Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

Published by กชกร แก้วสุริยา, 2021-10-02 17:17:41

Description: พื้นฐานธุรกิจดิจิทัล

Search

Read the Text Version

ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั โมบาย คณุ ลักษณะของแพลต็ ฟอรม์ ระบบธุรกจิ ดจิ ทิ ัลโมบาย 1. สามารถสนับสนนุ ให้ผใู้ ช้งาน ทาธุรกรรมตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ย 2. สามารถปรับเปลีย่ นฟงั ก์ชันระบบการให้บรกิ ารไดต้ ามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน 3. สามารถรองรับโมบายแอปพลคิ นั 4. สามารถรองรบั เทคโนโลยีหรอื เทคนคิ ใหม่ ๆ ทเ่ี กิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา 5. สามารถคงรกั ษาข้อมูลธรุ กรรมสาคัญตา่ ง ๆ ไว้ได้

ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั โมบาย ชอ่ งทางการทาธรุ กรรมดจิ ทิ ลั โดยใชโ้ มบายบราวเซอร์ โมบายบราวเซอร์ (Mobile Browser) เป็นเว็บบราวเซอรท์ ี่ได้รับการออกแบบสาหรับใช้กับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนกส์เคลื่อนที่ไร้สาย ได้รับการพัฒนาให้เป็น Web 3.0 สามารถปรับ รูปแบบการแสดงเนื้อหาบนเว็บให้เหมาะสมกับหน้าจอของแต่ละอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคลอื่ นท่ไี รส้ ายได้ โมบายบราวเซอร์ ได้แก่

ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั โมบาย ■ Dolphin Browser HD ■ Opera Mobile ■ Firefox ■ Ninesky ■ Maxthon Mobile Web Browser ■ Skyfi ■ Angel ■ Boat ■ UC ■ NetFront Life

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ความหมายของความมั่นคงปลอดภยั ทางไซเบอร์ ในโลกยุคปัจจุบัน ปัจจุบันผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงและใช้บริการด้านข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่จากัดเวลาและสถานท่ี ในขณะเดียวกัน ข้อมูลขนาด ใหญ่ของผู้ใช้งานท่ีอยู่ในระบบมีความเส่ียงต่อการถูกโจมตี ขโมย หรือถูกทาลายได้ เช่น การ ขโมยข้อมูลธุรกรรมทางการเงิน การสร้างไวรัสโจมตีระบบปฏิบัติการ เป็นต้น หากไม่มีระบบ การรักษาความม่ันคงปลอดภัยที่ดีเพียงพอ ซ่ึงภัยคุกคามทางไซเบอร์เหล่าน้ีสามารถสร้าง ความเสียหายแก่ตัวผู้ใช้งานได้ แนวคิดเร่ืองการรักษาความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) จึงตอ้ งถกู พัฒนาไปพร้อมกบั ความก้าวหน้าของระบบเทคโนโลยี

ความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ระบบ Cyber Security ระบบ Cyber Security จาเปน็ ตอ่ ทกุ อุตสาหกรรม แต่เนื่องด้วยความจาเปน็ เร่งดว่ นและ ผลกระทบทร่ี ุนแรง ได้ถูกนามาใชอ้ ยา่ งมากในอุตสาหกรรมการเงนิ และการธนาคาร เน่ืองจาก ในโลกยุคปจั จุบัน ในหลาย ๆ ประเทศมกี ารเปดิ เสรีทางการเงนิ การธนาคารเพอ่ื ดงึ ดูดนกั ลงทุนตา่ งชาติใหเ้ ขา้ มาลงทุนในอุตสาหกรรมทางการเงิน รวมถงึ การซ้ือขายแลกเปล่ียน และ การทาธรุ กรรมทางการเงนิ สามารถทาได้ผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ทใ่ี ชง้ านบนสมารท์ โฟน สถาบันการเงินจึงเห็นความจาเปน็ ในการพฒั นาระบบการทาธุรกรรมทางการเงนิ ควบคไู่ ปกับ ระบบรักษาความม่นั คงปลอดภยั เพื่อใหผ้ ใู้ ชง้ านเกดิ ความมนั่ ใจ อนั จะส่งผลให้ e- commerce และ e-banking เติบโตในภาพรวม

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ความมั่นคงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดิจทิ ัล (Digital Security) Digital Security ระบบความปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดิจิทลั เปน็ ทักษะหนึง่ ท่ีตอ้ ง ตระหนกั รวู้ ิธปี อ้ งกนั และหลีกเลย่ี ง เพราะในโลกธรุ กิจดจิ ทิ ัลแฝงไปดว้ ยภัยอนั ตรายตา่ ง ๆ มากมาย ทีอ่ าจจะทาใหอ้ งคก์ รหรือธุรกจิ ได้รับความเสยี หายได้ ไมว่ า่ จะเป็นการถกู แฮกบญั ชี การถกู โจรกรรมข้อมลู สาคญั ๆ การถูกขโมยรหัสผ่าน การถกู ละเมดิ ทรพั ย์สินทางปัญญา การ ถูกโจรกรรมทรัพยส์ ิน หรือการติดไวรสั และการโจมตีเฟริ ์มแวร์ ซ่ึงลว้ นแตเ่ ปน็ ภัยร้ายต่อ องค์กรหรือธุรกิจแทบท้ังส้ิน

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ปจั จัยที่สาคญั ของ Digital Security 1. บุคลากร (Personal) องค์กรจะต้องมีบคุ ลากรท่ีมปี ระสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญ มี ความสามารถในด้านความปลอดภัยสูงโดยต้องอยู่ภายใต้การรับรองของหน่วยงานสากลหรือ Certificate 2. เครอ่ื งมือ (Tool) การเลือกใช้อุปกรณ์ดิจิทัลและซอฟต์แวร์ทท่ี ันสมัยได้รบั การยอมรับ แล้วว่าสามารถป้องกันและมีความแม่นยาในการวิเคราะห์ภัยคุกคาม สามารถป้องกันการ โจมตีเฟริ ์มแวร์ ซ่งึ เป็นภยั ใหญ่ทีส่ ุดในองคก์ รได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั การรกั ษาความมน่ั คงปลอดภัยโครงสรา้ งพ้นื ฐาน 1. ฮาร์ดแวร์และอปุ กรณ์เชอื่ มต่อตา่ ง ๆ (Hardware and its peripheral) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. โครงสรา้ งพ้ืนฐานระบบเครอื ขา่ ย (Network) 4. ขนั้ ตอนระเบียบปฏิบตั ิ (Procedure) 5. ผใู้ ช้งาน (User)

ความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั หลกั การรักษาความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั 1. การรักษาความลับ (Confidentiality) 2. การรกั ษาความครบถ้วนสมบูรณ์ (Integrity) 3. การรักษาความพรอ้ มใช้ (Availability)

ความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั การรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู ในการทาธุรกจิ ดิจทิ ลั 1. การระบตุ วั ตน (Identification) 2. การพสิ ูจนท์ ราบตวั ตน (Authentication) 3. การอนุญาตใช้งาน (Authorization) 4. การตรวจสอบได้ (Accountability)

ความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ภยั คกุ คามด้านความม่ันคงปลอดภยั ภัยคุกคาม (Threat) หมายถงึ ส่ิงทท่ี าให้เกดิ ความเสียหายของขอ้ มูล ไมว่ ่าจะเปน็ ส่วนใดสว่ น หนึง่ ของขอ้ มลู เมือ่ ข้อมูลนน้ั การคุกคามโดยภยั คกุ คามน้ีถ้าไมไ่ ดม้ กี ารป้องกันทีร่ ดั กุมแลว้ น้ัน กจ็ ะเป็นสาเหตุท่จี ะทาให้ข้อมูลนนั้ เกิดการเสยี หายได้ โดยการโจมตขี องกลมุ่ ทไี่ ม่หวังดีเช่น จาก บคุ คลภายในองคก์ รเอง หรือกลุม่ เจาะระบบ (Hacker) แต่อย่างไรกด็ ี ถา้ มีการจดั การท่ดี ีต่อ ขอ้ มูล ทาให้ขอ้ มลู น้นั ปลอดภยั รดั กุมอยู่เสมอ ภัยต่าง ๆ ก็ไมส่ ามารถทจ่ี ะทาใหข้ ้อมลู เสียหาย ได้

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ภยั คุกคามตอ่ ทรัพยากรสารสนเทศจาแนกได้ 4 ลกั ษณะ คอื 1. การดกั รบั (Interception) 2. การขัดจงั หวะ (Interruption) 3. การดัดแปลงแกไ้ ข (Modification) 4. การปลอมแปลง (Fabrication)

ความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ไฟรว์ อลล์ (Firewall) ไฟร์วอลล์ (Firewall) เป็นเทคโนโลยีท่ีถูกสร้างขึ้นเพ่ือป้องกันภัยคุกคามและการโจมตีทาง เครือข่ายหลักทั่วไปของการใช้งานไฟร์วอลล์คือ การป้องกันภัยคุกคามที่มาจากภายนอก (ซึ่ง อาจหมายถึงเครือข่ายภายนอก หรือเครือข่ายท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเคร่ืองหนึ่ง เชื่อมต่อดว้ ยก็ได้) จาแนกชนดิ ของไฟรว์ อลล์ตามลกั ษณะการใช้งานได้สองลักษณะ คือ ■1. ไฟร์วอลล์สาหรับเครอื ขา่ ย (Network firewall) ■2. ไฟล์วอลล์สว่ นบุคคล (Personal firewall)

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ขอ้ ควรระวังในการทาธรุ กรรมดจิ ทิ ัล 1. ความมน่ั คงปลอดภยั ออนไลน์ (Online Security) 2. ความน่าเชื่อถือของระบบ (System Reliability) 3. ประเด็นเร่ืองความเปน็ ส่วนตัว 4. ข้อพิพาทหรือรอ้ งเรยี นของลูกค้า 5. การฉอ้ โกงบัตรเครดติ

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั ขอ้ ควรระวังในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั 6. ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา รูปภาพ คาอธิบายผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง 7. SEO (Search Engine Optimization) 8. ภาษีอากร 9. การคืนสินคา้ และการรบั ประกนั 10 ระบบคลังสินค้าและโลจิสตกิ ส์

ความมน่ั คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั สรุปประเดน็ สาคญั ระบบ Cyber Security จาเป็นต่อทุกอตุ สาหกรรม แต่เนอ่ื งด้วยความจาเป็นเรง่ ด่วนและ ผลกระทบทรี่ ุนแรง ไดถ้ ูกนามาใชอ้ ยา่ งมากในอตุ สาหกรรมการเงนิ และการธนาคาร เน่ืองจาก ในโลกยคุ ปจั จบุ ัน ในหลาย ประเทศมกี ารเปดิ เสรที างการเงนิ การธนาคารเพอ่ื ดงึ ดูดนกั ลงทนุ ตา่ งชาตใิ ห้เข้ามาลงทนุ ในอุตสาหกรรมทางการเงิน รวมถึงการซือ้ ขายแลกเปล่ียน และการทา ธรุ กรรมทางการเงนิ สามารถทาไดผ้ ่านระบบอนิ เทอร์เนต็ ทใี่ ช้งานบนสมารท์ โฟน

ความมนั่ คงปลอดภยั ในการทาธุรกรรมดจิ ทิ ลั สรุปประเดน็ สาคญั เทคโนโลยที เ่ี ก่ยี วกับขอ้ งกับการรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ในการทาธรุ กรรมดิจิทัล ได้แก่ เทคโนโลยที เี่ ก่ยี วขอ้ งกับการรกั ษาความปลอดภยั ทางกายภาพ วทิ ยาการรหัสลับ (Cryptography) ไฟร์วอลล์ (Firewall) เป็นเทคโนโลยที ถ่ี กู สร้างข้ึนเพอื่ ปอ้ งกันภัยคกุ คาม และการโจมตีทางเครือขา่ ยหลกั ท่ัวไปของการใช้งานไฟรว์ อลลร์ ะบบตรวจจับผบู้ ุกรกุ (Intrusion Detection System) และแอนตีไวรัสซอต์แวร์ (Anti-Virus Software)

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 “ข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส์” หมายความว่า ข้อความท่ไี ด้สร้าง สง่ รับ เกบ็ รักษา หรือ ประมวลผล ดว้ ยวธิ กี าร ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เช่น วธิ กี ารแลกเปล่ียนข้อมูลทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ดหมาย อิเล็กทรอนกิ ส์ โทรเลข โทรพมิ พ์ หรอื โทรสาร

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544 “ลายมือช่ืออเิ ล็กทรอนิกส์” หมายความว่า อกั ษร อักขระ ตวั เลข เสยี งหรือสัญลักษณอ์ นื่ ใดที่ สร้างขน้ึ ให้ อยใู่ นรูปแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ซ่ึงนามาใช้ประกอบกบั ขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนกิ ส์เพอ่ื แสดง ความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคลกับ ข้อมูลอิเลก็ ทรอนิกส์โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ระบุตวั บคุ คลผเู้ ปน็ เจ้าของลายมือชอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสท์ ี่เก่ยี วข้องกบั ข้อมูลอิเล็กทรอนิกสน์ ั้น และเพ่อื แสดงวา่ บุคคล ดังกลา่ วยอมรับขอ้ ความในขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนิกส์นนั้

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั พระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2544 “เจา้ ของลายมือช่ือ” หมายความว่า ผู้ซึ่งถือข้อมลู สาหรับใชส้ ร้างลายมือช่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์และ สรา้ ง ลายมอื ช่ืออเิ ล็กทรอนิกสน์ ั้นในนามตนเองหรือแทนบคุ คลอน่ื

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาความผิดเก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ “ระบบคอมพวิ เตอร”์ หมายความว่า อปุ กรณ์หรือชดุ อปุ กรณ์ของคอมพวิ เตอรท์ ี่เชือ่ มการ ทางานเข้าดว้ ยกัน โดยไดม้ ีการกาหนดคาสั่ง ชดุ คาส่ัง หรือส่งิ อน่ื ใด และแนวทางปฏิบัตงิ าน ใหอ้ ปุ กรณห์ รือชดุ อุปกรณ์ทาหนา้ ท่ีประมวลผลข้อมลู โดยอัตโนมัติ

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั พระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ “ข้อมลู คอมพิวเตอร”์ หมายความว่า ข้อมลู เก่ยี วกับการตดิ ตอ่ สอื่ สารของระบบคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงแสดงถงึ แหล่งกาเนิด ตน้ ทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วนั ท่ี ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของ บรกิ าร หรอื อ่ืน ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การติดตอ่ สื่อสารของระบบคอมพวิ เตอรน์ ้นั

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั ■ พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทาความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ “ผ้ใู ห้บริการ” หมายความวา่ (1)ผู้ให้บริการแก่บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึงกันโดย ประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรอื เพ่ือประโยชน์ของบุคคลอนื่ (2) ผ้ใู ห้บรกิ ารเกบ็ รกั ษาขอ้ มูลคอมพิวเตอร์เพื่อประโยชนข์ องบคุ คลอื่น

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั จรยิ ธรรมในการทาธุรกรรมดิจิทัล 1. ความเปน็ ส่วนตวั (Information Privacy) 2. ความถกู ตอ้ ง (Information Accuracy) 3. ความเป็นเจา้ ของ (Intellectual Property) 4. การเขา้ ถงึ ข้อมลู (Data Accessibility)

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั จริยธรรมสาหรบั ผใู้ ช้ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1. ตรวจสอบจดหมายทกุ วันและจะตอ้ งจากดั จานวนไฟล์และขอ้ มูลในต้จู ดหมายขอ ใหเ้ ลือก ภายในโควต้าทก่ี าหนด 2. ลบขอ้ ความหรอื จดหมายทไี่ มต่ ้องการแลว้ โดยเฉพาะจดหมายขยะ ออกจากดิสก์เพือ่ ลด ปริมาณ การใช้ดิสก์ให้จานวนจดหมายที่อยใู่ นตจู้ ดหมายมจี านวนน้อยท่สี ดุ 3. ให้ทาการโอนย้ายจดหมายจากระบบไปไว้ใน Cloud หรือแหล่งเก็บขอ้ มลู อนื่ เพื่อใชอ้ ้างองิ ใน ภายหลัง พงึ ระลกึ เสมอว่า จดหมายท่ีเก็บไวใ้ นตู้จดหมายนอี้ าจะถกู ผู้อนื่ แอบอา่ นได้ ไมค่ วร เก็บขอ้ มูลหรือจดหมายทค่ี ดิ วา่ ไมใ่ ช้แล้วเสมือนเป็นประกาศไว้ในตูจ้ ดหมาย

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั จรยิ ธรรมในการทาธุรกิจดิจทิ ัล 1. ขายสินคา้ บรกิ ารในราคายตุ ิธรรมและตรงตามคณุ ภาพทีร่ ะบุไว้ 2. ละเวน้ การกล่นั แกล้ง ใหร้ ้ายป้ายสี ข่มขู่หรอื กดี กนั ไมว่ า่ จะทางตรงหรือทางอ้อม 3. ควรตรงไปตรงมาชดั เจนแนว่ เเน่น 4. ไมล่ ะเมิดสทิ ธทิ างปัญญาของบคุ ลลอืน่ 5. ไมส่ ่งสแปมเมลหรอื จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ขยะ เพื่อสร้างความราคาญใหแ้ กผ่ ู้รบั

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั จริยธรรมในการทาธุรกจิ ดจิ ทิ ลั 6. ต้องไมส่ อดแนมหรอื เเก้ไขดแู ฟม้ ของผอู้ น่ื 7. ไม่เปดิ เผยหรอื นาขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของลกู คา้ ไปใช้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต 8. ตอ้ งทาการลงทะเบียนการค้าพาณชิ ย์และเสยี ภาษีรา้ นคา้ ให้ถกู ตอ้ ง 9. ต้องตรวจสอบสินค้าที่นาเสนอ ว่าต้องเป็นสินค้าที่ถูกต้องตามกฎหมาย ส่วนผสมในตัว ผลิตภณั ฑต์ ้องไม่เกิดอันตรายกับผู้ใช้ มี อย. กากบั สินค้า และมีการนาเข้าสินค้าอยา่ งถูกต้อง ไมป่ ลอมเเปลงหรอื คัดลอกสนิ คา้ จากผูอ้ ืน่

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั จรยิ ธรรมในการทาธรุ กิจดจิ ทิ ัล 10. ต้องทาการระบุรายละเอียดสินค้าให้ชัดเจน พร้อมระบุด้วยว่าสินค้านี้พร้อมขายหรือไม่ ต้องนาเสนอตามคุณภาพสรรพคุณตามสินค้าท่ีเเท้จริง ไม่มีการตกแต่งหรือรีวิวผลลัพธ์ ของสนิ คา้ เกินจริง 11. ต้องมีระบบการเก็บข้อมูลลูกค้าอย่างถูกต้อง เพ่ือป้องกันการถูกลักลอบนาข้อมูลของ ลูกคา้ ไปใช้ ซง่ึ ถอื ว่าเปน็ การละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคล 12. ตอ้ งตรวจสอบและพฒั นาสินคา้ อยู่เสมอ เพ่ือใหเ้ กดิ ความแนใ่ จในตัวสนิ ค้าก่อนส่งมอบ 13. ไม่หลอกลวงลูกค้าด้วยการส่งสินค้าท่ีผิดแปลกไปจากท่ีตกลงกันไว้ และไม่ส่งสินค้าของ ปลอมเเลว้ ห ลอกลวงว่าเปน็ ของเเท้ให้กับลกู ค้า

กฏหมายและจรยิ ธรรมและการทธุรกรรมดจิ ทิ ลั จรรยาบรรณของนกั คอมพวิ เตอร์ 1. จรรยาบรรณต่อตนเอง 2. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มงาน 3. จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี 4. จรรยาบรรณต่อสงั คม 5. จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บริการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook