Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิคการสอน

เทคนิคการสอน

Published by ภัทรพงษ์ ยาแก้ว, 2021-10-20 15:15:57

Description: นายภัทรพงษ์ ยาแก้ว รหัสนักศึกษา 63031820102 สาขานาฏศิลป์

Search

Read the Text Version

เทคนิค การสอน

เทคนิคการจัดจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะ หมายถึง ผู้เรียนสร้างคาวมรู้ในขณะที่ได้ไรับประสบการณ์ใสนสถานการณืต่างๆ โดยจัด ให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์แบบต่างๆกับสิ่งเร้า โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ในการสังเกตการเก็ยข้อมูลที่เรียนอย่างมีส่วนร่วมแบบตื่นตัวกับ สถานการณ์ในชีวิต 1. 2. 3. การสร้าร้งความสนใจ การสํารวจและค้นหา การอธิบายและลงข้อข้สรุป โดยผู้สผู้ อนควรสร้างความสนใจ สร้าง ส่งเสริมให้ผู้เรียนทํางานร่วมกันการ โดยผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนอธิบายแนวคิด ความอยากรู้อรู้ ยากเห็น มีการตั้งคําถาม สํารวจ ตรวจสอบ สังเกตและฟังการ หรือให้คําจํากัดความด้วยคําพูดของผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนคิด ดึงเอาคําตอบที่ยังไม่ โต้ตอบกันระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนทําการ เอง ให้ผู้เรียนแสดงหลักฐาน ให้เหตุผลละ ครอบคลุมสิ่งที่ผู้เรียนรู้หรือแนวคิดหรือ ซักถามเพื่อนําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ เนื้อหา ของผู้เรียน 2.อธิบายให้กระจ่าง 4. 5. การขยายความรู้ การประเมินผล โดยผู้สอนคาดหวังให้ผู้เผู้รียนได้ใช้ประโยชน์จากการชี้บอก โดยผู้สอนสังเกตผู้เรียนในการนําแนวคิดและทักษะใหม่ไป ส่วนประกอบต่างๆ ในแผนภาพ คําจํากัดความและอธิบาย ประยุกต์ใช้ประเมิน ความรู้และทักษะผู้เรียนหาหลักฐานที่ สิ่งที่เรียนรู้มาแล้วส่งเสริมให้ผู้เรียนนําสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ แสดงว่าผู้เรียนเปลี่ยนความคิดหรือพฤติกรรม ให้ผู้เรียน ไปประยุกต์ใช้หรือ ขยายความรู้และทักษะในสถานการณ์ ประเมินการเรียนรู้และทักษะกระบวนการกลุ่ม สรุปว่า นับเป็นการเรียนการสอนที่ให้ความสําคัญกับผู้เรียนเป็นสําคัญหากผู้เรียนได้รู้บรู้ทบบาทของตัวเอง การ เรียนการสอนก็จะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยมีครูทําหน้าที่สนับสนุนจัดการเรียนรู้ที่ฝึกให้ผู้เรียนรู้จัก ค้นคว้าหาความรู้โดยใช้กระบวนการทางความคิดหาเหตุผล เพื่อทําให้ค้นพบความรู้หรือแนวทางแก้ปั ญหาที่ ถูกต้องด้วยตนเอง จึงนับได้ว่าการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนนั้น เป็นการเรียนการสอนที่เน้น องค์ความรู้ทักษะความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียนซึ่งทํา ให้ผู้เรียนสามารถนํา ไปใช้ ประโยชน์ในการดําเนินชีวิตท่ามกลางการกระแสเปลี่ยนแปลงในยุคปั จุบันได้

การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไปหรือโดยการแบ่งผู้เรียนออก เป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนทำกิจกรรมร่วมกัน โดยในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความ สามารถแตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพากัน มีความรับผิดชอบ ร่วมกัน การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือมีรูปแบบอย่างหลากหลาย ดังนี้ 1.คิดและคุยกัน, เพื่อนเรียน, ผลัดกันพูด ทั้ง 3 รูปแบบเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่คล้ายคลึง กันให้นักเรียนจับคู่กันในการตอบคำถามอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2.กิจกรรมโต๊ะกลม เป็นรูปแบบการสอนที่จัดกลุ่มนักเรียนที่มีจำนวนมากกว่า 2 คนขึ้นไป เปิดโอกาสให้ นักเรียนทุกคน เขียนความคิดเห็นของตน บอกเล่าประสบการณ์ความรู้ 3.คู่ตรวจสอบ, มุมสนทนา, ร่วมกันคิด เป็นรูปแบบการสอนที่คล้ายคลึงกัน คือ เป็นการจัดการเรียนการ สอนที่แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆให้ช่วยกันตอบคำถาม แก้โจทย์ปัญหา หรือทำแบบฝึกหัด 4.การสัมภาษณ์แบบสามขั้นตอน รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบนี้มี 3 ขั้นตอน โดยครูกำหนด คำถามหรือประเด็นโจทย์ปัญหาให้นักเรียนตอบ 5.การแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม , การแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ์ เป็นรูปแบบการสอนที่จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนคล้ายคลึงกัน 6. ปริศนาความรู้ เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ทุกกลุ่มจะได้รับมอบหมายให้ทำกิจกรรมเดียวกันโดยครูผู้ สอนแบ่งเนื้อหาของเรื่องที่จะเรียนออกเป็นหัวข้อย่อยเท่าจำนวนสมาชิกแต่ละกลุ่มและมอบหมายให้ นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มค้นคว้าคนละหัวข้อย่อย 7.การสืบสอบเป็นกลุ่ม เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นบรรยากาศการทำงานร่วมกันเพื่อส่งเสริมความ คิดสร้างสรรค์ และการเรียนรู้ที่จะดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างเหมาะสม 8. การเรียนรู้เป็นกลุ่มเพื่อช่วยเหลือเพื่อนเป็นรายบุคคลเป็นการเรียนการสอนที่ผสมผสานระหว่างการ จัดการเรียนแบบร่วมมือและการเรียนการสอนแบบรายบุคคลเข้าด้วยกันเน้นการสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล 9.การเรียนรู้แบบร่วมมือผสมผสานการอ่านและการเขียน เป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ มีองค์ประกอบน่าสนใจ ได้แก่ การสร้างกลุ่มอ่าน การจัดกลุ่มย่อยกิจกรรมการอ่านพื้นฐาน รูปแบบจัดการเรียนรู้แบบ นอกจากนี้ ยังพบว่าไม่มีรูปแบบการ ร่วมมือสามารถจัดได้อย่าง เรียนการสอนแบบร่วมมือรูปแบบใด หลากหลาย แต่ทุกแบบมี รูปแบบหนึ่งสามารถใช้ได้กับบทเรียน ลักษณะร่วมกัน คือแบ่ง ได้ทุกลักษณะ ในการเรียนการสอน นักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ เนื้อหาในบทหนึ่งๆครูผู้สอนอาจจะต้อง ประมาณ 2-6 คน โดย ใช้รูปแบบมากกว่าหนึ่งรูปแบบมาผสม สมาชิกทุกคนช่วยเหลือกัน มี ผสาน การฝึกฝนการทำงานกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม และการ ประเมินผลเป็นรายบุคคล

วิธีสอนแบบ ระดมพลังสมอง หมายถึง ขั้นตอนในการระดมสมอง วิธีสอนที่ใช้ในการ 1. กำหนดปัญหา อภิปรายโดยทันที ไม่มี 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียน และอาจ ใครกระตุ้น กลุ่มผู้เรียน เลือกประธานหรือเลขา เพื่อ เพื่อหาคำตอบหรือทาง ช่วยในการอภิปรายและ เลือกสำหรับปัญหาที่ บันทึกผล กำหนดอย่างรวดเร็ว 3. สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วย กันคิดหาคำตอบหรือทาง ลักษณะสำคัญ เลือกสำหรับปัญหาที่กำหนด คือการที่ให้ผู้เรียนแบ่งเป็นก 4. คัดเลือกเฉพาะทางเลือกที่ ลุ่มเล็กๆ ช่วยกันคิดหาคำ น่าจะเป็นไปได้ หรือเหมาะสม ตอบหรือทางเลือกสำหรับ ที่สุด ปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุด 5. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน และเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ของตน ( ข้อ 4 และ 5 อาจ แล้วช่วยกันพิจารณาเลือก สลับกันได้ ) ทางเลือก ที่ดีที่สุด ซึ่งอาจมี 6. อภิปรายและสรุปผล มากกว่าหนึ่งทาง ข้อจำกัด ข้อดี 1. ประเมินผลผู้เรียนแต่ละคนได้ 1. ฝึกกระบวนการแก้ปัญหาและมี ยาก คุณค่ามากที่จะใช้เพื่อแก้ปัญหา 2. อาจมีนักเรียนส่วนน้อยเพียงไม่ หนึ่ง กี่คนครอบครองการอภิปรายส่วน 2. ก่อให้เกิดแรงจูงใจในตัวผู้เรียน ใหญ่ สูง และฝึกการยอมรับความเห็นที่ 3. เสียงมักจะดังรบกวนห้องเรียน แตกต่างกัน ข้างเคียง 3. ได้คำตอบหรือทางเลือกได้มาก 4. ถ้าผู้จดบันทึกทำงานได้ช้า การ ภายในเวลาอันสั้น คิดอย่างอิสระก็จะช้าและจำกัดตาม 4. ส่งเสริมการร่วมมือกัน ไปด้วย 5. ประหยัดค่าใช้จ่ายและการจัดหา 5. หัวเรื่องต้องชัดเจนรัดกุม และมี สื่อเพิ่มเติมอื่น ๆ ประธานที่มีความสามารถในการ ดำเนินการ และสรุปการอภิปราย ทั้งในกลุ่มย่อย และรวมทั้งชั้น

วิ ธี ก า ร ส อ น แ บ บ โ ค ร ง ก า ร หมายถึง การสอนที่ให้นักเรียนเป็นหมู่ หรือรายบุคคลได้วางโครงการและ ดำเนินงานให้สำเร็วตามโครงการนั้น นับว่าเป็นการสอนที่สอดคล้อง กับสภาพชีวิตจริง ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย 1 . เ พื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ ฝึ ก ที่ จ ะ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร ทำ ง า น ต่ า ง ๆ 2 . เ พื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ฝึ ก แ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ย ก า ร ใ ช้ ค ว า ม คิ ด 3 . เ พื่ อ ฝึ ก ดำ เ นิ น ง า น ต า ม ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย ที่ ตั้ ง ไ ว้ ขั้ น ต อ น ก า ร ส อ น 1 . เ ป็ น ขั้ น กำ ห น ด ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ โ ค ร ง ก า ร โ ด ย ตั ว นั ก เ รี ย น ค รู จ ะ เ ป็ น ผู้ ชี้ แ น ะ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ตั้ ง ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร เ รี ย น ว่ า เ ร า จ ะ เ รี ย น เ พื่ อ อ ะ ไ ร 2 . ขั้ น ว า ง แ ผ น ห รื อ ว า ง โ ค ร ง ก า ร เ ป็ น ขั้ น ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ นั ก เ รี ย น เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก คื อ นั ก เ รี ย น จ ะ ช่ ว ย กั น ว า ง แ ผ น ว่ า ทำ อ ย่ า ง ไ ร จึ ง จ ะ บ ร ร ลุ ถึ ง จุ ด มุ่ ง ห ม า ย 3 . ขั้ น ดำ เ นิ น ก า ร เ ป็ น ขั้ น ล ง มื อ ก ร ะ ทำ กิ จ ก ร ร ม ห รื อ ล ง มื อ แ ก้ ปั ญ ห า นั ก เ รี ย น เ ริ่ ม ง า น ต า ม แ ผ น โ ด ย ทำ กิ จ ก ร ร ม ต า ม ที่ ต ก ล ง ใ จ แ ล้ ว ค รู ค อ ย ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ ก ร ะ ทำ ต า ม ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย ที่ กำ ห น ด ไ ว้ ใ ห้ 4 . ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ห รื อ อ า จ เ รี ย ก ว่ า ขั้ น ส อ บ ส ว น พิ จ า ร ณ า นั ก เ รี ย น ทำ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ว่ า กิ จ ก ร ร ม ห รื อ โ ค ร ง ก า ร ที่ ทำ นั้ น บ ร ร ลุ ต า ม ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย ที่ ตั้ ง ไ ว้ ห รื อ ไ ม่ มี ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง อ ย่ า ง ไ ร แ ล ะ ค ว ร แ ก้ ไ ข ใ ห้ ดี ขึ้ น อ ย่ า ง ไ ร ข้ อ ดี ข้ อ เ สี ย 1 . นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม ส น ใ จ เ พ ร า ะ ไ ด้ ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ๆ 1 . เ สี ย เ ว ล า ม า ก แ ล ะ สิ้ น เ ป ลื อ ง ค่ า ใ ช้ จ่ า ย สู ง 2 . ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แ ล ะ ก า ร ทำ ง า น 2 . ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น ชี วิ ต จ ริ ต ห ล า ย อ ย่ า ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ อ ย่ า ง มี แ ผ น แ ล ะ ใ ห้ รู้ จั ก ป ร ะ เ มิ น ผ ล ง า น ข อ ง ต น เ อ ง จ ะ ว า ง แ ผ น แ ล ะ ทำ กิ จ ก ร ร ม ไ ด้ 3 . ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ใ ห้ มี 3 . ถ้ า ค รู ไ ม่ มี ค ว า ม รู้ เ พี ย ง พ อ ก า ร ส อ น จ ะ ป ร ะ ส บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั บ ผู้ อื่ น ค ว า ม ล้ ม เ ห ล ว 4 . ฝึ ก ใ ห้ นั ก เ รี ย น รู้ จั ก แ ก้ ปั ญ ห า เ พื่ อ เ ต รี ย ม ที่ จ ะ 4 . อ า จ ทำ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ รั บ ค ว า ม รู้ ที่ เ ป็ น ห ลั ก วิ ช า ไ ม่ เ ผ ชิ ญ ส ภ า พ สั ง ค ม จ ริ ง ๆ เ พี ย ง พ อ

เทคนิคการสอน แบบสาธิต หมายถึง สว่กานวโวกัิงอานธหกาีแรกสใเรรสผืรหัอากีอยงนสญกรนเน่กใะกาทหทจีราตโ้่คำแรนดะัเเกใรสยกูรกหมีิาดย้ีเดมรดรหนงีีูกฟยกเนักปแ้านงา็าราลนรเทเกรขีแะร่ต้สีใาัอายสนวอรมานดอกนจากงรยูมา้เ่เรจหีปาปรสะิ็าง่รดทนืวกอำน คสบใ2สวชาา้.านธเงิ1มเวตใเพ.ลืนเจ่ืจเข้อา้พอใะืามนช่หท่ใอาวบจำากกยงทอใ่รใหาใาะเน้ยหรตจนีุ้กัย้เจนกขาน้ะเครารอยอีิใคว่ยธงจาธินิขบวมงึบ้่นไาาสาาดยย้นยมเขใึหเใ้หน็นจม้ืนุ้นอใ่ัแหงกขหั้ล้นนเาหะัรีทกตยีป่มเยอนรรีานยเาะกขหแน้ยาลยซมใึัี่ะจดงคเตไเกว้วดิอา้ดลยมงาาก ร่วมบ้าง กซ4ึแข่จาัคง35้.ลนระ้ไ6ว..เวทฟมตพา.เเื่ัจำพ่พมึสงอเือืงก่พ่คเาอนือิแสข่จำมอ้สพตสรากอุั่าใปรใาดฒุชรรธปจง้ผิงถรทบในปมวลๆอนิบาธารใขธียกตะทกนิกอบเคาาลววามงิราิรวนรชอกนสยฟบหาผดัาอผไคงครรูจลืดน่ลอก้หสไนคดคปกา้ากโวผวรวลธดดราิสย้ลาวตัรวมยิมงทธมยคีใเีเ่เขใชไศกำข้้แินด้าวพลตา้ิลใูกธจใปแีจดะจาาลตสใรกใฯ้เนะปานอชล่กบธกนงฏบฯิาิตาทสบทรัรังเสตสนเรเิัีรรยีกางกุยปธานตเินนรทตียำน ขั้นตอนในการสอน 1. กำหนดจดุ มุ่งหมายของการสาธิตให้ชัดเจน และต้องสาธิตให้เหมาะสมกับ เนื้อเรื่อง 2. เตรียมอุปกรณ์ในการสาธิตให้พร้อม และตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของอุปกรณ์ 3. เตรียมกระบวนการสาธิต เช่น กำหนดเวลาและขั้นตอน จะเริ่ม ต้นดำเนินการ และจบลงอย่างไร ผู้สาธิตต้องเข้าใจในขั้นตอนต่าง ๆ เหล่านี้อย่างละเอียดแจ่มแจ้ง 4. ทดลองสาธิตก่อนสอน ควรทดลองสาธิตเพื่อตรวจสอบความพร้อมตลอดจนผลที่จะเกิดขึ้น เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดในเวลาสอน 5. ต้องจัดทำคู่มือคำแนะนำหรือข้อสังเกตในการสาธิต เพื่อที่นักเรียนจะใช้ ประกอบในขณะ ที่มีการสาธิต 6. เมื่อสาธิตเสร็จสิ้นแล้ว นักเรียนควรได้ทำการสาธิตซ้ำอีก เพื่อเน้นให้เกิดความเข้าใจดีขึ้น 7. จัดเตรียมกิจกรรมหลังจากการสาธิตเพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าหรือประโยชน์ ของการสาธิตนั้น ๆ 8. ประเมินผลการสาธิต โดยพิจารณาจากพฤติกรรมของนักเรียนและผลของการ เรียนรู้ การประเมิน ผลควรมีกิจกรรมหรือเครื่องมือ เช่นการทดสอบ การให้แสดงความคิดเห็นหรือการอภิปรายประกอบ

วิธีสอนแบบปฏิบัติการ หรือการทดลอง หมายถึง เป็นวิธีสอนที่ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ หรือทำการทดลองค้นหาความรู้ด้วยตนเอง ทำให้เกิด ประสบการณ์ตรง วิธีสอนแบบปฏิบัติหรือการทดลองแตกต่าง จากวิธีสอนแบบสาธิต ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบปฏิบัติการหรือการทดลอง 1.เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติหรือทดลองค้นหาความรู้ด้วยตนเอง 2.เพื่อส่งเสริมการใช้ประสบการณ์ตรงในการแก้ปัญหา 3.เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าแทนการจดจำจากตำรา ข1ั้.นขั้ตนอกนล่ขาวอนงำวิธีสอนแบบปฏิบั2ต.ิขกั้นารเตหรรีืยอมกดารำทเนดินลกอางร 3.ขั้นดำเนินการทดลอง 4.ขั้นเสนอผลการทดลอง 5.ขั้นอภิปรายและสรุปผล ข้อดีของวิธีสอนแบบปฏิบัติการหรือทดลอง 1.ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงของการปฏิบัติการหรือ ทดลอง 2.เป็นการเรียนรู้จากการกระทำ หรือเป็นการเรียนรู้จากสภาพจริง 3.เสริมสร้างความคิดในการหาเหตุผล ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบปฏิบัติการหรือทดลอง 1.ผู้เรียนทุกคนต้องมีโอกาสใช้เครื่องมือและ อุปกรณ์เท่าๆ กันจึง จะได้ผลดี 2.ต้องมีการควบคุมความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์และห้อง ปฏิบัติการ 3.ต้องมีเวลาในการเตรียมจัดตั้งเครื่องมือหรืออุปกรณ์การ ทดลองอย่างเพียงพอ

วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำ กิจก รรม ความหมาย เป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มร่วม มือกันศึกษาช่วยกันค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตาม ความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจ เป็นการฝึกให้นักเรียนทำงาน ร่วมกันตามวิถีแห่งประชาธิปไตย ความมุ่งหมาย ขั้นตอนการสอน 1.เพื่ อให้นักเรียนมีความรับผิด ขั้นตอนที่ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนดความ ชอบในการทำงานร่วม ช่วย มุ่งหมายของการทำงานในแต่ละกลุ่มอย่างละเอียด เหลือซึ่งกันและกัน ทำงาน ขั้นตอนที่ 2. ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่จะใช้ อย่างมีระบบและเป็นระเบียน ค้นคว้าหาความรู้ วินัย ขั้นตอนที่3. นักเรียนร่วมกันวางแผนและปฏิบัติ 2.เพื่ อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ งานตามที่ได้รับมอบหมาย ในการแก้ปัญหาตามวิธีทาง ขั้นตอนที่4. ครูและนักเรียนประเมินผลการทำงาน วิทยาศาสตร์ มีการศึกษา ในกรณีที่เป็นครูให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ค้นคว้าและการค้นหาและ ในการปฏิบัติงาน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 3.เพื่ อฝึกให้นักเรียนเลือกที่ ข้อดี จะทำตามที่สนใจ ความถนัด ความสามารถ 1.สามารถแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของ ตนเองได้อย่างเต็มที่ 2.เปิดโอกาสให้เด็กได้เลือกทำงานตามความ ถนัด ความสามารถ และความสนใจ 3.ผู้เรียนด้วยความกระตือรือร้น เพราะได้ ลงมือปฏิบัติตลอดเวลา

วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง ความหมาย เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนฝึกฝนการเผชิญและปก้ปัญหาโดยไม่ต้อง รอให้เกิดปัญหาจริง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์และ เรียนรู็ ความคิดของผู้อื่น ช่วยให้ผู้เรียนมีมุมที่กว้างขึ้น 1. ผู้สอน / ผู้เรียนนำเสนอกรณีตัวอย่าง ขั้นตอนการนำเสนอ 2. ผู้เรียนศึกษากรณีตัวอย่าง 3. ผู้เรียนอภิปรายประเด็นคำถามเพื่อหาค าตอบ 4. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายคำตอบ 5. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายเกี่ยวกับปัญหา วิธีแก้ปัญหาของผู้เรียน และสรุป การเรียนรู้ที่ได้รับเทคนิคและข้อเสนอแนะต่างๆ ในการใช้วิธีสอนโดยใช้กรณี ตัวอย่างให้มีประสิทธิภาพ การนำเสนอกรณีตัวอย่าง เผพเแูรสิ้ีสสมยนดอพนอ์งนเเโเปปอดป็็็นนายนจขกใ้ชเลอร้ปส็ณะมืนู่ีอคลตผูัรม้เวนหลาอ่ำนรใยืเหอ่ส้าสผบนูง้ไเกทอลร็ีไบยกดด์้นราวทณวอีิด่ีธสิาตีทกันมัวศากมอรนาตย์นิ่รกาภำ็เงไลเา่ดสา้พหนกรยือรอนณทอตีำารตไ์จัดวห้ใหชอร้ืลเยอ่รืาา่ออยงางใวจจิหธ้ใีรฟิหังเ้งชจผู่้นาเหรกีรยกืผอูน้านรำ

เทคนิคการสอนด้วยเกม วิธีการสอนโดยใช้เกม คือ กระบวนการที่ช่วยให้ผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการให้ ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนํา เนื้อหาและ ข้อมูลของเกม พฤติกรรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการ อภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1.ผู้สอนนํา เสนอเกม ชี้แจงวิธีการเล่น และกติกา การเล่นเกม เกมที่ได้รับการออกแบบให้เป็นเกม การศึกษาโดยตรงมีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท 2. ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา ผู้สอนควรติดตาม สังเกตพฤติกรรมการเล่นของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด และควรบันทึกข้อมูล 3. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายผลควรอภิปรายผล เกี่ยวกับผลการเล่น และวิธีการหรือพฤติกรรมการ เล่นของผู้เรียนที่ได้จากการสังเกตจดบันทึกไว้ ทักษะที่นักเรียนจะได้รับ 1.การทํางานเป็นทีม 2.การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ 3.การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 4.การเป็นผู้นํา และผู้ตาม จากการส่งตัวแทน 5.การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์จากการหาคําตอบ

การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา ( Constructivism) ที่เน้นกระบวนการ เรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้ เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนํา กระตุ้น หรืออํานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น ลักษณะของการเรียนแบบ Active Learning 1. เป็นการพัฒนาศักยภาพการคิดการแก้ปัญหาและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดระบบการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้โดยมีปฏิสัมพันธ์ ร่วมกันในรูปแบบของความร่วมมือมากกว่าการแข่งขัน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 4. เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศสู่ทักษะการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้ความมีวินัยในการทำงานร่วมกับผู้อื่น 6. ความรู้เกิดจากประสบการณ์และการสรุปของผู้เรียน 7. ผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วย ตนเอง ตัวอย่างวิธีการสอนที่เน้นการเรียนแบบ Active Learning 1. แบบระดมสมอง (Brainstorming) 2. แบบเน้นปัญหา/โครงงาน/กรณีศึกษา (Problem/Project-based Learning/Case Study) 3. แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) 4. แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think – Pair – Share) 5. แบบสะท้อนความคิด (Student’s Reflection) 6. แบบตั้งค าถาม (Questioning-based Learning) 7. แบบใช้เกม (Games-based Learning)

จัดทำโดย นายภัทรพงษ์ ยาแก้ว รหัสนักศึกษา 63031820102 สาขา นาฏศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook