Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563

วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563

Description: วารสารวิชาการและวิจัย

Search

Read the Text Version

196 วารสารวชิ าการและวิจัย มทร.พระนคร ปที ่ี 14 ฉบับท่ี 1 มกราคม-มถิ ุนายน 2563 2.1 Basic of Thermoelectric Generator Fig. 2 Sankey diagram for TEG stove The thermoelectric generator (TEG) device is a conversion device based on 2.2.1 Thermal Eefficiency of Cookstove Seebeck’s effect, which is composed of As shown in Fig. 2, the energy one or more thermoelectric couple. The simplest TEG consists of a thermocouple, balance is started by equation (1), comprising a pair of P-type and N-type thermoelements or legs connected (1) electrically in series and thermally in parallel. The TEG device will generate where is the heat energy input that DC electricity as long as there is a can be carried out by equation (2), temperature gradient between its sides. When the temperature difference (∆T = Th – Tc) across the TEG device increases, the more electrical output power will be generated as shown in Fig. 1. (2) The primary useful heat ( ) is useful energy rate defined as equation (3), Fig. 1 Thermoelectric Principle (3) 2.2 Mathematical Model and is the primary loss of cooking stove. In this section, mathematical models Then, the thermal efficiency of the gas are formed to analyze the thermal stove can be calculated by equation (4), efficiency, heat transfer, a cooling system, an electrical power, and energy balance (4) for the TEG gas stove application. Here, ṁwt is the rate of water (kg/s), cp is the heat capacity of water (kJ/kgoC), ∆T is the temperature change of water (oC), ṁwt is the rate of stream (kg/s), hfg is the latent heat of water (kJ/kg), ṁf

RMUTP Research Journal, Vol. 14, No. 1, January-June 2020 197 is the mass of LPG fuel (kg) and LHV (9) is the low heating value (kJ/kg). where ṁwc is the rate of water cooling, 2.2.2 Heat Transfer of TEG is Two and Twi are the outlet and inlet of water cooling, respectively. When ηth is known already, defined by equation (5) and (6). 2.2.3 Thermoelectric Capability The property of the TEG is very (5) important to identify the performances and characteristics of the TEG. Two (6) parameters, i.e. 1) Seebeck’s coefficient and 2) the equivalent thermal conductance It is the waste heat from combustion. (K), are used in this study as shown in The term is the partial waste heat equation (10) and (11), respectively. energy transferring to the TEG module, and is the electrical energy. The relation between and can be identified by equation (7), and it is equivalent to the heat transfer from heat source to heat sink, which can be expressed by equation (8) and is shown in Fig. 3. (7) (8) where k is the heat conduction coefficient on each material, h1 and h5 are the Fig. 3 Heat transfer model for analysis convection coefficient at positions 1 and (10) (11) 5, respectively, ∆X is the thickness of each material. The water-cooling flow through the low-temperature side of the TEG is used for this study because of the high heat transfer rate [7]-[11]. The rate of cooling can be expressed by equation (9).

198 วารสารวชิ าการและวจิ ยั มทร.พระนคร ปีที่ 14 ฉบับท่ี 1 มกราคม-มถิ นุ ายน 2563 The heat flow from the exhaust is of the TEG module . Therefore, absorbed at the hot junction (Qh), whereas it reveals that the electrical power the cold junction (Qc) is released to the cooling system. They can be seen as can be determined, if the term of , equation (12) and (13), respectively. [12] , , are known by solvingin equation (2), (3), (6) and (15), respectively. (12) (16) (13) 2.3 Material & Experimental Setup and Procedure where A is the cross-sectional area of the The concept design for the modified each leg , V is the voltage output, ∆T is converting heat to electricity unit the temperature difference across the (MCHEU) is discussed in this part. TEG, k is the conductivity of material, Also, the materials used for structure, N is the amount of the TEG modules and the water-cooling system, and the l is the length of P-N type, I is the electric experimental setup and procedure are current, and R is the electric internal presented. resistance. The efficiency of the TEG or thermoelectric conversion efficiency (ηTEG)can be calculated by equation (14). (14) The electric power can be calculated and Fig. 4 The problems of (a) original is then compared with the measured result CHEU and (b) modified CHEU as equation (15) for validation. 2.3.1 Concept Design of MCHEU (15) In previous research [11], the converting heat to electricity unit 2.2.4 Energy Balance Equation (CHEU), as shown in Fig. 4(a), could produce some electricity from the waste The heat balance equation of the heat of a cookstove. However, the CHEU encounters some limitations of the heat system can be simplified by equation (1) flow characteristics around the hot side – (7), as seen in equation (16), which the total heat loss of the system arises from the main heat loss and the loss

RMUTP Research Journal, Vol. 14, No. 1, January-June 2020 199 and the cold side of the TEG as also Fig. 5 Design for MCHEU prototype shown in Fig. 4(a). Hence, the concept of Fig. 6 MCHEU Structure re-design for the modified converting heat to electricity unit (MCHEU), as shown Fig. 7 MCHEU Structure & components in Fig. 4(b), is introduced to overcome these limitations. The basic idea for the structural design of the MCHEU is expected to be a circular shape because a circular shape is outstanding for the circulated heat flow, as depicted in Fig. 5. The area of the total internal surface of MCHEU is 0.0525 m2 which is more than that of the CHEU about 2 times. The cross-sectional area of the water-cooling system is 90 mm × 90 mm, and there are two holes for a water inlet at the top and an outlet at the bottom. There are some baffles between the water inlet and outlet holes to ensure that the water can flow throughout all heat sinks. The 4 modules of the TEG are sequentially mounted on each plate that is a rectangular area with 60 Fig. 8 Apparatus and components Installation

200 วารสารวชิ าการและวจิ ยั มทร.พระนคร ปที ่ี 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 mm × 100 mm, as shown in Fig. 6. The 50 control unit (ECU). The ECU is composed mm × 100 mm steel plate with a thickness of the electrical charge controller and of 5 mm is used for covering the TEG the electric power distribution. The to prevent an overheated TEG at the hot electricity distributes to the load via section, as shown in Fig. 7. Otherwise, the connectors such as a 12 V and 7.5 Ah TEG will be dramatically deteriorated. battery, a 12 V and 7 W LED, a 12 V fan DC, a 12 V water pump DC, a digital 2.3.2 Experimental Setup temperature control TTM J4-J5 and a A KB-5 LPG gas stove equipped power inverter (12VDC to 220VAC with three main units is used to experiment. 150W). Thirdly, instead of the air-cooling At first, The MCHEU works as a waste system, the water-cooling system (WCS) heat energy harvester. The 4 TEG is used with MCHEU because it can modules, which are connected in the provide higher heat transfer rates [7]-[11]. series because of promoting the current This system consists of a 23-liter tank, a flow dominantly [12]-[13], are embedded 5-V water pump operating at 3.9 L/min, inside the surface of MCHEU. The main and a hose for water flow. All devices can parameters of the TEG are listed in be seen in Fig. 8. Table 1. All TEG modules are attached to the k-type thermocouple for temperature 2.3.3 Procedure measurement at hot and cold sides. The Firstly, the LPG fuel tank with a accuracy is +/- 2oC in a range of 350 – regulator is placed on the digital weight 600oC and is also combined to the data to measure fuel consumption during the logger of the Yokogawa MV2040 series test. The tank contains 23 liters of water to monitor and record data. (Please check that is combined with the small cooling this sentence again) tower. Fig. 9 illustrates all equipment and devices that are installed for experiments. Table 1 TEG’s performance of CHEU They must be precisely checked for and MCHEU availability, then switching on the ECU. Later, the 3 liters of water is supplied Secondly, all electrical wires on the TEG by a pump into the pot, which places are connected to the digital multimeter of onto the MCHEU. All data for the initial Kyoritsu model 1009 for measurement condition such as the water temperature and are also combined with the electrical in the tank (WCS) and weight of the LPG tank before the test are measured and recorded. Then, the regulator is adjusted to 0.1 kg/cm2, while the throttle valve for primary airflow is fully opened by

RMUTP Research Journal, Vol. 14, No. 1, January-June 2020 201 following the condition as listed in comparative study between the CHEU Table 2. The gas pressure is varied in and MCHEU is investigated. Fig. 10 the range of 0.1 – 0.6 kg/cm2 that serves shows clearly that the hot-side temperature as a heat load because this condition of the TEG increases proportionally can produce a high temperature under with the gas pressure because more fuel the TEG specification. During the water combustion causes the increase in the boiling, the temperature on both sides of combustion temperature, while the cold the TEG and the electrical parameters side of the TEG is controlled by the are recorded by the data logger until water-cooling system. As a result, the it approaches steadily for 20 minutes. temperature differences increase with When the first condition is finished, it the gas pressure in which the maximum continues to the next condition according temperature differences are 269.8oC and to Table 2. 278.5oC at 0.5 kg/cm2 and 0.6 kg/cm2, respectively. Because of the limitation of Fig. 9 Equipment installation the TEG property, the temperature at the Table 2 The condition for TEG test hot side of the TEG must be prevented by the steel plate to keep the temperature 3. Results and Discussion lower than 400oC. Consequently, the The temperature characteristics of temperature differences at the gas the TEG and the electric voltage, current, pressure of 0.5 kg/cm2 and 0.6 kg/cm2 and power are discussed. Also, the are slightly different. Figs. 11 and 12 show the average electric voltage and current outputs that are plotted against the temperature difference of the TEG at variant gas pressure. The results show that when the temperature difference increases, the electric voltage, and current output almost linearly increase [11], [12]. In fact, the Seebeck effect of the TEG reveals the constant of the Seebeck coefficient, which is shown by its slope of the result. This is approximately 0.0668 V/C to relate linearity between them, then temperature difference, and the electric output is almost linear.

202 วารสารวิชาการและวจิ ัย มทร.พระนคร ปที ี่ 14 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-มิถุนายน 2563 Fig. 10 Average temperature of TEG Fig. 12 Electric current of TEG Figs. 11 and 12 also indicate that the highest voltage output is 18.80 VDC at the maximum temperature difference of 278.50oC with 0.6 kg/cm2 of the gas pressure, whereas the maximum current output is 5.70 A at the same condition. The effect from those results can be integrated by Fig. 13, which reveals the electric power. Fig. 11 Electric voltage of TEG Fig. 13 Electric power of TEG It shows the maximum power is approximately 106.90 W. This result corresponds to the result reported by [11] and [14]. Furthermore, a 12 V and 7 W LED lamp can be operated over 70oC of the temperature difference [12]. In the present study, the TEG provides a 7% average efficiency, approximately which also agrees with the efficiency reported by [11], [12]. Fig. 14 shows the validation of the computed TEG’s output power which is done by comparing it with the measurement and calculation. Clearly, the trend of the measured result agrees

RMUTP Research Journal, Vol. 14, No. 1, January-June 2020 203 with the calculated result. However, Fig. 16 Temperature at hot and cold side the calculated result is lower than the measured result, on an average value, only0.3% [8] and [11]. Thus, it indicates about 20%. This error occurs due to that the cookstove can be integrated by the inaccuracy of a measured Seebeck MCHEU without reducing efficiency. coefficient (0.0668 V/oC). In addition, the The comparative results between Seebeck coefficient is further studied in MCHEU and CHEU can be seen in the case of 0.85, which is very close to Figs. 16 - 21. Fig. 16 shows the hot and the experimental result. cold side temperatures of the TEG with CHEU and MCHEU against the gas Fig. 14 Validation of power output. pressure. Obviously, the temperature Fig. 15 presents the thermal at the hot side of MCHEU is much efficiency of the gas stove with and higher than that of CHEU. This may be without MCHEU. One can see that the explained by the fact that the MCHEU is thermal efficiency with and without improved by re-designing the structure MCHEU is 27.5% and 27.8% on average, for a turbulent flow enhancement of the respectively. It is insignificantly different, exhaust gas, while the control of the temperature at the cold side is attempted Fig. 15 Thermal efficiency of gas stove by the water-cooling system. The results indicate that the highest temperature at the hot side of MCHEU and CHEU is 364.71oC and 250.50oC, respectively, at the maximum heat load. Next, Figs. 17, 18, and 19 compare the results of the open-circuit voltage, the electric current (Short-circuit), and the output power with the CHEU and the MCHEU against with the temperature difference.

204 วารสารวิชาการและวจิ ัย มทร.พระนคร ปที ่ี 14 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถนุ ายน 2563 They show that at the highest heat load, Fig. 18 Current (Short Circuit) of TEG MCHEU can provide the maximum of the electric voltage (Open-circuit), the Fig. 19 Electric power of TEG current (Short-circuit), and the power the TEG is used to withstand the high output of are 18.8V, 5.7A, and 107W, temperature from the exhaust gas. Also, respectively. Meanwhile, 38.8V, 1.4A, a LED lamp (12VDC 7W) can be and 58.1W are given by CHEU. Fig. 17 operated by both CHEU and MCHEU also indicates that the open-circuit at the same condition but MCHEU can voltage of CHEU is higher than that of produce more power than CHEU. MCHEU approximately 2 times. This is Fig. 20 presents the battery-charging because the Seebeck’s coefficient of the time between CHEU and MCHEU. The CHEU is higher. In contrast, the current result shows that the battery (12V 7.5Ah) of MCHEU is higher than that of CHEU is charged by MCHEU and CHEU at about 4 times, as seen in Fig. 18. This is the rate of 0.37 V/hr and 0.16 V/hr, because of the high capability of TEG’s respectively. Hence, the charging time of specification. MCHEU and CHEU can be estimated for However, although the voltage 4.5 hours and 7.8 hours at a full-charged output of MCHEU is lower, the power output of MCHEU is higher about 2 times, as shown in Fig. 19. Namely, the output power obtained by MCHEU is higher than that by CHEU approximately 50%. This is because the temperature difference of the TEG is increased by a modified structure to improve the heat transfer. Moreover, a high capability of Fig. 17 Voltage (Open Circuit) of TEG

RMUTP Research Journal, Vol. 14, No. 1, January-June 2020 205 battery. It means that the battery can and 18%, respectively. Also, energy be charged up faster by MCHEU. As a loss decreases by 2%. This means that result, the electric current flowing from the waste heat can be converted to MCHEU into the battery increases with the electricity increasingly by the gas an increasing duty cycle as the duty cycle cooking stove with MCHEU. Also, is further increased [15]. the gas cooking stove with MCHEU can operate with being more friendly Fig. 20 Battery charging time environment. and the use of MCHEU To complete the comparison, the does not affect the thermal efficiency of energy-saving provided by the gas the gas stove. stove with CHEU and MCHEU is presented in Fig. 21. 4. Conclusion and Suggestion Thisworkemphasizestheimportance of developing the waste heat energy conversion device to generate some electricity through a TEG. Through analysis and discussion, the performances of the MCHEU are investigated and compared with those of the original CHEU as concluded in Table 3. Table 3 Comparison between CHEU and MCHEU Fig. 21 Energy saving aspect The interesting results are summarized as follows: The pie charts are divided into three 1) The maximum temperature parts, namely, the useful energy, the difference of MCHEU is on an average energy conversion (Electricity), and the value of 278.5oC at a maximum heat energy loss. It is clear that the gas stove load condition, thereby obtaining the with MCHEU and CHEU can recovery maximum voltage, current, and power are the electricity by approximately 20% 18.83 V, 5.67 A, and 107 W respectively. 2) On average, the temperature difference of MCHEU is 50% higher

206 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถนุ ายน 2563 than that of CHEU. 3) The output power [4] E. O. B. Ogedengbe and F. D. obtained by MCHEU is higher than Ajibade, “Improved Burner that of CHEU with an average value of Efficiency and Fuel Consumption 52%, and takes less time about 40% for in Domestic Cooking Appliances,” fully-charging a battery (12 V, 7.5 Ah). Energy and Policy Research, vol. 4, Nevertheless, MCHEU usage does not no. 1, pp. 29–35, Jan. 2017. affect the thermal efficiency of the gas [5] S. Jugjai and N. Rungsimuntuchart, cooking stove. 4) The efficiency of an “High Efficiency Heat-recirculating energy conversion obtained by MCHEU Domestic Gas Burners,” is 20%, which is higher than those of Experimental Thermal and Fluid CHEU about 2%. Science, vol. 26, pp. 581–592, 2002. [6] S. -S. Hou and C. -H. Chou, 5. Acknowledgement “Parametric Study of High- This research was supported by the Efficiency and Low-Emission Gas Rajamangala University of Technology Burners,” Advances in Materials Krungthep. The author would like Science and Engineering, vol. 2013, to thank Dr. Prasert Prapamonthon, pp. 1–7, 2013. Department of Aeronautical Engineering, [7] D. Champier, J.P. Bedecarrats, International Academy of Aviation M. Rivaletto and F. Strub, Industry, King Mongkut’s Institute of “Thermoelectric power generation Technology Ladkrabang for his useful from biomass cook stoves,” Energy, suggestion. vol. 35, no. 2, pp 935–942, Feb. 2010. 6. References [8] R.SakdanuphabandA.Sakulkalavek, [1] Energy Policy and Planning Office, “Design, empirical modelling and Ministry of Energy. (2562). Annual analysis of a waste-heat recovery Energy Statistics Report. [Online]. system coupled to a traditional Available: www.eppo.go.th cooking stove,” Energy Conversion [2] National Statistical Office, Thailand. and Management, vol. 139, pp. (2562). Energy Statistics. [Online]. 182–193, May 2017. Available: www.nso.go.th [9] A. Montecucco, J. Siviter and A.R. [3] P. Agarwal, A. Anand and R. Gupta, Knox, “Combined heat and power “Performance Analysis of system for stoves with thermoelectric Conventional LPG Cooking Stove,” generators,” Applied Energy, vol. International Journal on Applied 135, pp. 1336–1342, Jan. 2017. Bioengineering, vol. 9, no. 1, [10] M.J. Deasy, S.M. O’Shaughnessy, pp. 15–19, Jan. 2015. L. Archer and A.J. Robinson,

RMUTP Research Journal, Vol. 14, No. 1, January-June 2020 207 “Electricity generation from Research, vol. 8, no. 1, pp. 76–86, biomass cookstove with MPPT 2017. power management and passive [14] I. Osmani, Md. M. Haque, Md. liquid cooling,” Energy for A. Hossain, Md. M. Haque, and Sustainable Development, vol. 43, H. K. Bhuiyan, “Fabrication of pp. 162–172, Apr. 2018. a biomass stove and conversion of [11] S. Hemhirun and D. Tanpradit, electricity from waste heat using “Power Generation from Heat Loss TEG,” in Proceedings of the 1st of Gas Stove by Thermoelectric International Conference on Generator Unit,” RMUTP Research Mechanical Engineering and Journal, vol. 12, no. 1, pp. 92–101, Applied Science (ICMEAS 2017), Jan.-Jun. 2018. Dhaka, Bangladesh, 2017, [12] D. Enescu, “Thermoelectric Energy p. 020050. Harvesting: Basic Principles and [15] C. E. Kinsella, S. M. O’Shaughnessy, Applications,” in Green Energy M. J. Deasy, M. Duffy and A. J. Advances, D. Enescu, Ed. Intech Robinson, “Battery charging Open, 2019. considerations in small scale [13] F. M. Siddiqui and V.K. Maurya, electricity generation from a “Study of TEG When Connected in thermoelectric module,” Applied Series and Parallel Combinations Energy, vol. 114, pp. 80–90, Feb. Along With a DC-DC Converter,” 2014. Vivechan International Journal of

วารสารวิชาการและวิจยั มทร.พระนคร RMUTP RESEARCH JOURNAL วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร เป็นวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเผยแพร่และถ่ายทอดผลงานวิจัยและผลงานวิชาการท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ซ่ึงอยู่ในฐานข้อมูล ของศนู ย์ดัชนีการอ้างองิ วารสารไทย (Thai Journal Citation Index Centre, TCI Centre) ก�ำหนดการตีพมิ พ์ เผยแพร่ ปลี ะ 2 ฉบบั (ราย 6 เดอื น) ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-มิถนุ ายน และฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม โดยรับพิจารณา บทความทงั้ ทเ่ี ปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ โดยมกี รอบของวารสารทคี่ รอบคลมุ ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ และวศิ วกรรมศาสตร์ ทั้งนี้บทความดังกล่าวผเู้ ขียนต้องไมเ่ สนอ บทความฉบบั เดียวกันกับทเ่ี คยตีพมิ พ์ในวารสารอื่นมาก่อน เว้นแตผ่ า่ นการเรียบเรยี งและเพม่ิ เน้ือหาใหม่ บทความ แต่ละบทความต้องผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรงตามสาขาของบทความนั้นอย่างน้อย 2 ท่าน และ ผู้ทรงคุณวุฒิต้องมาจากหน่วยงานท่ีต่างกันกับผู้เขียน อีกท้ังชุดผู้ทรงคุณวุฒิท่ีประเมินบทความเดียวกันนั้นจะต้อง มาจากหน่วยงานท่ีต่างกันด้วย ซ่ึงจัดประเภทของการ Peer Review เป็นแบบ Double Blinded หมายถึง ผูท้ รงคุณวุฒจิ ะไมท่ ราบชอ่ื ผเู้ ขียน และผเู้ ขียนจะไมท่ ราบชื่อผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 1. ประเภทของบทความทีต่ ีพิมพ์ 1.1 บทความวิจัย (Research article) เปน็ บทความที่ไดจ้ ากงานวจิ ัย มเี นื้อหาสำ� คญั ท่ีอธบิ ายถึงระเบียบวธิ วี ิจยั ผลการทดลอง การวเิ คราะหผ์ ล และการสรุปผลท่ชี ดั เจน 1.2 บทความวชิ าการ (Academic article) เปน็ บทความทีม่ ลี กั ษณะดงั นี้ 1. Literature review เป็นบทความจากการทบทวนเอกสาร ซ่ึงเป็นผลมาจากการวิจัยหลายๆ ครั้ง ถอื เป็นบทความทีม่ ีความส�ำคญั เป็นอยา่ งยิ่ง 2. Technical paper เปน็ บทความนำ� เสนอกระบวนการในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การทดสอบภาคสนาม รวมไปถงึ เทคนิคการวิเคราะหใ์ หมๆ่ 3. Professional practice เปน็ บทความท่มี าจากประสบการณ์ หรือความชำ� นาญของผเู้ ขียน 4. Policy paper เป็นบทความเกย่ี วกับนโยบายด้านตา่ งๆ ของหน่วยงาน 2. สว่ นประกอบของบทความแต่ละประเภท 2.1 บทความวจิ ยั ก. ส่วนปก ใหแ้ ยกออกเปน็ 2 หน้า โดยปกหนา้ แรกเป็นภาษาไทย และปกหนา้ ท่สี องเปน็ ภาษาอังกฤษ โดยแต่ละ ปกหนา้ ต้องจบในหน่งึ หนา้ ของตวั เอง ประกอบด้วย 1. ช่อื บทความ (Title) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรสน้ั กะทัดรดั ช้ีถงึ เปา้ หมายหลักของการวิจัย 2. ชอื่ ผู้เขียนทกุ ทา่ น (Authors) ใหร้ ะบเุ ฉพาะชอื่ และ นามสกลุ โดยไม่ตอ้ งมคี �ำนำ� หน้านาม 3. หน่วยงาน/สังกดั และทอ่ี ยู่ สำ� หรับการตดิ ตอ่ ทางไปรษณีย์ ของผู้เขียนทกุ ท่าน 4. ตัวเลขยก ให้เขยี นไวบ้ นนามสกลุ เพอื่ ระบวุ า่ เปน็ ตำ� แนง่ ทางวิชาการและท่ีอยขู่ องผ้เู ขียนท่านใด

5. บทคัดย่อ (Abstract) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรส้ันตรงประเด็น ครอบคลุมสาระสำ� คัญของ การศกึ ษา ไดแ้ ก่ วัตถุประสงค์ วธิ กี าร ผลและการวจิ ารณ์ เป็นต้น 6. ค�ำส�ำคัญ (Keywords) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นการก�ำหนดค�ำส�ำคัญท่ีสามารถน�ำไปใช้ เป็นค�ำสบื ค้นในระบบฐานขอ้ มูล ประมาณ 3-5 ค�ำ 7. ผู้นิพนธ์ประสานงาน (Corresponding Author) ให้ท�ำเคร่ืองหมาย * ไว้บนนามสกุล และระบุ หมายเลขโทรศพั ท์ และไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) ข. ส่วนเนื้อหา ประกอบดว้ ย 1. บทน�ำ (Introduction) เป็นส่วนของความส�ำคัญและมูลเหตุท่ีน�ำไปสู่การวิจัย พร้อมวัตถุประสงค์ และการทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้อง 2. ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) หรือ วิธีการทดลอง (Experimental Methods) เปน็ การอธิบายวธิ ีการด�ำเนนิ การวจิ ยั การทดลอง อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื การติดต้งั และการวดั คา่ ต่างๆ 3. ผลการทดลองและวิจารณ์ผล หรือ ผลการศึกษาและอภิปรายผล (Results and Discussion) ควรเสนอผลอย่างชัดเจน ตรงประเด็น เป็นผลท่ีค้นพบโดยล�ำดับตามหัวข้อที่ศึกษาพร้อมการวิจารณ์ ผล 4. สรปุ (Conclusion) สรุปสาระส�ำคัญที่ได้จากการศกึ ษา 5. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) เป็นการระบุแหล่งทุนสนับสนุนการวิจัย (ถ้ามี) และ การระบุหนว่ ยงานหรอื บุคคลที่ใหก้ ารสนับสนุน ชว่ ยเหลอื การทำ� วจิ ยั 6. เอกสารอ้างอิง (References) ต้องใช้ตามแบบท่ีวารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ก�ำหนด อยา่ งเคร่งครดั และเขยี นเอกสารอ้างองิ เฉพาะเอกสารที่น�ำมาอ้างอิงในเนื้อหาเท่าน้นั 2.2 บทความวชิ าการ ก. ส่วนปก มีส่วนประกอบเหมือนบทความวจิ ยั ข. สว่ นเนอื้ หา ประกอบดว้ ย 1. บทน�ำ (Introduction) เปน็ สว่ นของที่มาและมลู เหตขุ องการเขยี นบทความ 2. ผลการศึกษา/ผลการดำ� เนินการ (Results) เปน็ การเสนอผลอยา่ งชดั เจน ตามประเด็นโดยลำ� ดับตาม หวั ขอ้ ทศี่ ึกษาหรือดำ� เนินการ 3. สรปุ (Conclusion) สรุปสาระสำ� คญั ที่ได้จากการศึกษา 4. กิตตกิ รรมประกาศ (Acknowledgements) เปน็ การระบแุ หลง่ ทุนสนับสนุนการวจิ ัย (ถ้าม)ี และการ ระบุหน่วยงานหรือบุคคลทีใ่ หก้ ารสนบั สนุน ชว่ ยเหลอื การทำ� วจิ ยั 5. เอกสารอ้างอิง (References) ใช้รูปแบบที่วารสารฯ ก�ำหนดอย่างเคร่งครัดและเขียนอ้างอิงเฉพาะ เอกสารทีป่ รากฏในบทความเทา่ น้ัน

3. รูปแบบการพิมพ์บทความ ให้ใช้ไฟล์รูปแบบบทความ (Template Form) ซ่ึงสามารถดาวน์โหลดได้จาก http://journal.rmutp. ac.th/ โดยไฟล์รูปแบบบทความมกี ารต้ังคา่ หน้ากระดาษแล้ว ดงั น้ี รายการ บทความภาษาไทย บทความภาษาองั กฤษ ระยะขอบ ขอบบน (Top Margin) 2.50 ซม. ขอบบน (Top Margin) 2.50 ซม. ขนาดกระดาษ ขอบลา่ ง (Bottom Margin) 2.00 ซม. ขอบลา่ ง (Bottom Margin) 2.00 ซม. เค้าโครง ขอบซา้ ย (Left Margin) 2.00 ซม. ขอบซ้าย (Left Margin) 2.00 ซม. ขอบขวา (Right Margin) 2.00 ซม. ขอบขวา (Right Margin) 2.00 ซม. รปู แบบตัวอักษร หมายเลขหน้า ขนาดกระดาษ A4 (กำ� หนดเอง) ขนาดกระดาษ A4 (กำ� หนดเอง) ความกว้าง 19 ซม. ความสูง 27 ซม. ความกว้าง 19 ซม. ความสูง 27 ซม. การย่อหน้า จำ� นวนหน้าท้งั หมด หวั กระดาษและท้ายกระดาษ เลือกหน้า หวั กระดาษและทา้ ยกระดาษ เลอื กหน้า ชอ่ื วารสาร (ภาษา ค่แู ละหนา้ คตี่ า่ งกัน หน้าแรกต่างกัน จาก ค่แู ละหนา้ คต่ี ่างกนั หนา้ แรกต่างกนั จาก ไทย) ขอบหัวกระดาษ และ ท้ายกระดาษ ตั้ง ขอบหวั กระดาษ และ ทา้ ยกระดาษ ตงั้ ค่า 1.25 คา่ 1.25 ชอื่ วารสาร (ภาษา องั กฤษ) TH SarabunPSK Times New Roman ตำ� แหน่ง ดา้ นบน ตำ� แหนง่ ดา้ นบน ไม่แสดงหมายเลขหนา้ ในหน้าแรก ไมแ่ สดงหมายเลขหน้าในหนา้ แรก หนา้ ค่ี ใสห่ มายเลขหนา้ ต�ำแหนง่ บนขวา หนา้ ค่ี ใส่หมายเลขหนา้ ต�ำแหน่งบนขวา หน้าคู่ ใสห่ มายเลขหนา้ ต�ำแหนง่ บนซ้าย หน้าคู่ ใสห่ มายเลขหน้า ต�ำแหน่งบนซ้าย ขนาดตัวอกั ษร 14 ขนาดตัวอกั ษร 14 สว่ นปก ย่อ 1.00 ซม. ส่วนปก ยอ่ 1.00 ซม. สว่ นเนอ้ื หา ย่อ 1.00 ซม. สว่ นเน้อื หา ยอ่ 1.00 ซม. 8-12 หนา้ 8-12 หนา้ อยู่ต�ำแหนง่ กึ่งกลางของหัวกระดาษ หน้า อย่ตู ำ� แหน่งกึ่งกลางของหวั กระดาษ หน้า คู่ ขนาดตัวอกั ษร 14 (ตัวหนา เอยี ง) คู่ ขนาดตวั อักษร 14 (ตัวหนา เอยี ง) “วารสารวชิ าการและวิจยั มทร. “วารสารวชิ าการและวจิ ัย มทร. พระนคร ปีที่ x ฉบบั ที่ x...xxxx- พระนคร ปที ี่ x ฉบบั ท่ี x...xxxx- xxxx.,xxx” xxxx.,xxx” อย่ตู �ำแหน่งกง่ึ กลางของหัวกระดาษ หน้า อยูต่ �ำแหน่งกงึ่ กลางของหัวกระดาษ หนา้ คี่ ขนาดตัวอกั ษร 14 (ตวั หนา) ค่ี ขนาดตวั อักษร 14 (ตวั หนา) “RMUTP Research Journal, Vol. “RMUTP Research Journal, Vol. ...., No. ....,xxxx-xxxx.,xxx” ...., No. ....,xxxx-xxxx.,xxx”

รายการ บทความภาษาไทย บทความภาษาอังกฤษ การพมิ พ์สว่ นปก พิมพเ์ ตม็ หน้ากระดาษ (พิมพ์ 1 คอลัมน์ ) พมิ พเ์ ตม็ หนา้ กระดาษ (พมิ พ์ 1 คอลมั น์ ) การพิมพส์ ว่ นเนือ้ หา พมิ พ์ 2 คอลมั น์ แตล่ ะคอลัมนก์ ว้าง 7.1 พมิ พ์ 2 คอลัมน์ แต่ละคอลัมน์กวา้ ง 7.1 ซม. ระยะหา่ งระหว่างคอลัมน์ 0.8 ซม. ซม. ระยะห่างระหวา่ งคอลัมน์ 0.8 ซม. ชอื่ บทความ ทง้ั ชื่อภาษาไทยและภาษาองั กฤษพิมพ์ ช่ือภาษาอังกฤษ พมิ พด์ ว้ ย Times New ดว้ ย TH SarabanPSK ขนาด 22 ตัวตรง Roman ขนาด 16 ตัวตรงหนา จดั ชิด หนา จดั ชิดขอบซ้ายหนา้ กระดาษ ขอบซ้ายหนา้ กระดาษ ชื่อผูเ้ ขียน ท้งั ชอ่ื ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พมิ พ์ ชอื่ ภาษาองั กฤษ พิมพ์ด้วย Times New ด้วย TH SarabanPSK ขนาด 18 ตวั ตรง Roman ขนาด 12 ตวั ตรง ไม่หนา จัดชดิ ไม่หนา จัดชิดขอบซา้ ยหน้ากระดาษ ขอบซ้ายหนา้ กระดาษ ตวั เลขยกบนนามสกลุ ขนาดตัวอกั ษรเท่ากบั ช่อื และนามสกุล แต่ ขนาดตวั อักษรเทา่ กบั ชื่อและนามสกลุ ทำ� เปน็ ตวั ยก แตท่ �ำเป็นตวั ยก หนว่ ยงาน/สังกดั และ ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ พมิ พด์ ว้ ย พิมพด์ ว้ ย Times New Roman ทอ่ี ยู่ TH SarabanPSK ขนาดตัวอักษร 14 ขนาดตวั อกั ษร 11 ชื่อบทคัดย่อภาษาไทย พมิ พด์ ว้ ย TH SarabanPSK ขนาด 20 พิมพ์ด้วย Times New Roman ขนาด และภาษาอังกฤษ (ตวั ตรงหนา) จัดชดิ ขอบซ้ายหน้ากระดาษ 14 (ตัวตรงหนา) จดั ชดิ ขอบซา้ ยหน้า กระดาษ เนอื้ หาบทคัดย่อภาษา พมิ พ์ด้วย TH SarabanPSK ขนาดตัว พมิ พด์ ว้ ย Times New Roman ไทยและภาษาอังกฤษ อักษร 14 ขนาดตัวอักษร 12 ช่ือค�ำส�ำคัญ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ดว้ ย ภาษาองั กฤษ ดว้ ย Times New Ro- TH SarabanPSK ขนาด 14 (ตัวหนา) man ขนาด 12 (ตวั หนา) ค�ำสำ� คัญ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ขนาดตัว ดว้ ย Times New Roman ขนาด 12 อกั ษร 14 ตัวตรง บาง ใส่เคร่อื งหมาย ตวั ตรง บาง ใสเ่ ครอื่ งหมาย Semicolon Semicolon (;) ระหวา่ งคำ� (;) ระหว่างคำ� ชอ่ื ผู้นิพนธป์ ระสาน ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ด้วย TH ด้วย Times New Roman ขนาด 10 งาน หมายเลข SarabanPSK ขนาด 13 (ตวั เอียง หนา) (ตัวเอยี ง หนา) โทรศัพท์ และไปรษณีย์ อเิ ล็กทรอนิกส์

รายการ บทความภาษาไทย บทความภาษาองั กฤษ ชอ่ื หวั เรื่องใหญ่ พิมพ์ด้วย TH SarabanPSK ขนาด 18 พิมพ์ดว้ ย Times New Roman ขนาด (ตัวตรง หนา) จดั ชิดซา้ ย ประกอบดว้ ย 14 (ตัวตรง หนา) จดั ชดิ ซ้าย ประกอบ ชื่อหวั เร่อื งรอง 1.บทน�ำ 2.วิธกี ารทดลอง หรอื วิธกี าร ดว้ ย 1.Introduction 2. Research ชอื่ หัวเรอื่ งยอ่ ย ศึกษา 3. ผลการทดลองและวจิ ารณ์ Methodology 3. Results and Dis- เน้ือหาบทความ ผลหรือ ผลการศกึ ษาและอภิปรายผล cussion 4. Conclusion 5. Acknowl- ชื่อตาราง 4. สรปุ 5. กิตติกรรมประกาศ และ 6. edgement and 6. References ช่ือรูป เอกสารอา้ งอิง สมการ TH SarabanPSK ขนาด 16 Times New Roman ขนาด 12 (ตัวตรง หนา) จัดชิดซ้าย (ตวั ตรง หนา) จัดชิดซา้ ย คำ� อธิบายตัวแปรจาก TH SarabanPSK ขนาด 14 Times New Roman ขนาด 12 สมการ (ตวั ตรง หนา) จดั ชิดซ้าย (ตัวตรง หนา) จดั ชิดซ้าย TH SarabanPSK ขนาด 14 Times New Roman ขนาด 12 TH SarabanPSK 14 ตวั บาง แตเ่ ฉพาะ Times New Roman 12 ตัวบาง แต่ คำ� วา่ “ตารางที”่ ตอ้ งเปน็ ตวั หนา จัดชิด เฉพาะค�ำวา่ “Table 1” ตอ้ งเปน็ ตัว ขอบซา้ ย หนา จดั ชิดขอบซ้าย TH SarabanPSK 14 ตัวบาง แตเ่ ฉพาะ Times New Roman 12 ตัวบาง แต่ ค�ำวา่ “รปู ที่” ต้องเป็นตัวหนา จดั เฉพาะคำ� ว่า “Fig.1.” ตอ้ งเป็นตัวหนา กึ่งกลางคอลัมน์ จดั ก่ึงกลางคอลัมน์ ใชโ้ ปรแกรม MathType ด้วยรูปแบบ ใชโ้ ปรแกรม MathType ด้วยรปู แบบ อักษร Times New Roman ขนาด 12 อักษร Times New Roman ขนาด 12 สญั ลกั ษณห์ รอื ตัวแปรท่เี ขียนในสมการ สญั ลกั ษณห์ รือตวั แปรที่เขยี นในสมการ จะตอ้ งมีรปู แบบเดยี วกันกบั สญั ลกั ษณ์ จะต้องมีรูปแบบเดยี วกนั กบั สัญลักษณ์ หรือตัวแปรทีอ่ ยู่ในคำ� อธบิ ายหรอื ใน หรอื ตวั แปรท่ีอยใู่ นค�ำอธบิ ายหรอื ใน เนือ้ หา และใหจ้ ัดชิดขอบซา้ ยสดุ เสมอ เนอ้ื หา และใหจ้ ดั ชดิ ขอบซา้ ยสุดเสมอ ส่วนเลขบอกลำ� ดบั สมการ ใหเ้ ขียนล�ำดับ สว่ นเลขบอกล�ำดบั สมการ ให้เขยี นลำ� ดับ เลขใส่ในวงเล็บและจดั ชดิ ขวาสุด เลขใส่ในวงเล็บและจัดชดิ ขวาสดุ ใชโ้ ปรแกรม MathType ดว้ ยรปู แบบอกั ษร ใช้โปรแกรม MathType ด้วยรูปแบบ Times New Roman ขนาด 12 จดั ชดิ ขอบ อกั ษร Times New Roman ขนาด 12 ซ้ายสุด เครื่องหมาย “=” ของตัวแปรใน จดั ชิดขอบซ้ายสุด เครอื่ งหมาย “=” ของ แตล่ ะบรรทัดตอ้ งตรงกันในแนวดงิ่ ตัวแปรในแต่ละบรรทัดต้องตรงกันใน แนวดิง่

รายการ บทความภาษาไทย บทความภาษาอังกฤษ เนอ้ื หาในตาราง / TH SarabanPSK 12 ตัวบาง Times New Roman 10 ตวั บาง แผนภมู ิ การอา้ งองิ ในเนอื้ เรือ่ ง ใหด้ จู ากข้อท่ี 5. การอา้ งองิ ใหด้ ูจากขอ้ ท่ี 5. การอ้างอิง และการอา้ งองิ ท้าย เรอ่ื ง 4. การสง่ ตน้ ฉบบั บทความ การส่งต้นฉบบั บทความ ผเู้ ขียนสามารถส่งบทความออนไลน์ ได้ที่ https://ph02.tci-thaijo.org/index. php/RMUTP/index หรือสอบถามข้อมูลได้ที่ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร 399 ถนนสามเสน แขวงวชริ พยาบาล เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0 2665 3777 ตอ่ 6645 โทรสาร 0 2665 3860 5. จริยธรรม บทบาท และหน้าที่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร จดั ทำ� วารสารวชิ าการและวจิ ยั มทร.พระนคร สาขาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภายใต้หลักธรรมาภิบาลและเคร่งครัดในด้านจริยธรรม บทบาท และหน้าท่ีต่อสังคมอย่างแท้จริง มีการ แต่งต้ังกองบรรณาธิการภายในและภายนอกโดยผู้บริหารสูงสุดของมหาวิทยาลัย ก�ำหนดหน้าท่ีและความ รบั ผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งโปรง่ ใสและมคี วามเปน็ อสิ ระในการพฒั นาวารสารใหก้ า้ วหนา้ และ มคี ณุ ภาพ การจดั ทำ� วารสารเป็นการเชื่อมตอ่ บคุ คลหรือกลมุ่ บุคคล 3 ส่วน ประกอบดว้ ย 1) ผ้เู ขยี น 2) บรรณาธกิ าร และกองบรรณาธกิ ารวารสาร และ 3) ผทู้ รงคณุ วฒุ ปิ ระเมนิ บทความ ภายใตก้ ารตรวจสอบ คณุ ภาพวารสารโดยศนู ย์ ดัชนีการอ้างอิงวารวารไทย (TCI) ทั้งน้ีเพ่ือให้วารสารมีคุณภาพเป็นไปตามหลักสากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร จงึ ได้ก�ำหนดจริยธรรม บทบาท และหนา้ ทีข่ องผ้เู ขียน บรรณาธกิ าร และกองบรรณาธิการวารสาร และผทู้ รงคณุ วุฒิประเมนิ บทความ ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ 5.1 จรยิ ธรรม บทบาท และหนา้ ทขี่ องผู้เขยี น 5.1.1 บทความท่ผี ู้เขยี นยื่นเข้ามายงั วารสารวชิ าการและวจิ ัย มทร.พระนคร เพื่อใหพ้ จิ ารณานั้น จะตอ้ ง ไม่ไปยื่นต่อวารสารอื่นใดในคราวหรือเวลาเดียวกัน เว้นแต่ไม่ผ่านการพิจารณาและได้รับเอกสารยืนยันผล การพจิ ารณาจากกองบรรณาธิการแลว้ จึงจะสามารถดำ� เนนิ การย่ืนต่อวารสารอืน่ ใดได้ 5.1.2 ผู้เขียนต้องไม่ท�ำการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้เขียนอ่ืน และไม่ตีพิมพ์ซ�้ำผลงานของ ตนเอง (Self-Plagiarism) ไม่ลักลอกผลงานของตนเอง ส�ำหรับข้อมูลอ่ืนใดของผู้เขียนอื่นท่ีผู้เขียนน�ำมาใช้ ในบทความจะต้องทำ� การเขียนอา้ งอิงในส่วนของเนอ้ื หาและอา้ งองิ ส่วนทา้ ยใหถ้ ูกต้องตามหลกั วิชาการ 5.1.3 ผู้เขียนจะต้องน�ำเสนอผลลัพธ์ท่ีได้จากการทดลอง การวิเคราะห์ หรือการค�ำนวณอย่างตรงไป ตรงมา ไม่บิดเบือนข้อมูล (Fabrication or Misrepresentation) จากความเป็นจริงและไม่สร้างหลักฐานเท็จ เพื่อรองรบั ผลลพั ธข์ องตนเอง

5.1.4 ผู้เขียนจ�ำเป็นต้องกล่าวค�ำขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงานไว้ในกิตติกรรมประกาศ หากผู้เขียนได้รับ ทุนวจิ ยั ความอนุเคราะหด์ า้ นเคร่ืองมอื เครอ่ื งจักร อปุ กรณ์ หรือช่วยเหลือในด้านตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ไดม้ าซง่ึ ความส�ำเร็จ ของบทความฉบบั นนั้ ๆ 5.1.5 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ไม่อนุญาตให้เพ่ิมเติมบุคคลอื่นใดที่ไม่มีส่วนเก่ียวข้อง เข้ามามชี ือ่ อยูใ่ นบทความ เชน่ ไม่มสี ่วนร่วมในการทำ� วิจัย หรอื ไมม่ สี ว่ นรว่ มในการเขียนบทความน้ัน ๆ โดยผู้เขียน ทุกท่านท่ีมีชอื่ ในบทความจะต้องมสี ่วนรว่ มรับผิดชอบ 5.2 จรยิ ธรรม บทบาท และหนา้ ที่ของบรรณาธิการและกองบรรณาธกิ ารวารสาร 5.2.1 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร มีบทบาทและหน้าที่ ในการพจิ ารณาบทความเบื้องต้นก่อนรบั เขา้ ส่กู ระบวนการของวารสาร ประกอบด้วย การพิจารณาเนื้อหาบทความ กับกรอบของวารสาร การพจิ ารณารูปแบบการเขียนบทความ การพจิ ารณาความเข้มข้นของบทความ การลกั ลอก ผลงานทางวชิ าการ การเลอื กและกำ� หนดผทู้ รงคณุ วฒุ ปิ ระเมนิ บทความ และพจิ ารณาคณุ ภาพโดยรวมของบทความ ก่อนเข้าสกู่ ระบวนการประเมนิ บทความตอ่ ไป 5.2.2 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารต้องพิจาณาบทความเบื้องต้นบนพื้นฐานคุณธรรมและ จริยธรรม โดยไม่เอนเอียงหรือใช้ความรู้สึกส่วนตนพิจารณาบทความน้ัน ต้องไม่มีอคติต่อผู้เขียนหรือต่อหน่วยงาน ของผู้เขยี น 5.2.3 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารต้องก�ำหนดหรือเลือกผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความที่มี ความเช่ียวชาญตรงตามสาขาของบทความนั้น ๆ โดยผู้ทรงคุณวุฒิท่ีก�ำหนดนั้นจะต้องไม่มาจากหน่วยงานเดียวกัน กับผู้เขียน และผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความทุกท่านที่ประเมินบทความเดียวกันจะต้องไม่มาจากหน่วยงานเดียว กนั ดว้ ย ทัง้ นีเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั ผลประโยชนท์ ับซอ้ นท่ีอาจจะเกดิ ขนึ้ 5.2.4 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารต้องเก็บรักษาความลับเกี่ยวกับผู้เขียนและผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมนิ บทความ ไมใ่ หท้ ราบขอ้ มลู ซงึ่ กนั และกนั หมายความวา่ ผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ เ่ี ปน็ ผปู้ ระเมนิ บทความจะตอ้ งไมท่ ราบ ช่ือผู้เขียนและช่ือหน่วยงาน และผู้เขียนจะต้องไม่ทราบช่ือและหน่วยงานผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ (ประเภท ของ Peer Review เปน็ แบบ Double Blinded) เพอื่ ป้องกนั ปัญหาความขดั แย้งท่อี าจจะเกิดขึน้ ได้ 5.2.5 บรรณาธกิ ารและกองบรรณาธิการวารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ต้องไม่ตีพิมพ์บทความของตนเองลงในวารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ท่ีก�ำกับดูแลอยู่โดย ไม่มขี ้อยกเว้น 5.2.6 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารวิชาการและวจิ ยั มทร.พระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ตอ้ งไมม่ ผี ลประโยชน์ทับซ้อนใด ๆ อันไม่ชอบธรรมและผิดหลกั จริยธรรมกบั ผ้เู ขียน และกับผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ประเมินบทความ โดยต้องไม่มีการเรียกรับผลประโยชน์ใด ๆ ทั้งสน้ิ 5.2.7 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารต้องควบคุมและก�ำกับกระบวนการต่าง ๆ ของวารสาร อย่างตรงไปตรงมา ไม่เข้าข้างผู้เขียนใด หรือให้ความช่วยเหลือท่ีไม่ถูกต้อง ผิดหลักคุณธรรม จริยธรรม และขาดธรรมาภบิ าล 5.2.8 บรรณาธิการและกองบรรณาธิการวารสารวิชาการและวิจยั มทร.พระนคร สาขาวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มีหนา้ ท่ีตอ้ งให้ความรว่ มมือ ควบคุมและก�ำกับให้วารสารมคี วามถกู ต้องและมีคุณภาพเป็นไปตามทศ่ี ูนย์ ดัชนกี ารอา้ งอิงวารสารไทยกำ� หนดตามมาตรฐาน

ǰÝø÷ĉ íøøöǰïìïćìǰĒúąĀîšćìę×Ċ ĂÜñĎšìøÜÙèč üčçĉðøąđöîĉ ïìÙüćöǰ ǰñìšĎ øÜÙèč üçč ðĉ øąđöîĉ ïìÙüćööĀĊ îćš ìðęĊ øąđöîĉ ïìÙüćöĔîéćš îêćŠ ÜǰėǰêćöøðĎ ĒïïìüęĊ ćøÿćøüßĉ ćÖćø ĒúąüĉÝĆ÷ǰ öìøóøąîÙøǰ ÖĞćĀîééšü÷ÙüćöđךöךîĒúąĔĀš×šĂđÿîĂĒîąĀøČĂđĀêčñúđßĉÜüĉßćÖćøĂĆîđðŨîðøąē÷ßîŤ êĂŠ ñĎšđ×÷Ċ î ǰ ñĎšìøÜÙčèüčçĉðøąđöĉîïìÙüćöêšĂÜðøąđöĉîïìÙüćöìĊęĕéšøĆïöĂïĀöć÷ÝćÖïøøèćíĉÖćøĒúą ÖĂÜïøøèćíĉÖćøüćøÿćøüĉßćÖćøĒúąüĉÝĆ÷ǰ öìøóøąîÙøǰ ĔĀšĒúšüđÿøĘÝĔîߊüÜøą÷ąđüúćìęĊÖĞćĀîéǰ đóęČĂðøąē÷ßîŤ ÿÜĎ ÿčé×ĂÜñĎšđ×Ċ÷îïìÙüćö ǰñìšĎ øÜÙèč üçč ðĉ øąđöîĉ ïìÙüćöêĂš ÜóÝĉ ćøèćïìÙüćöìĕęĊ éøš ïĆ ÝćÖïøøèćíÖĉ ćøĀøĂČ ÖĂÜïøøèćíÖĉ ćø ëÜċ ǰÙüćöđßĊ÷ę üßćâ×ĂÜêîđĂÜÖïĆ đîČĚĂĀćĔîïìÙüćöǰĀćÖđĀĘîüćŠ ïìÙüćöìĕęĊ éøš ïĆ öĊđîĂĚČ ĀćĕöêŠ øÜêćöÙüćöđß÷Ċę üßćâ ìĊęĒìÝš øĉÜÝąêšĂÜĒÝšÜÖĂÜïøøèćíÖĉ ćøüćøÿćøĔĀšøĆïìøćïēé÷đøĘüĒúąðäĉđÿíÖćøðøąđöîĉ ǰñìšĎ øÜÙčèüčçĉðøąđöîĉ ïìÙüćöêšĂÜöĊĀúĆÖÝøĉ÷íøøöĔîÖćøðøąđöĉîïìÙüćöǰ ĕöđŠ ĂîđĂ÷Ċ ÜĀøĂČ öĂĊ Ùêĉ êŠĂǰ đîČĚĂĀćïìÙüćöǰ êšĂÜĕöŠĔßšÙüćöÙĉéđĀĘîÿŠüîêîìĊęĕöŠđðŨîĕðêćöĀúĆÖìùþãĊđßĉÜüĉßćÖćøǰ ðøćýÝćÖĀúĆÖåćî ìîęĊ ćŠ đßČĂę ëČĂĕéöš ćđðŨîđÖèæĔŤ îÖćøêéĆ ÿĉîïìÙüćöîîĆĚ ǰė ǰñĎšìøÜÙčèüčçĉðøąđöĉîïìÙüćöêšĂÜđÖĘïøĆÖþćÙüćöúĆïǰ éšü÷ÖćøĕöŠđðŗéđñ÷ךĂöĎúđîČĚĂĀćĔîïìÙüćö ×ĂÜǰñšđĎ ×Ċ÷îĒÖïŠ Ùč ÙúĂîČę ĔéĔîßüŠ Üøą÷ąđüúć×ĂÜÖćøðøąđöîĉ ïìÙüćöîĚĆî  ÖćøĂšćÜĂĉÜ ÖćøĂšćÜĂĉÜĔîïìÙüćöüĉÝĆ÷ĒúąïìÙüćöüßĉ ćÖćøÿćĞ ĀøĆïüćøÿćøüĉßćÖćøĒúąüĉÝ÷Ć ǰ öìøóøąîÙøǰ ÿć×ćüĉì÷ćýćÿêøŤ ĒúąđìÙēîēú÷ǰĊ ÖćĞ ĀîéÖćøĂšćÜĂĉÜĔĀđš ðŨîĕðêćöøĎðĒïïǰ*&&&ǰ Ăćš ÜĂĉÜÝćÖǰIUUQTXXXJFFFPSHEPDVNFOUTJFFFDJUBUJPOSFG QEGǰĀøČĂìǰęĊ IUUQXXXJFFFPSHEPDVNFOUTTUZMF@NBOVBMQEG ǰēé÷êĂš Üđ×÷Ċ îđðîŨ õćþćĂĆÜÖùþđìŠćîîĚĆ ǰĀćÖïìÙüćö ìĊęĂšćÜĂĉÜöćÝćÖïìÙüćöõćþćĕì÷ǰ êšĂÜĒðúđðîŨ õćþćĂÜĆ ÖùþĔĀšëÖĎ êšĂÜǰ ÿĞćĀøïĆ ÖćøĔÿĂŠ ćš ÜĂĉÜĔîđîĂČĚ đøČęĂÜǰ *OUFYUǰ DJUBUJPOT ǰĔĀĔš ßđš ÙøČĂę ÜĀöć÷ǰ<@>ǰēé÷öĊêüĆ Ă÷ćŠ ÜÖćøđ×÷Ċ îǰđߊîǰ <>ǰĀøĂČ ǰ<>ǰ ĀøČĂǰ<> ǰ<>ǰ ĀøČĂǰ<> ǰ<><> ǰหรือ [1]-[3] ĀøČĂǰǰ<> ǰ<> ǰ<> ǰ<> ǰĀćÖöÖĊ ćøĂćš ÜĂÜĉ àćĞĚ ïìÙüćöđéĉöĔĀĔš ßšĀöć÷đú×đéöĉ ĔîÖøèĊöÖĊ ćøĂćš ÜĂÜĉ ĔîđîĚĂČ Āćéšü÷ÖćøÖĞćĀîéßęĂČ ñĎĒš êŠÜïìÙüćöĔĀšđ×÷Ċ îêćöêĆüĂ÷ćŠ ÜǰéÜĆ îĊĚǰ,ǰ4ǰ,BSVLBOBOǰ <> ĀøČĂǰ-ǰ\"ǰ)PJǰBOEǰ4ǰ%ǰ8PPǰ<>ǰĀøĂČ ǰ1ǰ\"ǰ\"CBSXBMFǰFUǰBMǰ<> ĔîÿüŠ î×ĂÜÖćøĂćš ÜĂÜĉ ÿüŠ îìćš ÷ǰ 3FGFSFODFǰ-JTU ǰÝąêĂš Üđø÷Ċ ÜêćöúćĞ éïĆ ïìÙüćöìęđĊ ×Ċ÷îĂćš ÜĂĉÜĔîđîĚČĂđøęĂČ Üǰ àċęÜÝćĞ ĒîÖøðĎ ĒïïÖćøđ×÷Ċ îĂćš ÜĂĉÜÿüŠ îìšć÷ĕéšéĆÜêŠĂĕðîĚĊ  ÖćøĂšćÜĂĉÜÝćÖïìÙüćöĔîüćøÿćøǰ +PVSOBMǰ\"SUJDMFT øĎðĒïïǰ <>ǰ\"VUIPS ǰĶ5JUMFǰPGǰ\"SUJDMF ķǰTitle of Journal ǰ7PMVNF ǰ*TTVF ǰ1BHFTǰ:FBS êüĆ Ă÷ŠćÜ <> )ǰ-J ǰ;ǰ)VBOH ǰ-ǰ$IFOH ǰ4ǰ,POHǰBOEǰ4ǰ-JV ǰĶ4USVDUVSFǰBOEǰEJFMFDUSJDǰQSPQFSUJFTǰPGǰOPWFM MPXǰ UFNQFSBUVSFǰ DPųSFEǰ #J03&0.P0ǰ 3&1S ǰ /E ǰ 4N ǰ BOEǰ :C ǰ CBTFEǰ NJDSPXBWF DFSBNJDT ķǰCeramics International Journal ǰWPMǰ ǰOPǰ ǰQQǰı ǰ\"QSǰ

2) การอา้ งอิงจากการนำ� เสนอผลงานในการประชุมทางวชิ าการ (Conference Technical Articles) รูปแบบ: [1] Author, “Title of paper,” in Title of Conference, Conference date, Editor, Ed. Location: Publisher, Year, Pages. ตวั อยา่ ง: [2] T. Fedushchak, M. Uimin, S. Zhuravkov and A. Vosmerikov, “Nanopowder hydrogenation catalysts of diesel fraction components,” in Proceeding of 7th International Forum on Strategic Technology (IFOST), Tomsk Polytechnic University Tomsk, Russia, 2012, pp. 1–4. [3] W. Herz, M. Süßer, A. Ulbricht and F. Wüchner, “The operation experience with the dual cooling system of the polo coil (two phase-supercritical He),” in Proceedings of the Sixteenth International Cryogenic Engineering Conference/International Cryogenic Materials Conference, Germany, 1997, pp. 469–472. 3) การอ้างองิ จากหนังสอื (Books) รปู แบบ: [1] Author. Title of Book, Editor, ed. Location: Publisher, Year, Pages. ตัวอยา่ ง: [4] R. C. Hibbeler, Mechanics of Materials, 9th ed. Boston: Pearson, 2013. [5] R. M. Burton, B. Obel and G. DeSanctis, Organizational Design: A Step-by-Step Approach, 2nd ed. New York: Cambridge University Press, 2011. 4) การอ้างองิ จากบทในหนงั สอื รูปแบบ: [1] J. K. Author, “Title of chapter in the book,” in Title of His Published Book, xth ed. City of Publisher, Country if not USA: Abbrev. of Publisher, year, ch. x, sec. x, pp. xxx–xxx. ตัวอยา่ ง: [6] L. Stein, “Random patterns,” in Computers and You, J. S. Brake, Ed. New York: Wiley, 1994, pp. 55-70. [7] R. L. Myer, “Parametric oscillators and nonlinear materials,” in Nonlinear Optics, vol. 4, P. G. Harper and B. S. Wherret, 1st ed. San Francisco, CA: Academic, 1977, pp. 47-160. 5) การอา้ งองิ จากวิทยานิพนธ์ (Theses and Dissertations) รปู แบบ: [1] J. K. Author, “Title of dissertation,” Ph.D. dissertation, Abbrev. Dept., Abbrev. Univ., City of Univ., Abbrev. State, year. [2] J. K. Author, “Title of thesis,” M.S. thesis, Abbrev. Dept., Abbrev. Univ., City of Univ., Abbrev. State, year. ตัวอยา่ ง: