Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานปอเนาะ

รายงานปอเนาะ

Published by นูรีซัน ลากอ, 2021-09-07 02:10:55

Description: รายงานปอเนาะ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 1 ปงี บประมาณ 2564 คำนำ ร ายง าน ผล ก าร ดาเนิ น ง าน โคร ง ก าร จัดก าร ศึก ษาตล อดชี วิ ตใน สถาบั น ศึก ษาปอ เน า ะ แผนงาน : บรู ณาการขบั เคลอ่ื นการแกไ้ ขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการส่งเสริมและเผยแพร่ความ จริงท่ีถูกต้องเพื่อสนับสนุนการแก้ไขปัญหา งบรายจ่ายอ่ืน ค่าใช้จ่ายโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตใน สถาบันศกึ ษาปอเนาะ รหัสงบประมาณ 2000 2040 D170 0001 ปีงบประมาณ ๒๕๖4 จานวนเงิน ท้ังสิ้น 63,200 บาท ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง จังหวัดยะลา ได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในการ ส่งเสริมทักษะอาชีพระยะส้ัน การส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ และการจัดโครงการ 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง จึงเข้าไป มีบทบาทส่งเสริมในสถาบันศึกษาปอเนาะด้านจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ อาชีพ การจดั กจิ กรรมทักษะชีวิต รวมทั้งการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ซึ่งเป็นการส่งเสริมสถาบันศึกษา ปอเนาะใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ ้งั ทางโลกและทางศาสนาควบค่กู นั ไปภายใต้สงั คมพหวุ ฒั นธรรม ใ น น า ม ข อ ง ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า โ ค ร ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต ล อ ด ชี วิ ต ใ น ส ถ า บั น ศึ ก ษ า ป อ เ น า ะ ปงี บประมาณ ๒๕๖4 ขอขอบคุณผอู้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั ยะลา ผู้อานวยการ กศน.อาเภอกาบัง และบุคลากร กศน.อาเภอกาบงั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งทกุ ทา่ น ที่ได้มสี ว่ นรว่ มสนบั สนุนและให้คาปรึกษาแนะนา ผลที่ได้ จากการจดั ทาโครงการคร้งั นี้ ได้บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการเปน็ อย่างดีย่ิง ดงั รายละเอียดในรายงาน ฉบบั นีแ้ ลว้ กศน. อาเภอกาบงั สานักงาน กศน. จังหวดั ยะลา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง จังหวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 2 ปงี บประมาณ 2564 สำรบญั เร่อื ง หนำ้ คานา.......................................................................................................................................... ก สารบัญ....................................................................................................................................... ข บทท่ี ๑ บทนา.......................................................................................................................... 3 เหตผุ ลความจาเป็น.................................................................................................................... 3 วัตถุประสงค์............................................................................................................................... 3 เป้าหมายโครงการ (Output).................................................................................................... 3 กล่มุ เปา้ หมายโครงการ (Target group)................................................................................... 4 ระยะเวลาการดาเนนิ การ........................................................................................................... 4 พนื้ ที่ดาเนนิ การ.......................................................................................................................... ๔ กิจกรรมทด่ี าเนินการ.................................................................................................................. ๔ ผลที่คาดวา่ จะได้รบั .................................................................................................................... ๕ บทท่ี ๒ เอกสารและข้อมูลท่ีเกีย่ วข้องกบั การดาเนินโครงการ................................................... 6-8 ขอ้ มูลสถาบันศกึ ษาปอเนาะที่เขา้ รว่ มจดั การศกึ ษา................................................................... 9 รปู แบบการจัดกจิ กรรม............................................................................................................. 10 บทที่ ๓ ผลการดาเนนิ การ....................................................................................................... 11 กิจกรรมท่ี 1 ประชุมช้ีแจงวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 11 กิจกรรมท่ี 2 สง่ เสริมทักษะอาชีพในสถาบันศึกษาปอเนาะเพ่ือการสรา้ งอาชีพทย่ี งั่ ยืน 11 กจิ กรรมที่ 3 สง่ เสรมิ การอา่ นภาษาไทยในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 11 กิจกรรมที่ 4 1 ปอเนาะ 1 โครงการพฒั นา 12-13 กิจกรรมท่ี 5 อบรมประวัตศิ าสตร์ชาติไทยสาหรับนกั ศึกษาปอเนาะ บทท่ี ๔ สรุปผลการดาเนินงาน............................................................................................... ภาคผนวก................................................................................................................................... โครงการฯ..................................................................................................................... ขออนุญาตจดั โครงการฯ............................................................................................... กาหนดการฯ................................................................................................................. คาส่งั คณะทางานโครงการฯ.......................................................................................... หลกั สตู รการฝึกอบรมโครงการฯ................................................................................... แบบประเมินความพึงพอใจฯ........................................................................................ รายช่ือผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมโครงการฯ……………………………….................................... คณะผู้จัดทา................................................................................................................ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบงั จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ 3 ปีงบประมาณ 2564 บทที่ ๑ บทนำ เหตผุ ลควำมจำเปน็ สบื เน่ืองจากทีร่ ัฐบาลไดก้ าหนดใหพ้ ้นื ที่ 44 อาเภอ ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูล และสงขลา (4 อาเภอ คือ เทพา จะนะ นาทวี และสะบ้าย้อย) เป็นการจัดการศึกษาเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ดังนั้นการจัดการศึกษาจึงต้องคานึงถึงความลงตัวและ สอดคล้องกับ อัตลักษณ์ดังกล่าว เพ่ือสนองตอบต่อความต้องการตามวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่และ บริบทของการพัฒนาประเทศการจัดการศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะถือว่ามีความสาคัญในการพัฒนา ประเทศ เพราะท่ผี า่ นมาในสถาบนั ศึกษาปอเนาะยังไม่ได้พัฒนากระบวนการเรียนรู้ท่ีจะนาไปสู่การสร้างการ รับรู้ การสร้างงานใหแ้ ก่นักเรียนแต่เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงวิถีชีวิตกับศาสนาเป็นส่วนใหญ่ เพ่ือเป็นการเปิดโอกาส และโลกทัศน์การเรียนรู้แก่นักเรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะ จึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีต้อง จัดการการศึกษาท่ีหลากหลาย เช่น การพัฒนาทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต เพ่ือให้นักเรียนสามารถปรับตัวตาม ความเปลย่ี นแปลงของสังคมและเทคโนโลยีในปัจจุบันและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาใน เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง เล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าวจึง ได้ดาเนินการจัดโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ เพื่อให้นักเรียนในสถาบันศึกษา ปอเนาะสถาบันศึกษาปอเนาะมีความสะอาดและปลอดภัย เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรพอเพียง และเป็น แหล่งแหล่งเรียนรู้สาหรับเยาวชนในสถาบันศึกษาปอเนาะ เกิดทักษะในด้านการเรียนรู้ โดยท่ีผลของการ เรียนรู้น้ันนามาสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนและสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และสรา้ งความเขม้ แขง็ มน่ั คง ในพน้ื ท่จี งั หวัดชายแดนภาคใต้ต่อไป วัตถุประสงค์ ๑. เพอื่ สง่ เสรมิ ให้นักศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะมีทักษะอาชีพการมงี านทา ๒. เพื่อปรบั ภูมิทศั นภ์ ายในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะให้มคี วามสะอาดและปลอดภยั 3. เพอ่ื พฒั นาสถาบันศกึ ษาปอเนาะใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรู้ด้านเกษตรพอเพยี ง 4. เพื่อส่งเสริมใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้สาหรับเยาวชนในสถาบันศึกษาปอเนาะ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 4 ปีงบประมาณ 2564 เป้ำหมำยโครงกำร (Output) เชงิ ปริมำณ ๑. สถาบันศกึ ษาปอเนาะร่วมจัดกบั กศน.อาเภอกาบัง จานวน 4 แหง่ ๒. นกั ศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 100 คน เชงิ คณุ ภำพ ๑. นกั ศกึ ษาในสถาบนั ศึกษาปอเนาะมีทกั ษะอาชีพ มีงานทา ๒. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมีภมู ทิ ัศนท์ มี่ ีความสะอาดและปลอดภัย 3. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะเป็นแหลง่ เรียนรดู้ า้ นเกษตรพอเพยี ง 4. สถาบนั ศึกษาปอเนาะที่ร่วมจัด กศน. ได้รับการส่งเสริมให้เป็นแหล่งแหล่งเรียนรู้สาหรับเยาวชน ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ กลุ่มเปำ้ หมำยโครงกำร (Target group) 1. นักศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ (ปา่ พรา้ ว) 2. นกั ศกึ ษาในสถาบันศกึ ษาปอเนาะมะหดั ดารุลกุรอาน 3. นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะอนั -ซอรุลซนุ นะห์ 4. นักศกึ ษาในสถาบนั ศึกษาปอเนาะอิห์ยาออ์ ลุ มู มดิ ดีน ระยะเวลำกำรดำเนนิ กำร ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2563 ถงึ เดอื นตุลาคม 2564 พนื้ ทด่ี ำเนนิ กำร 1. สถาบันศึกษาปอเนาะอัลฟาแตฮ (ปา่ พร้าว) หมู่ 1 บา้ นป่าพร้าว ตาบลบาละ อาเภอกาบัง จังหวัด ยะลา 2. สถาบันศึกษาปอเนาะมะหัดดารุลกุรอาน หมู่ 1 บ้านบันนังดามา ตาบลกาบัง อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา 3. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอัน-ซอรลุ ซุนนะห์ หมู่ 1 บา้ นเจาะปอื ยอ ตาบลกาบัง อาเภอกาบัง จังหวัด ยะลา 4. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอหิ ย์ าอ์อุลูมมิดดีน หมู่ 1 บ้านนบิ ง ตาบลกาบงั อาเภอกาบัง จังหวดั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 5 ปงี บประมาณ 2564 กิจกรรมทดี่ ำเนนิ กำร 1. กิจกรรมประชมุ ชีแ้ จงวัตถปุ ระสงค์ของโครงกำร 2. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะอำชพี ในสถำบันศึกษำปอเนำะเพอ่ื กำรสรำ้ งอำชพี ทยี่ งั่ ยนื จานวน 4 กลุ่ม / 100 คน ดงั น้ี 1) สถาบันศกึ ษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ (ป่าพร้าว) จานวน 1 กล่มุ - วชิ าชา่ งก่อสรา้ ง หลักสูตร 6๐ ช่ัวโมง จานวน 25 คน 2) สถาบันศกึ ษาปอเนาะมะหัดดารลุ กรุอาน จานวน ๒5 กลุ่ม - วชิ าการทาอาหาร-ขนม (ขนมโดนทั ) หลกั สูตร 6๐ ช่ัวโมง จานวน 25 คน 3) สถาบนั ศกึ ษาอัน-ซอรุลซนุ นะห์ จานวน ๑ กลุ่ม - วิชาการทาอาหาร-ขนม (ขนมเค้ก) หลกั สตู ร 6๐ ช่ัวโมง จานวน 25 คน 4) สถาบนั ศึกษาปอเนาะอิหย์ าออ์ ุลูมมดิ ดนี - วชิ าชา่ งกอ่ สร้าง หลักสูตร 6๐ ชวั่ โมง จานวน 25 คน 3. กจิ กรรมสง่ เสริมกำรอำ่ นภำษำไทยในสถำบนั ศึกษำปอเนำะ ดังนี้ 1) จดั ซือ้ หนงั สือสง่ เสรมิ การอา่ นดา้ นศาสนา ศาสตรพ์ ระราชาและอาชพี 4. กิจกรรม 1 ปอเนำะ 1 โครงกำรพฒั นำ - ปรับภูมทิ ัศน์และพฒั นาสถาบันศกึ ษาปอเนาะให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ดา้ นเกษตรพอเพียง 5.อบรมประวัติศำสตร์ชำตไิ ทยสำหรบั นักศึกษำปอเนำะ - จดั อบรมใหค้ วามรู้ เห็นความสาคญั ของชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ยิ เ์ ปน็ เสาหลกั ของประเทศ ผลทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั ๑. นักศกึ ษาในสถาบันศกึ ษาปอเนาะมีทักษะอาชพี มีงานทา ๒. สถาบันศกึ ษาปอเนาะมีภูมทิ ัศน์ที่มีความสะอาดและปลอดภัย 3. สถาบันศึกษาปอเนาะเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรพอเพยี ง 4. สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะที่ร่วมจัด กศน. ได้รับการส่งเสริมให้เป็นแหล่งแหล่งเรียนรู้สาหรับเยาวชน ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 5. นกั ศกึ ษาในสถาบันศึกษาปอเนาะมีความรู้ เหน็ ความสาคัญของชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ท่ีเปน็ เสาหลกั ของประเทศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบงั จงั หวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศึกษาปอเนาะ 6 ปงี บประมาณ 2564 บทท่ี ๒ เอกสำรและข้อมลู ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับกำรดำเนนิ โครงกำร การศกึ ษาเป็นเครือ่ งมือที่สาคัญในการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สังคมใดท่ีมีการจัดการศึกษาที่ดีมี คุณภาพ สังคมนนั้ ย่อมเปน็ สังคมทมี่ คี ณุ ภาพเช่นกนั พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม พุทธศักราช 2545 มาตรา 6 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็น มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณท์ ง้ั รา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรูแ้ ละคุณธรรม มจี ริยธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2553 : 5) การปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนามนุษย์ของประเทศ เป็น การจัดระบบการศึกษาเพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษาให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง ( Inclusive Education) เป็นกลไกสรา้ งโอกาสและสันตสิ ขุ ความปรองดองในสังคม โดยให้การศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถแข่งขันของประเทศ และรองรับการเรียนรู้ของคนไทยทุกคน ภายใต้หลักการเชงิ อุดมคติ “แผน่ ดนิ ไทยไมท่ อดทง้ิ ใคร” (Inclusive Thailand) ทง้ั ในแง่โอกาสและคุณภาพ การสร้างสังคมไทยใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ ปัญญา โดยส่งเสริมสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้และสื่อสาธารณะด้าน การศึกษา เพื่อบ่มเพาะจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลให้กับ สังคมไทย (สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 2558) จากความพยายามในการปฏิรูปการศึกษาของ ไทยต้ังแต่ปี 2516 จนถงึ การปฏริ ปู การศกึ ษาตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มุ่งเน้น ไปท่ีการส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตเป็นหลัก เพื่อให้การศึกษาเป็นวิถีของคนและสังคมไทยอย่างแท้จริง ความมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษา คือ จัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพแก่คนไทยทุกคนอย่างท่ัวถึง เป็นการศึกษาท่ีต่อเนื่องตลอดชีวิต และทุกภาคส่วนของสังคมไทยมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า การศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมกันทั้งหมดเป็นการศึกษาตลอด ชีวิต ซึ่งมนุษย์ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ตั้งแต่เกิดจนตาย การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกท่ีและทุกเวลา โดย สถานศึกษาอาจจะจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือท้ัง 3 รูปแบบก็ได้ และให้มีการเทียบโอนผล การเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจาก สถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบ การเรียนรู้ตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางาน (สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. 2556 : ก) ซึ่งสอดคล้องกับคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามที่กาหนดให้มุสลิมทุกคนหม่ันแสวงหาความรู้ ดังปรากฏ ในอัลหะดีษ ความว่า “การศึกษาเป็นสิ่งบังคับสาหรับมุสลิมทุกคน” และการศึกษาตามแนวทางอิสลาม สามารถศึกษาได้ตั้งแต่เกิดจนกระท่ังตาย ดังคากล่าวท่ีว่า “ท่านทั้งหลายจงแสวงหาความรู้ตั้งแต่อยู่ในเปล จนกระทั่งถึงหลุมฝงั ศพ” ท้งั น้ี เพื่อเป็นการพัฒนาตนตามแนวทางของอิสลามให้เป็นคนดี มีปัญญา ความรู้ คู่คุณธรรม จริยธรรม และดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม (มูฮามัด มอลอ. 2554 : 1) จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วยจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส สตูลและสงขลา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และใช้ภาษามลายูถิ่นในการสื่อสารในชีวิตประจาวัน (อิบราเฮ็ม ณรงคร์ กั ษาเขต, 2548 : 67) มีวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ โดยเฉพาะในพ้ืนที่ 3 จังหวัดชายแดน ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 7 ปีงบประมาณ 2564 ภาคใตค้ อื ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส เป็นพื้นท่ียุทธศาสตร์สาคัญทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและ ความม่นั คงของภาคใตแ้ ละของประเทศไทย โดยมอี ตั ลกั ษณท์ ่แี ตกต่างจากพื้นท่ีอ่ืนๆ ของประเทศ ประชากร สว่ นใหญ่ประมาณรอ้ ยละ 80 นบั ถือศาสนาอิสลาม ใช้ภาษามาลายูถิ่น (Local Malay Language) ส่ือสาร ในชีวิตประจาวัน มีลักษณะทางสังคมผสมผสานระหว่างชาวไทยเชื้อสายต่างๆ ท้ังชาวไทยพุทธ ชาวไทย มสุ ลมิ ชาวไทยเชือ้ สายจีนและชาวไทยทนี่ บั ถือศาสนาอื่นๆ โดยมีมิตคิ วามเปน็ มาทางประวัติศาสตร์และทาง ศาสนาท่ีมีลักษณะเฉพาะมายาวนาน วิถีชีวิตท่ีโดดเด่นจึงเป็นวิถีชีวิตของชาวไทยมุสลิม คือ ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและการปฏิบัติ พิธีกรรม มีความผูกพันกับชุมชนและครอบครัวอย่าง ลึกซึง้ ซ่ึงเป็นผลมาจากบทบัญญตั ิของศาสนาอิสลาม ในทัศนะของมุสลิมท่ีดีจะเป็นผู้ท่ียึดม่ันกับอัลอิสลาม การดาเนนิ ชีวติ ต้องเปน็ วิถีท่ีวางอยบู่ นพ้นื ฐานของศาสนา ปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีสาเหตุมาจากปัญหาหลาย มิติ เช่น มิติดา้ นประวัตศิ าสตร์ ด้านภาษาและวัฒนธรรม ด้านศาสนา ด้านเศรษฐกิจ ฯลฯ (อานันท์ ปัน ยารชุน, 2548) สภาพปัญหามีความละเอียดอ่อน มีลักษณะค่อนข้างสลับซับซ้อน รุนแรงทั้งในด้านสังคม จิตวทิ ยา เศรษฐกิจ การเมอื งการปกครอง และในปจั จุบนั ไมไ่ ดเ้ ป็นเพียงปัญหาระดับท้องถ่ิน แต่ได้พัฒนา ไปส่รู ะดบั ชาติและนานาชาติ ซึ่งเกดิ จากสาเหตหุ ลัก ๆ 2 ประการ ดงั นี้ 1. ปญั หาพนื้ ฐานที่เปน็ ปัญหาเฉพาะของจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละมีผลกระทบตอ่ ความม่ันคงของชาติ ได้แก่ ปญั หาการก่อการร้าย และปัญหาสงั คมจิตวทิ ยา 2. ปญั หาทัว่ ไป ซง่ึ เปน็ ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ ทั่วประเทศ แตเ่ มอ่ื เกดิ ขึน้ ท่จี ังหวดั ชายแดน ภาคใต้ จะมีการเชื่อมโยงในลักษณะเป็นเหตุเป็นผลกับสองปัญหาพื้นฐานดังกล่าว ได้แก่ ปัญหาความ ยากจนหรือ การด้อยพัฒนา ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด(ชิดชนก ราฮิมมูลา, 2548 : 49-53) ปญั หาการทจุ รติ คอร์รัปช่ันของเจา้ หน้าท่ีระดบั ภมู ิภาคและท้องถิ่น เจ้าหนา้ ทไ่ี มเ่ ข้าใจสภาพสังคมและชุมชนที่ รับผิดชอบ ไม่เข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่น การกาหนดนโยบายไม่ได้มาจากปัญหาของราษฎรอย่างแท้จริง สถานการณ์ในพ้ืนที่ ซ่ึงเต็มไปด้วยความไม่เช่ือถือ ความหวาดระแวงต่อกันเป็นเช้ือ เป็นเมล็ดพันธุ์ของการ กระตุ้นให้เกิดการใช้ความรุนแรงต่อกัน อย่างขาดสติมากข้ึน (เสน่ห์ จามริก, 2547) ด้านคุณภาพชีวิต พบวา่ มอี ัตราการเกดิ สงู กวา่ ภาคอน่ื ๆ มจี านวนปีการศึกษาต่ากว่าของทุกภาคและของประเทศ มีคนจน มากเป็นครง่ึ หนึ่งของคนจนท้งั หมดในภาคใต้ แสดงให้เห็นถึงปัญหาท่ีเก่ียวกับความม่ันคงของการดารงชีวิต ของประชาชน หรอื ความมั่นคงของมนุษย์คอ่ นข้างมาก (ประพันธ์ มสุ พิ นั ธ,์ 2549 : 92) นอกจากนี้ ยังมีปัญหาจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ท่ีส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ โครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม ท้ังดา้ นความม่ันคง ด้านโอกาสและคุณภาพการศกึ ษา ด้านการประกอบ อาชีพและการมีงานทาของผู้จบการศึกษาและประชาชน ด้านความปลอดภัยของครูและบุคลากรทางการ ศึกษา และการบรหิ ารจัดการศึกษาทม่ี ีประสิทธิภาพ ด้านการศึกษา คุณภาพการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นจุดอ่อนท่ีสาคัญที่ต้องเร่งแก้ไข จากการศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O –net) ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ของสถานศกึ ษาภาครัฐและเอกชนปี 2556 โดยเฉพาะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ 32.49 คณติ ศาสตร์รอ้ ยละ 20.37 และวิทยาศาสตรร์ อ้ ยละ 30.07 ยะลาได้คะแนนเฉล่ีย 32.95 อยู่ในลาดับท่ี 75 ของประเทศ คะแนน National Test ของเด็กในจังหวัดยะลา มีคะแนน ผลสัมฤทธิ์วชิ าภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา เฉลี่ยอยู่ในลาดับสุดท้ายท่ี 75 ของประเทศ ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของจังหวัดอ่ืน ๆ ในภาคใต้และในระดับประเทศ ปัญหาคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศึกษาปอเนาะ 8 ปีงบประมาณ 2564 สถานศึกษาเอกชนและสถานศึกษาขนาดเล็กของภาครัฐเข้าข้ันวิกฤติ (ศูนย์ประสานงานและบริหาร การศกึ ษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2551) การจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย มีการจัดการศึกษาในหลาย ประเภท ได้แก่ โรงเรียนของรัฐบาล โรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลามมาตรา 15(1) และมาตรา 15 (2) ศูนย์ฝึกอบรมจริยธรรมและศาสนาอิสลามประจามัสยิด(ตาดีกา) โรงเรียนปริยัติธรรม สานักศาสนศึกษา สานักเรียน ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สถาบันศึกษาปอเนาะ เป็นต้น ด้วยรูปแบบการจัด การศึกษาท่ีหลากหลายดังกล่าว หลายด้านยังคงมีความซ้าซ้อน กระบวนการจัดการศึกษาบางด้านขาด ประสทิ ธิภาพ มีการออกกลางคัน ขาดความยดื หยนุ่ ขาดความเชือ่ มโยง และไมส่ ามารถเทยี บโอนระหว่างกัน ได้ รูปแบบการจัดการศึกษาในโรงเรียนของรัฐไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของประชาชน ส่งผลใหเ้ ดก็ ไทยพุทธและมุสลิมบางสว่ นขาดการเรียนรู้ร่วมกัน(สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2548 : 8) ทาให้รฐั บาลต้องกาหนดยุทธศาสตร์และเป้าหมายในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ เศรษฐกจิ สังคม และความต้องการ และให้การศึกษามีบทบาทในการเสริมสร้างสันติสุขในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ โดยการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การพัฒนาสถานศึกษาของรัฐ การพัฒนาอาชีพและ การศึกษานอกโรงเรยี น การพฒั นาอุดมศกึ ษา การปรับปรุงโครงสร้างระบบบริหารการจัดการศึกษาให้เป็น เอกภาพ และการพฒั นาสถานศกึ ษาเอกชน สาหรับการพฒั นาสถานศึกษาเอกชนนั้น เพื่อส่งเสริมการสอน วิชาสามัญ วิชาอาชีพและการศึกษาตามอัธยาศัยแบบครบวงจรในโรงเรียนเอกชน มาตรา 15(2) ท่ีสอน ศาสนาเพียงอย่างเดียว และสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาเอกชน สานักงาน ส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและสถาบันอาชวี ศึกษาในพื้นท่ี สถาบันศึกษาปอเนาะหรือเดิมเรยี กกวา่ ปอเนาะ (Pondok) เป็นสถาบันดั้งเดิมที่มีความมั่นคงใน การที่จะรักษาความเป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมของสถาบันศึกษาปอเนาะไว้โดยไม่เปล่ียนแปลง แต่ในระยะเวลา ต่อมาได้ให้ความร่วมมือกับทางรัฐบาล โดยการจดทะเบียนสถาบันศึกษาปอเนาะตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยสถาบันศึกษาปอเนาะ พ.ศ. 2547 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547 อัดสาเนา) เพื่อให้ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องได้รับรู้ว่าสถาบันศึกษาปอเนาะได้กระทาความดีกับสังคมอย่างไรบ้าง และเพื่อลด ความหวาดระแวงท่ีสถาบันปอเนาะถูกจับตามองจากสังคมภายนอกและถูกดึงไปเกี่ยวข้ องกับการรุนแรงท่ี เกดิ ข้ึนในพื้นท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้อยู่เสมอ (บณั ฑิตย์ สะมะอนุ และคณะ, 2549 : 11) โดยให้มีบทบาท หน้าท่ีเป็นสถาบันของชุมชนมุสลิมท่ีเสริมสร้างการเรียนรู้ในทางศาสนาอิสลามและวัฒนธรรมอิสลาม เพื่อ เสริมสร้างให้สมาชิกในชุมชนมีความรู้และความประพฤติ ที่ดีงามในการดารงชีพอย่างสันติสุขและมีความ รับผดิ ชอบตอ่ สงั คมและประเทศชาติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2547 อดั สาเนา) สถาบันศึกษาปอเนาะจะสอน เฉพาะในเรอื่ งของศาสนาและวัฒนาธรรมของอิสลามอย่างเดียว ซึ่งที่ผ่านมามีสถาบันศึกษาปอเนาะจานวน มากแปรสภาพเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม มาตรา 15 (1) คือสอนทั้งศาสนาและสามัญควบคู่ กันไป ทาใหเ้ กดิ กระแสความห่วงใยของผ้นู าศาสนาทเ่ี กรงวา่ สถาบนั ปอเนาะจะเปลยี่ นสภาพไปจากเดิมในการ จดทะเบียนคร้ังน้ีเป็นที่น่ายินดีท่ีระเบียบดังกล่าวเปิดกว้างไว้ในข้อ 13ให้สถาบันศึกษาปอเนาะสามารถ พัฒนาให้ผเู้ รยี นได้ฝึกอบรมวชิ าชีพร่วมกับกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียนให้มีอาชีพและสามารถดารง ชีพได้อย่างมีความสขุ ซึง่ ในส่วนนหี้ มายถงึ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถจดั การเรียนการสอนวิชาชีพให้กับผู้เรียน ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะได้ แตก่ ารทีจ่ ะจัดการเรยี นการสอนอาชีพใดให้กับผู้เรียนจะต้องได้รับความเห็นชอบ จากโตะ๊ ครูและไมข่ ดั ตอ่ หลกั ศาสนาอสิ ลามเท่านั้น ปัจจุบันสถาบันศึกษาปอเนาะได้รับความศรัทธาและนิยม จากประชาชนในพน้ื ทช่ี นบทอย่างยงิ่ นิยมส่งบตุ รหลานเขา้ เรียนในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะหลังจากที่บุตรหลาน จบการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) แล้ว แต่ยังมีส่วนหน่ึงที่ยังไม่จบการศึกษาภาคบังคับเข้าไปเรียนในสถาบัน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศึกษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 9 ปงี บประมาณ 2564 ศึกษาปอเนาะเป็นหน้าท่ีของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจะต้อง ยกระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานให้แก่ผู้เรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะในขณะน้ีมีข้อมูลสถาบันศึกษาปอเนาะท่ี จดทะเบียนจานวน 436 แห่ง มีผู้เรียนจานวน 40,817 คน ครูผู้สอน 1,584 คน และมีแนวโน้มจะจด ทะเบียนเพ่ิมขึ้นอีกจานวนมาก ซึ่งผู้เรียนก็จะเพิ่มมากขึ้น (สานักงานศึกษาธิการภาค 12 , 2558) กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดาเนินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้สู่สถาบันปอเนาะ ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2547 – 25๖๒ ซ่ึงมีกิจกรรม ที่ดาเนินการดังน้ี 1) ยกระดับความรู้ผู้นาสถาบันศึกษาปอเนาะ 2) พัฒนาความเป็นผู้นาสถาบันศึกษา ปอเนาะ 3) ยกระดับความรู้นักศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะให้จบการศึกษาข้ันพื้นฐาน 4) ส่งเสริมทักษะ อาชีพ 5) แหล่งเรียนรู้ (มุมเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ) และ 6) ค่ายพัฒนาคุณภาพชีวิต สาหรับ กิจกรรมแหล่งเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ (มุมเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ) มีการจัดหาสื่อ หนังสือพิมพ์รายวัน วารสาร หนังสือแบบเรียน และหนังสืออื่น ๆ จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน จัดทา นิทรรศการ ป้ายนเิ ทศในโอกาสตา่ ง ๆ เพอื่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรูข้ องนกั ศึกษา บุคลากรในสถาบันศึกษา ปอเนาะ และประชาชนในพืน้ ท่ีใกลเ้ คยี ง เกดิ การแลกเปลย่ี นเรียนรสู้ ง่ เสริมการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง และร่วมรับ ผลประโยชน์ร่วมกัน ร่วมพัฒนาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ปรับปรุงแนวทางการพัฒนาทุกเร่ืองให้ดีข้ึน เพื่อ นาไปสกู่ ารศึกษาตลอดชีวติ ตอ่ ไป ขอ้ มูลสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะทีร่ ว่ มจัดกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย ท่ี ข้อมูลสถำบันศึกษำปอเนำะ ครูอำสำสมคั รประจำสถำบนั กำรเดินทำงของนกั ศึกษำ ศกึ ษำปอเนำะ ในปอเนำะ อยู่ประจำ ไป-กลบั 1 สถาบนั ศึกษาปอเนาะอลั ฟาแตฮฺ (ป่าพร้าว) นางสาวสลุ ยานี แวดือราโอะ 323 - 2 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมะหดั ดารลุ กรอุ าน นางสาวสลุ ยานี แวดือราโอะ - 26 3 สถาบันศึกษาปอเนาะอัน-ซอรุลซนุ นะห์ นายอิมรอง ยิมะตะโละ๊ 18 - 4 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอิหย์ าออ์ ุลมู มดิ ดีน นายซูกอรนยั เจะ๊ หนิ 40 - ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบงั จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศึกษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 10 ปงี บประมาณ 2564 รปู แบบกำรจดั กิจกรรม โครงการส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖3 กศน.อาเภอกาบัง ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมตามรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องในรูปแบบ และรูปแบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ดงั น้ี กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมชีแ้ จงวัตถุประสงคข์ องโครงการ กิจกรรมท่ี 2 ส่งเสริมทักษะอาชีพในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะเพอ่ื การสรา้ งอาชพี ที่ยง่ั ยนื กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการอา่ นภาษาไทยในสถาบันศึกษาปอเนาะ กิจกรรมที่ 4 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา กิจกรรมที่ 5 อบรมประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยสาหรบั นักศกึ ษาปอเนาะ กจิ กรรมที่ 6 ประชมุ ปฎิบตั ิการสรุปผลและรายงานผลการดาเนนิ งาน 1. กิจกรรมประชมุ ช้แี จงวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 2. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทักษะอาชีพในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะเพือ่ การสร้างอาชีพท่ยี ง่ั ยนื - ฝึกทกั ษะวิชาชีพระยะสั้นแบบชนั้ เรียน หลักสูตร 6๐ ชั่วโมง โดยฝกึ สอน ภาคทฤษฎีและฝึกปฏบิ ัติวชิ าชพี 3. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นภาษาไทยในสถาบันศึกษาปอเนาะ - จดั ซ้ือสือ่ /หนงั สือส่งเสริมการอ่านดา้ นศาสนา ศาสตรพ์ ระราชาและการประกอบ อาชีพตามความต้องการของโต๊ะครูและนักศึกษาสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 4. กจิ กรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนาในสถาบันศึกษาปอเนาะ - สารวจความตอ้ งการของโต๊ะครแู ละนักศึกษาสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ที่จะปรับปรุง และพัฒนาสถาบนั ศึกษาปอเนาะให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ดา้ นเกษตรพอเพยี งในสถาบันศึกษา ปอเนาะ - สารวจความตอ้ งการของโตะ๊ ครูและนักศกึ ษาสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ท่ีจะปรบั ปรงุ ภูมทิ ศั น์ภายในสถาบันศึกษาปอเนาะใหม้ ีความสะอาดและมคี วามปลอดภยั 5. กิจกรรมอบรมประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยสาหรับนักศึกษาปอเนาะ - จดั อบรมให้ความรู้ เห็นความสาคญั ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ท์ ี่เปน็ เสาหลกั ของประเทศของประเทศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบงั จังหวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ 11 ปงี บประมาณ 2564 บทที่ ๓ ผลกำรดำเนนิ กำร กจิ กรรมที่ ๑ : กิจกรรมประชมุ ชี้แจงวตั ถุประสงค์ของโครงกำร กลมุ่ เป้ำหมำยที่เข้ำร่วมโครงกำร : ผู้บริหาร กศน.อาเภอกาบัง จานวน 1 คน ผบู้ ริหารสถาบันศึกษา ปอเนาะ จานวน 4 คน ครผู ู้ช่วย จานวน 5 คน และครูอาสาฯปอเนาะ จานวน 2 คน วัตถปุ ระสงค์ : เพื่อชแ้ี จงแนวทางการดาเนินงานตามโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษา ปอเนาะ ผลกำรประเมนิ : ร้อยละ 80 ของกลุม่ เปา้ หมายมีความพึงพอใจระดบั ดีข้นึ ไป ปัญหำและอุปสรรค : ไมม่ ี ข้อเสนอแนะ : ควรจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเนอ่ื ง กิจกรรมที่ 2 : กจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะอำชพี ในสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะ เพอื่ กำรสรำ้ งอำชีพที่ยง่ั ยนื กลมุ่ เป้ำหมำยที่เข้ำรว่ มโครงกำร : นกั ศกึ ษาสถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 100 คน วัตถุประสงค์ : เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษาในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมที กั ษะอาชีพเพื่อการมงี านทา ผลกำรประเมิน : เยาวชน/นกั ศึกษาในสถาบันศกึ ษาปอเนาะมองเห็นช่องทางการประกอบอาชพี และสามารถ ดารงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปัญหำและอุปสรรค : ไม่มี ขอ้ เสนอแนะ : ควรจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเนอื่ ง กจิ กรรมที่ 3 : กิจกรรมสง่ เสรมิ กำรอ่ำนภำษำไทยในสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะ กลุ่มเป้ำหมำยทีเ่ ขำ้ ร่วมโครงกำร : สถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 4 แห่ง จานวนนักศึกษารวม 300 คน วัตถปุ ระสงค์ : เพอ่ื สง่ เสรมิ แหลง่ เรียนรู้ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ผลกำรประเมนิ : สถาบันศึกษาปอเนาะที่รว่ มจดั กศน. ได้รับการสง่ เสรมิ ใหเ้ ป็นแหลง่ แหลง่ เรียนรู้สาหรบั เยาวชนในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ ปัญหำและอุปสรรค : ไมม่ ี ข้อเสนอแนะ : ควรจดั กจิ กรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบงั จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 12 ปีงบประมาณ 2564 กจิ กรรมที่ 4 : ๑ ปอเนำะ ๑ โครงกำรพฒั นำ กลุ่มเปำ้ หมำยทเ่ี ขำ้ ร่วมโครงกำร : สถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน ๓ แหง่ วตั ถปุ ระสงค์ : 1. เพ่อื ปรบั ภูมิทัศน์ภายในสถาบันศกึ ษาปอเนาะใหม้ คี วามสะอาดและปลอดภยั 2. เพอื่ พัฒนาสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรูด้ ้านเกษตรพอเพยี ง ผลกำรประเมนิ : สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะมภี มู ทิ ศั น์ท่มี คี วามสะอาดและปลอดภัย เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตร พอเพียง ปญั หำและอปุ สรรค : ไม่มี ขอ้ เสนอแนะ : ควรจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง กจิ กรรมท่ี 5 : กจิ กรรมอบรมประวัตศิ ำสตร์ ชำติไทยสำหรบั นกั ศกึ ษำปอเนำะ กลุม่ เปำ้ หมำยที่เขำ้ ร่วมโครงกำร : สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ จานวน 4 แหง่ วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ ให้ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการมคี วามรู้ เห็นความสาคญั ของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ที่เป็น เสาหลักของประเทศ ผลกำรประเมนิ : ผเู้ ข้าร่วมโครงการมคี วามรู้ เห็นความสาคญั ของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์ทีเ่ ป็นเสา หลักของประเทศ ปัญหำและอปุ สรรค : ไม่มี ข้อเสนอแนะ : ควรจดั กจิ กรรมอย่างต่อเนอื่ ง กิจกรรมท่ี 6 : กจิ กรรมประชมุ ปฏบิ ตั กิ ำรสรปุ ผลและรำยงำนผลกำร ดำเนนิ งำนชำติไทยสำหรบั นกั ศกึ ษำปอเนำะ กลมุ่ เปำ้ หมำยทเ่ี ขำ้ รว่ มโครงกำร : สถาบันศึกษาปอเนาะ จานวน 4 แหง่ วตั ถุประสงค์ : เพ่อื รวบรวมและจัดทาเอกสารสรุปผลการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ผลกำรประเมิน : ปญั หำและอปุ สรรค : ข้อเสนอแนะ : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศึกษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 13 ปีงบประมาณ 2564 บทท่ี ๔ สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน 1. ข้อมลู ทวั่ ไปของผูเ้ ข้ำร่วมโครงกำร ตารางที่ ๑ แสดงจานวนและรอ้ ยละของผู้เข้าร่วมโครงการ ฯ จาแนกตามเพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา ข้อมูลท่ัวไป จำนวน คิดเปน็ ร้อยละ เพศ 75 75 ชาย 25 25 หญงิ - - อำยุ 64 64 ๑๐ – ๑๕ ปี 36 36 - - ๑๖ – ๒๐ ปี ๒๑ – ๒๕ ปี - - 47 47 ๒๖ – ๓๐ ปี 53 53 ระดบั กำรศึกษำ 100 100 ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวม จากตารางที่ ๑ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการฯ เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 75 และเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 25 เม่ือพิจารณาตามอายุ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ มีอายุระหว่าง ๑๖ – ๒๐ ปี คดิ เป็นร้อยละ 64 รองลงมามีอายุระหวา่ ง ๒๑ – ๒๕ ปีคิดเปน็ รอ้ ยละ 36 ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาตาม ระดบั การศกึ ษา พบว่าผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯส่วนใหญ่มกี ารศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 47 รองลงมามีการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย คดิ เปน็ ร้อยละ 53 ตามลาดับ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศึกษาปอเนาะ 14 ปงี บประมาณ 2564 2. ควำมพงึ พอใจทม่ี ตี ่อกำรเข้ำรว่ มโครงกำร ตารางที่ ๒ แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของการจดั โครงการฯ จากตารางท่ี ๒ พบวา่ ระดับความพงึ พอใจจากการประเมนิ บริบทของโครงการ มคี า่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ประเด็นเรื่องสถานที่และบรรยากาศในการจัดกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 82.24 ประเด็นเรื่องระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 75.36 ประเด็นเร่ือง วทิ ยากรมคี วามรอบรใู้ นด้านเน้ือหา คิดเป็นร้อยละ 68.52 ประเด็นเรื่องเนื้อหาครอบคลุมครบถ้วน คิดเป็น ร้อยละ 65.76 ประเด็นเร่ืองรูปแบบวิธีการจัดกิจกรรมคิด เป็นร้อยละ 52.25 ประเด็นเรื่องมีส่วนร่วมใน การจดั กิจกรรม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 57.11 ประเด็นเร่อื งการนาความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันคิด เปน็ ร้อยละ 52.58 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบัง จังหวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 15 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรม ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 16 ปีงบประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรม ภำพกจิ กรรมที่ ๑ : กจิ กรรมประชมุ ชี้แจงวตั ถปุ ระสงคข์ อง โครงกำรจดั กำรศกึ ษำตลอดชวี ติ ในสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะ ระหว่ำงวนั ท่ี 15 – 16 กมุ ภำพนั ธ์ 2564 ณ หอ้ งกงั สดำล โรงแรมยะลำแกรนดพ์ ำเลซ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ยะลำ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบงั จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 17 ปีงบประมาณ 2564 ภำพกิจกรรมท่ี 2 : กิจกรรมส่งเสริมทกั ษะอำชีพในสถำบันศกึ ษำปอเนำะเพอ่ื กำรสร้ำงอำชพี ทย่ี ัง่ ยนื ระหวำ่ งวนั ที่ 20 กมุ ภำพนั ธ์ - 14 มนี ำคม 2564 ณ สถำบันศกึ ษำปอเนำะอนั -ซอรุลซนุ นะห์ วชิ ำกำรทำอำหำร-ขนม(ขนมเคก้ ) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศึกษาปอเนาะ 18 ปีงบประมาณ 2564 ภำพกิจกรรมท่ี 2 : กิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะอำชีพในสถำบันศกึ ษำปอเนำะเพื่อกำรสรำ้ งอำชพี ทย่ี งั่ ยืน ระหว่ำงวันท่ี 20 กุมภำพนั ธ์ - 14 มีนำคม 2564 สถำบนั ศกึ ษำปอเนำะ มะหัดดำรุลกรุ อำน วชิ ำกำรทำอำหำร-ขนม (ขนมโดนัท) ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบงั จังหวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 19 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะอำชีพในสถำบันศึกษำปอเนำะเพ่อื กำรสรำ้ งอำชพี ทย่ี ่งั ยืน ระหว่ำงวันท่ี 20 กมุ ภำพันธ์ - 14 มีนำคม 2564 สถำบันศึกษำปอเนำะอัลฟำแตฮ์ (ป่ำพรำ้ ว) วิชำชำ่ งกอ่ สรำ้ ง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบัง จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 20 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะอำชีพในสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะเพ่อื กำรสรำ้ งอำชพี ทย่ี ่งั ยืน ระหว่ำงวันท่ี 20 กุมภำพนั ธ์ - 14 มีนำคม 2564 สถำบนั ศึกษำปอเนำะอหิ ์ยำออ์ ลุ มู ดิ ดนี วิชำช่ำงก่อสร้ำง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบัง จงั หวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 21 ปีงบประมาณ 2564 ภำพกิจกรรมที่ 3 : กิจกรรมส่งเสรมิ กำรอำ่ นภำษำไทยในสถำบนั ศึกษำปอเนำะ ระหวำ่ งเดอื นเมษำยน - ตุลำคม 2564 สถำบนั ศกึ ษำปอเนำะอนั -ซอรลุ ซุนนะห์ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ 22 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกิจกรรมที่ 3 : กจิ กรรมสง่ เสรมิ กำรอำ่ นภำษำไทยในสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะ ระหวำ่ งเดือนเมษำยน - ตุลำคม 2564 สถำบนั ศกึ ษำปอเนำะอลั ฟำแตฮ์ (ป่ำพร้ำว) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบัง จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 23 ปีงบประมาณ 2564 - กจิ กรรมส่งเสริมกำรอ่ำน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 24 ปีงบประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรมท่ี ๓ : 1 ปอเนำะ 1 โครงกำรพัฒนำ ปรบั ภมู ทิ ศั นแ์ ละพฒั นำสถำบนั ศกึ ษำปอเนำะใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรู้ดำ้ นเกษตรพอเพียง ณ สถำบนั ศกึ ษำปอเนำะอนั -ซอรุลซนุ นะห์ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 25 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรมท่ี ๓ : 1 ปอเนำะ 1 โครงกำรพฒั นำ ปรับปรุงภูมิทัศน์และพัฒนำสถำบนั ศึกษำปอเนำะให้เปน็ แหลง่ เรียนรูด้ ำ้ นกำรเกษตร ณ สถำบันศึกษำปอเนำะมะหัดดำรลุ กรุ อำน บำ้ นบนั นงั ดำมำ หม่ทู ่ี ๑ ตำบลกำบงั อำเภอกำบงั จงั หวดั ยะลำ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบัง จังหวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจดั การศึกษาตลอดชีวิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 26 ปีงบประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรมที่ ๓ : 1 ปอเนำะ 1 โครงกำรพฒั นำ ปรับภูมทิ ัศนแ์ ละพัฒนำสถำบนั ศึกษำปอเนำะใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้ดำ้ นเกษตรพอเพียง ณ สถำบนั ศกึ ษำปอเนำะอลั ฟำแตฮ์ (ปำ่ พร้ำว) ปลำดกุ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ 27 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรมท่ี ๓ : 1 ปอเนำะ 1 โครงกำรพัฒนำ ปรับภูมทิ ศั น์และพฒั นำสถำบันศกึ ษำปอเนำะใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรู้ดำ้ นเกษตรพอเพยี ง ณ สถำบันศกึ ษำปอเนำะอิห์ยำออ์ ลุ ูมดิ ดีน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง จังหวัดยะลา

รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถาบนั ศึกษาปอเนาะ 28 ปงี บประมาณ 2564 ภำพกจิ กรรมท่ี 5 : กจิ กรรมอบรมประวัติศำสตร์ชำติไทยสำหรับนกั ศึกษำปอเนำะ อบรมใหค้ วำมรเู้ ห็นควำมสำคัญของชำติ ศำสนำและพระมหำกษตั ริยท์ ี่เปน็ เสำหลกั ของประเทศ ณ สถำบันศึกษำปอเนำะอนั -ซอรุลซนุ นะห์ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกาบงั จงั หวดั ยะลา

รายงานผลการดาเนินงานโครงการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ 29 ปงี บประมาณ 2564 คณะทีป่ รึกษา : คณะผ้จู ดั ทำ นางขนษิ ฐา มะลิสุวรรณ ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวดั ยะลา นายคณิน ทองเอียด รองผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัดยะลา นายอบั ดุลอาซิ ดอื ราแม ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา นายสมศกั ด์ิ นิจนารถ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอกาบงั คณะทางาน/ให้ขอ้ มลู : นายซกู อรนยั เจ๊ะหนิ ครูผชู้ ่วย นางสาวกัลยานี มานะวงศ์ไพบลู ย์ ครูผู้ชว่ ย นางสาวตว่ นฮัสนีดา จอลง ครูผชู้ ่วย นางสาววรรณวนชั กลุ ดารงววิ ฒั น์ ครผู ู้ชว่ ย นางสาวศภุ าวรรณ ศิริพงศ์ ครูผู้ชว่ ย นางสาวสรู ยี านี เจะหนิ ครูผู้ชว่ ย นางสาวสุลยานี แวดือราโอะ ครูอาสาฯปอเนาะ นายอิมรอง ยมิ ะตะโละ๊ ครูอาสาฯปอเนาะ เรียบเรยี ง/ออกแบบจดั ทารปู เลม่ /ตรวจสอบ : นางสาวสลุ ยานี แวดอื ราโอะ พนกั งานราชการ (ครอู าสาฯปอเนาะ) นายอิมรอง ยมิ ะตะโล๊ะ พนักงานราชการ (ครอู าสาฯปอเนาะ) นางสาวนูรซี นั ลากอ บรรณารกั ษอ์ ัตราจ้างห้องสมดุ ประชาชนอาเภอกาบัง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอกาบัง จงั หวดั ยะลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook