. ลักษณะทางพฤกษศาสตร • เปนไมเลื้อยหรือไมพุม กง่ิ เลอ้ื ยยาว 2-5 เมตร มกั มหี นามโคง แหลมและสน้ั ใบอาจเรียบ หรือมีหนามเล็กๆ ดอกสมี ว ง ผลมลี กั ษณะกลมขนาดประมาณ 8 มลิ ลเิ มตร สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ปลูกไดดีในสภาพแวดลอ มท่วั ๆ ไป ถา มนี ้ําพอเพยี งสามารถใหผ ลผลติ ไดต ลอดป • ชอบดนิ รว นระบายน้ําดี มอี นิ ทรยี ว ตั ถพุ อสมควร การเตรยี มแปลงปลกู • ไถพรวนดิน กําจัดเศษวัชพืชและใสปุยคอก ไถพรวนดนิ อกี ครง้ั คลกุ เคลา ใหเ ขา กนั จากนน้ั ปรับพื้นที่ใหเรียบ การเพราะกลา • นําเมลด็ แชใ นน้ําอนุ 50 องศาเซลเซยี ส เปน เวลานาน 5 นาที • เพาะในกระบะเพาะเปน เวลา 1 เดอื น จึงยายปลกู การปลูก • ระยะหา งระหวา งตน และระหวา งแถว 1 X 1 เมตร • รดนํ้าทันที การเตรยี มคา ง • การเตรียมคา งใหต น มะแวง เครอื กระทําเมอ่ื ตน มอี ายุ 2-3 เดอื นขน้ึ ไป โดยใชเสาไมไผที่ มีขนาดเสน ผา ศนู ยก ลาง 1 นว้ิ ความยาว 2 เมตร และมไี มไผผ า ซีกผูกในแนวขวาง 2 แถว หางจากพื้นดิน 75 เซนตเิ มตร และ 150 เซนตเิ มตร ตามลําดบั การดแู ลรกั ษา • กําจดั วชั พชื บรเิ วณโคนตน โดยใชม อื ถอน • คอยจัดเถามะแวง เครอื ใหเ ลอ้ื ยบนคา ง • รดนํ้าใหด นิ มคี วามชน้ื สม่ําเสมอ • ตัดแตงกิ่งที่แหงออกบาง หลงั ใหผ ลผลติ รนุ แรก ใสป ยุ คอกในอตั รา 0.5 กิโลกรัม/ตน • ถาพบการระบาดของเพลย้ี ออ น เพลี้ยแปง ใหป อ งกนั กําจดั โดยใชส ารสะเดาฉีดพนทุก 3- 5 วัน ชว งทม่ี กี ารระบาด การเกบ็ เกย่ี ว • เร่ิมเกบ็ ผลผลติ ได เมอ่ื อายุ 8-10 เดอื น
21 • เก็บผลในระยะเริ่มแกแตยังไมสุก โดยผลเรม่ิ มสี เี หลอื งสม (ผลที่แกเต็มที่จะมีสีสมเขม) • ควรสวมถุงมือในระหวา งเกบ็ เพอ่ื ปอ งกนั หนามแหลมคมของมะแวง เครอื • ทยอยเก็บผลผลิต • ตากแดดเปน เวลา 3-5 วัน ใหแหงสนิท ผลผลติ • ผลผลติ สด 800 กิโลกรัม/ไร/ป อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : ผลผลิตแหง เทากับ 3 : 1 สวนที่ใชประโยชน • ผลสด/แหง สาระสําคญั • ยังไมม รี ายงาน สรรพคณุ • แกไอ แปลงปลกู มะแวง เครอื แบบใชคาง ลกั ษณะดอกและผลมะแวงเครือ
22 ไพล ช่ือวทิ ยาศาสตร Zingiber cassumunar Roxb. ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมล ม ลกุ มลี ําตน ใตด นิ เรยี กวา เหงา มสี เี หลอื ง และมกี ลน่ิ หอมเฉพาะ ลําตนเทียมแทง จากใตดินขึ้นมา ใบออกตรงขา มกนั มปี ลายแหลมโคนใบแผเ ปน กาบใบหมุ ลําตน ดอกเปน ชอ สขี าวมี กาบสีเขยี วปนแดงรปู โคง รองรบั สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ควรเปน ดนิ เหนยี วปนทรายทม่ี อี นิ ทรยี ว ตั ถสุ งู มกี ารระบายน้ําดี หลีกเลย่ี งดนิ ลกู รงั และ พนื้ ที่นํ้าขงั • ปลูกไดทั้งที่แจงและที่รมรําไร การเตรยี มแปลงปลกู • ไถพรวนดิน กําจัดเศษวัสดุและวัชพืช จากนน้ั ใสป ยุ คอกแลว ไถพรวนอกี ครง้ั คลกุ เคลา ให เขา กนั การเตรยี มเหงา พนั ธุ • ตองเปนหัวพนั ธทุ ่มี อี ายุมากกวา 1 ป มตี าสมบรู ณ ไมม โี รคแมลงเขา ทําลาย • การแบงหัวพันธุ ใหม นี ้ําหนกั 100-200 กรัม มตี า 3-5 ตา • ชุบทอนพนั ธดุ ว ยสารเคมปี อ งกนั เชอ้ื รากอ นปลกู การปลกู • ระยะระหวา งตนและระหวา งแถว 50 X 50 เซนตเิ มตร • ขุดหลมุ ขนาด กวาง X ยาว X ลกึ 15 X 15 X 15 เซนตเิ มตร • นําเหงา พนั ธไุ พลทเ่ี ตรยี มไวล งปลกู กลบดนิ ใหม ดิ หนา 2-3 เซนตเิ มตร • คลุมดวยฟางหรือใบหญาคาตากแหงหนาประมาณ 2 นว้ิ • รดน้ําทันที การดแู ลรกั ษา • ปแ รกกําจัดวัชพืช 2 ครง้ั • ปที่สองกําจัดวัชพืช 1 ครง้ั เนอ่ื งจากไพลจะคลมุ พน้ื ทร่ี ะหวา งตน และแถวจนเตม็ • ปทส่ี ามไมต อ งกําจัดวัชพืชและปลอยใหแหงตายไปพรอมกับตนไพลที่ฟุบ • ปกติในพ้ืนทป่ี ลกู ภาคตะวนั ออกอาศยั น้ําฝนจากธรรมชาติ ไมม กี ารรดน้ํา แตก ารปลกู ใน พื้นที่ภาคอื่นที่แหงแลงกวา ควรรดน้ําบา งอยา งนอ ยสปั ดาหล ะ 1 ครง้ั • ไมตอ งใสป ยุ วทิ ยาศาสตร เพราะเชอ่ื วา จะมผี ลตอ คณุ ภาพน้ํามนั ไพล
23 • หามฉดี สารเคมปี อ งกนั กําจดั แมลง เพราะจะมพี ษิ ตกคา งในน้ํามนั ไพล การเกบ็ เกย่ี ว • หัวไพลที่นํามาสกดั น้ํามนั ตอ งมอี ายุ 2-3 ป • เก็บหัวไพลชวงเดือนกุมภาพันธ-เมษายนจะสังเกตเห็นตนไพลแหงและฟุบลงกับพื้น ให ขุดหัวไพลขน้ึ มาจากดนิ ซง่ึ นยิ มใชอ จี กิ ขดุ ตอ งระวงั ไมใ หเ หงา ไพลแตกหกั • หามเก็บหัวไพลขณะที่เร่ิมแตกหนอใหมเพราะจะทําใหไดน้ํามันไพลที่มีปริมาณและคุณ ภาพต่าํ • เขยา ดนิ ออก ตดั รากแลว นําไปผึ่งลมใหแหง • เกบ็ ผลผลติ บรรจกุ ระสอบ พรอมที่จะนําไปสกดั น้ํามนั ไพล ผลผลติ • ผลผลติ สด ไรล ะ 8-10 ตนั อัตราสว นทําแหง • ผลผลติ สด : น้าํ มนั หอมระเหย เทากับ 1 ตนั : 8-10 ลติ ร สวนที่ใชประโยชน • เหงา สาระสําคญั • Terpene สรรพคณุ • แกป วดเมอ่ื ย • กวาวเครอื ทม่ี อี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตอยา งรวดเรว็ ทง้ั สว นทอ่ี ยู ลกั ษณะตน ไพล ลกั ษณะเหงา ไพล
24 ก ว า ว เ ค รื อ ช่ือวทิ ยาศาสตร Pueraria mirifica Airy Shaw & Suvatabandhu. ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมเถาเลื้อยขนาดใหญ เนอ้ื แขง็ ผลดั ใบ มหี วั ใตด นิ คลา ยหวั มนั แกว กา นใบหนง่ึ ใบมใี บ ยอย 3 ใบ เรียงสลบั กัน เนอ้ื ใบดา นบนเกลย้ี ง ดา นลา งมขี นสน้ั ๆ ประปราย ดอกเปน ชอ ยาวประมาณ 30 เซนตเิ มตร ดอกมสี สี ม ฝก เลก็ แบนบางคลา ยฝก ถว่ั มเี มลด็ 3-5 เมลด็ /ฝก พนั ธุ กวาวเครอื ทใ่ี ชก นั มากมี 2 พันธุ คอื กวาวเครอื ขาวและกวาวเครอื แดง • กวาวเครือขาว มักพบมีหัวลักษณะกลม มยี างสขี าว มสี ารออกฤทธค์ิ ลา ยฮอรโ มนเพศหญงิ ตนเปนเครอื อาศยั พนั ตน ไมอ น่ื หรอื เลอ้ื ยตามดนิ • กวาวเครือแดง มกั พบหวั มรี ปู รา งยาว มสี รรพคณุ เสรมิ สขุ ภาพของบรุ ษุ ตน ขน้ึ จากดนิ โดย ไมตอ งอาศยั พนั ตน ไมอ น่ื สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ดนิ มคี า pH ประมาณ 5.5 • พน้ื ทป่ี ลกู อยสู งู กวา ระดบั น้ําทะเล 300-900 เมตร • ปา เบญจพรรณหรือปาไผ • ยังไมมีรายงานวา ดนิ ชนดิ ใดมคี วามเหมาะสมในการปลกู กวาวเครอื การคดั เลอื กพนั ธุ • กวาวเครอื ทม่ี ปี รมิ าณสารเคมใี นหวั มาก • กวาวเครือมีอตั ราการเจรญิ เตบิ โตอยา งรวดเรว็ ทง้ั สว นทอ่ี ยเู หนอื ดนิ และใตด นิ • กวาวเครอื ทีม่ จี ํานวนหวั มาก การปลกู • ปลูกรวมกบั ไมย นื ตน ในระบบวนเกษตร เชน ไผ สกั ปอสา หรือ ไมผ ลอน่ื ๆ • ปลกู กลางแจง โดยไมต อ งทําคา งไมไ ผ โรคแมลง • พบวา มหี นอน แมลงหลายชนิดหอยทากและตนุ เปน แมลงศตั รขู องกวาวเครอื ในธรรมชาติ การเกบ็ เกย่ี ว • ขุดหัวและผาหัวภายใน 3-4 วัน ถา ทงิ้ ไวนานหัวจะแหง และเนา • ปอกเปลือกออก ใชม ดี ฝานเปน ชน้ิ บางๆ ตากแดด 3 วัน เมอ่ื แหง สนทิ บรรจลุ งกระสอบ แลว นําไปจําหนา ย
25 • ปกติแลวกวาวเครือที่เก็บเกี่ยวจะมีขนาดหัวใหญกวา 2 กิโลกรัม และยงั ไมม รี ายงานวา หัวกวาวเครอื อายุเทาไร ขนาดใดและขดุ ฤดกู าลไหนจะใหห วั ทม่ี สี ารสําคญั ทต่ี อ งการมาก ที่สุด สวนที่ใชประโยชน • หัวแหง สาระสําคญั • สารออกฤทธค์ิ ลา ยเอสโตรเจน ไดแก mirosterol สรรพคณุ • เปนยาอายุวัฒนะ ตน กวาวเครือขาว หวั กวาวเครือ
26 บุ ก เ นื้ อ ท ร า ย ช่ือวทิ ยาศาสตร Amorphophallus oncophyllus Prain ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนพืชหัวประเภทลมลุก หัวใตดนิ (ลําตน จรงิ ) ลักษณะกลมแปน ลําตน สงู ประมาณ 1 เมตร ลักษณะอวบน้ํา ผิวเรียบ ลําตน มสี แี ละลายแตกตา งกนั ใบเกดิ บรเิ วณปลายสดุ ของตน แยกเปน 3 กาน แตล ะกา นมี 2 ใบยอ ย ลักษณะพิเศษที่บุกเนื้อทรายแตกตางกับบุกชนิดอื่นๆ คอื จะมีหัวบนใบ เกิดข้ึนตรงแยกกานใบที่ปลายสุดของลําตน ตรงจุดแยกระหวางใบยอยและตรงจุดแยกเสนใบขนาด ใหญข องรว้ิ ใบยอ ย สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • ชอบดินรว นทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณส งู มกี ารระบายน้ําดี pH 5-6.5 • แสงแดดรําไร หรอื มกี ารพรางแสง 50 เปอรเ ซน็ ต • ตองไมม ลี มพดั แรง เพราะตน บกุ หกั ลม งา ย • ปริมาณนํ้าฝนระดบั ปานกลางควรมแี หลง น้ําสํารองหลงั ฝนทง้ิ ชว ง การเตรยี มแปลงปลกู • ไถดะและไถพรวน ใสป ยุ คอก • การยกรอ งขน้ึ อยกู บั ขนาดของหวั พนั ธุ คอื ต่ํากวา 400 กรัม โดยประมาณ ใหยกรอง กวาง 60 เซนตเิ มตร ถา หัวขนาดใหญก วาใหย กรองกวาง 80 เซนตเิ มตร ความสงู ของรอ ง 30 เซนตเิ มตร และระยะระหวา งรอ ง 50 เซนตเิ มตร การเตรยี มหวั พนั ธ • การปลกู ดว ยหวั บนใบ คดั ขนาดน้ําหนกั 2.5 กรัม • การปลูกดว ยหวั ใตด นิ แบง หวั พนั ธเุ ปน กลมุ ๆ ตามน้ําหนกั โดยประมาณ ดงั น้ี - ขนาดใหญ นา้ํ หนกั 400 กรัม/หัวขึ้นไป - ขนาดกลาง นา้ํ หนกั 200-400 กรัม/หัว - ขนาดเล็ก นา้ํ หนกั 50-200 กรัม/หัว การปลูก การปลกู ดว ยหวั ใตด นิ • หัวพันธุขนาดใหญ ใชระยะปลูกระหวางแถวและระหวางตน 40 X 40 เซนตเิ มตร (รอ งละ 2 แถว) • หัวพันธุข นาดกลางและขนาดเลก็ ใชระยะปลูก 30 X 30 เซนตเิ มตร (รอ งละ 2 แถว) • ฝงใหสว นหัวอยูลึกจากผิวดิน 5 เซนตเิ มตร โดยหนอ จะฝง ดนิ หรอื โผลข น้ึ มากไ็ ด
27 • ใหน ้ําหลงั ปลกู ทกุ 3-5 วัน ในชว งแลง การปลกู ดว ยหวั บนใบ • ใชระยะปลูก 30 X 20 เซนตเิ มตร • ขุดหลุมปลูกใหล กึ จากผวิ ดนิ 3 เซนตเิ มตร โดยวางใหส ว นทม่ี ขี นาดใหญส ดุ ตง้ั ขน้ึ แลว กลบ ดนิ • คลุมรอ งนํ้าดวยฟางเพื่อรกั ษาความชุมชืน้ • ใหน ้ําหลงั ปลกู ทกุ 3-5 วัน ในชว งแลง การพรางแสง • ต้ังรานใหส งู จากดนิ ประมาณ 2 เมตร แลว กางตาขา ยพรางแสง 50 เปอรเ ซน็ ต คลมุ ทง้ั แปลง • เลือกใชไมยืนตนชวยพรางแสง ควรใชไ มใ บเลก็ ทผ่ี ลดั ใบในฤดแู ลง และมใี บโปรง ในฤดฝู น มีอายุใบ 4-5 เดอื น เชน ประดอู อ น เปน ตน การดแู ลรกั ษา • ในชวงทฝ่ี นไมต กควรใหน้ําทุก 3-5 วัน • หลังปลูก 1 เดอื นครง่ึ ใสปยุ สตู ร 15-15-15 อตั รา 30 กิโลกรัม/ไร • หลงั ปลกู 3 เดอื น ใสป ยุ สูตร 13-13-21 อตั รา 30 กิโลกรัม/ไร • การกําจัดวัชพืชตองทําอยา งตอ เนอ่ื งและสม่ําเสมอ โดยเฉพาะกอนใสปยุ ควรใชม อื ถอน วัชพืชบนรอง หรอื ใชจ อบดายระหวา งรอ งและกลบโคน ในการใชจ อบตอ งระวงั ไมใ หโ ดน ตน บกุ ดว ย โรคแมลง • โรคเนา เกดิ จากเช้ือแบคทเี รีย Erwinia carotovora เขาทาํ ลายทั้งทางหวั ใตดินและใบที่หกั เปนแผล หวั จะเนา และมกี ลน่ิ เหมน็ แลว ลามไปยงั ตน ทําใหต น หกั พบั ลงมา การปอ งกนั กําจัดใหหมั่นตรวจสอบแปลงสมํ่าเสมอ ถา พบตน เปน โรคใหร บี ขดุ ตน และดนิ รอบๆ ทิ้ง และทําลายเสยี แลว โรยปนู ขาว เพ่ือปอ งกนั การแพรร ะบาดของเชอ้ื การเกบ็ เกย่ี ว • การเก็บหัวบนใบ เรม่ิ เกบ็ ไดต ง้ั แตเ ดอื นสงิ หาคม-พฤศจิกายน โดยเก็บหัวที่รวงหลนจาก ตนที่แหงหมดสภาพแลวเทานั้น ตน ทใ่ี บยงั สดจะยงั ไมเ กบ็ นําหัวบนใบที่ไดไปผึ่งแดด 1- 2 วัน ใสถ งุ ตาขา ยแขวนไว หรอื ใสต ะแกรงวางเปน ชน้ั ๆ ในทีอ่ ากาศถา ยเทสะดวก • การเก็บเกี่ยวหัวใตดินที่มีอายุ 2-3 ป เก็บเกี่ยวเม่ือตนบุกตายไปแลวมากกวา 90 เปอรเซ็นต ประมาณเดอื น ตลุ าคม-พฤศจิกายน ควรขดุ ดว นความระมดั ระวงั และขุดทุก ระยะของปากหลมุ ปลกู เพราะมหี วั ขนาดแตกตา งกนั ถา ดนิ แหง นําหัวบุกที่ขุดไดเก็บรวม ไวในโรงเก็บไดเลย แตถ าดนิ เปย กควรทิ้งไวใ นแปลงใหด นิ แหงรวงหลุดจากหัว และหาม ลางนํ้ากอ นเกบ็ เพราะหวั บกุ เนา เสยี ไดง า ย
28 ผลผลติ • หัวสด 4-6 ตนั /ไร สวนที่ใชประโยชน • หัว สาระสําคญั • glucomanan สรรพคณุ • เปน สารใหเ สน ใยอาหารสงู ลกั ษณะแปลงปลูกบุกเนื้อทราย ไขบุกบนใบบุกเนื้อทราย
29 ส ม แ ข ก ช่ือวทิ ยาศาสตร Garcinia atroviridis Griff. Garcinia cambogia ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมยืนตน ขนาดกลาง ทรงพุม คลา ยกรวย ใบโตและผวิ ใบเปน มนั มกี า นใบยาว ปลายใบ แหลม มีสีเขียวแก ออกดอกตามปลายยอด ลกั ษณะดอกเหมอื นกบั ดอกมงั คดุ ตนมีทั้งเพศผูและเพศ เมีย ผลสม แขกมสี เี หลอื งสด ลกั ษณะผลกลมคอ นขา งแปน มกี ลบี เลยี้ งสเี ขยี วท่ีข้วั ผล จํานวน 5 กลบี สวนบนของผลบริเวณขว้ั ผลมลี กั ษณะกวา งและเปน รอ งตน้ื ๆ คลายผลฟกทอง เมอ่ื ผลแกจ ดั สามารถปริ แตกตามเส้ียวไดงา ย มผี นงั บางตดิ แนน กบั สว นเนอ้ื ผล ผลออ นจะมสี เี ขยี วและกลายเปน สเี หลอื งเขม เมื่อผลแก มรี สเปรย้ี ว เนอ่ื งจากมกี รดไฮดรอกซซี ติ รกิ (Hydroxycitric acid) มีเมลด็ แบนๆ ประมาณ ผลละ 2-3 เมลด็ สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสม • พ้ืนท่ีราบต่ําจนถงึ ความสงู ของภเู ขา 600 เมตร ในเขตความรอ นชน้ื ไดแก พื้นที่บริเวณ ภาคใตต อนลา งของประเทศ การเตรยี มแปลงปลกู • ขุดหลมุ กวา ง X ยาว X ลกึ 30 X 30 X 30 เซนตเิ มตร การขยายพนั ธุ • ใชเมล็ดในการขยายพนั ธุ ซง่ึ ตน พนั ธจุ ะมที ง้ั ตวั ผตู วั เมยี และตน ตวั เมยี ในการใหผ ลนน้ั จะ ใหเฉพาะตัวเมีย ดงั นน้ั เพอ่ื ลดการเสย่ี งกจ็ ะมกี ารเสยี บยอดพนั ธดุ ขี องตน ตวั เมยี บนตน ตอทเ่ี พาะจากเมลด็ อกี ครง้ั หนง่ึ การปลูก • ระยะที่ใชปลูก 9 X 9 เมตร • ใสปยุ คอกหรอื ปยุ อนิ ทรยี ร องไวก น หลมุ • เม่ือปลูกกลา แลว ตอ งกลบดนิ ใหแ นน และมไี มย ดึ ลําตน กนั โยก • ถาแดดจดั ตอ งพรางแสงแดดในระยะแรกของปลกู ดว ย การดแู ลรกั ษา • หลังจากปลูกแลว ควรมกี ารบํารงุ ใสป ยุ ใหต น สม แขก โดยดนิ ปลกู ทเ่ี ปน ดนิ รว นหรอื รว นปน ทราย ใหใชปุยสูตร 15-15-15 หรือ 16-16-16 แตถ า เปน ดนิ รว นเหนยี วหรอื ดนิ เหนียว ควรใชปุยสูตร 16-20-0 หรือ 20-20-0 โดยหวานใหทั่วใตทรงพุม หางจาก โคนอยางนอ ย 50 เซนตเิ มตร และควรพรวนดนิ กลบปยุ เพอ่ื ปอ งกนั การสญู เสยี ไปโดย การระเหยและชะลา งของน้ํา
30 • ในระยะแรกของการปลูก ถา ฝนไมต กควรใหน ้ําอยา งนอ ยวนั ละ 2 ครง้ั และคอยกําจัดวัช พชื บริเวณรอบลําตน การเกบ็ เกย่ี ว • 7-8 ป จึงจะใหผล โดยผลจะออกชว งเดอื นมถิ นุ ายน-สงิ หาคม • เก็บผลทม่ี ขี นาดโตเตม็ ท่ี ผลผลติ • ผลผลติ สด 3 ตนั /ไร/ป อัตราสว นการทําแหง • ผลผลติ สด: แหง เทากับ 14 : 1 สวนที่ใชประโยชน • ผลแหง สาระสําคญั • กรดไฮดรอกซซี ติ รกิ สรรพคณุ • เปนผลติ ภณั ฑอ าหารเสรมิ เพอ่ื ควบคมุ น้ําหนกั ลกั ษณะตน สม แขก ลกั ษณะผลสม แขก จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: