ผทู้ รงคณุ วฒุ ิพิชญพิจารณ์ ประจาวารสารวิชาการ มหาวิทยาลยั การกฬี าแห่งชาติ ศาสตราจารย์ ดร.สมบตั ิ กาญจนกจิ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศาสตราจารย์ ดร.ถนอมวงศ์ กฤษณเ์ พช็ ร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.เอมอชั ฌา วฒั นบรุ านนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ศาสตราจารย์ ดร.กัลยา กิจบญุ ชู นักวิชาการอสิ ระ ศาสตราจารย์ ดร.จนิ ตนา สรายุทธพทิ กั ษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.รัชนี ขวัญบุญจนั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริรัตน์ หริ ญั รตั น์ วิทยาลยั วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ เจา้ ฟ้าจุฬาภรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ประพฒั น์ ลกั ษณพิสุทธ์ิ นักวชิ าการอิสระ รองศาสตราจารย์ ดร.ธิรตา ภาสะวณิช มหาวิทยาลัยรามคาแหง รองศาสตราจารย์ ดร.ธาวุฒิ ปลม้ื สาราญ มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแหง่ ชาติ รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ิมล ตง้ั สจั พจน์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จติ ตนิ ันท์ บญุ สถริ กุล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วาสนา คณุ าอภิสิทธิ์ นกั วิชาการอิสระ รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทรา โตบวั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิชติ ฤทธ์จิ รูญ สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ รองศาสตราจารย์ ดร.ไพบูลย์ ศรชี ัยสวัสดิ์ นักวชิ าการอสิ ระ รองศาสตราจารยส์ ุนทร แม้นสงวน นักวชิ าการอสิ ระ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นิลมณี ศรีบุญ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร มหาวทิ ยาลัยบูรพา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรศิริ ปยิ ะพมิ ลสทิ ธ์ิ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สืบสาย บุญวีรบตุ ร วิทยาลยั วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ เจ้าฟา้ จุฬาภรณ์ ดร.เพ็ญพรรณ พิทักษ์สงคราม วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ดร.พชิ ติ เมืองนาโพธ์ิ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
กองบรรณาธกิ าร วารสารวชิ าการ มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ ปที ี่ 12 ฉบับท่ี 3 (กนั ยายน – ธนั วาคม 2563) Vol. 12 No. 3 (September - December, 2020) ทีป่ รกึ ษา อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ บรรณาธกิ าร ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ มานะ ภูห่ ลา กองบรรณาธกิ ารฝา่ ยจดั การ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์นิกร ยาพรม มหาวิทยาลัยการกฬี าแห่งชาติ นายปิติโชค จันทรห์ นองไทร มหาวิทยาลยั การกีฬาแห่งชาติ นางนิชานันท์ บาก้า มหาวิทยาลยั การกฬี าแห่งชาติ นางสาวชลธิชา บัวศรี มหาวิทยาลยั การกีฬาแห่งชาติ ผู้ทรงคุณวฒุ ิประจากองบรรณาธกิ าร รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลอง ชาตรูประชวี นิ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.นภพร ทัศนยั นา มหาวิทยาลยั บรู พา รองศาสตราจารย์ ดร.ไถ้ออน ชนิ ธเนศ นักวิชาการอิสระ รองศาสตราจารย์ ดร.ธริ ตา ภาสะวณชิ มหาวิทยาลัยรามคาแหง รองศาสตราจารยว์ ัฒนา สุทธิพนั ธุ์ มหาวทิ ยาลยั รตั นบัณฑติ รองศาสตราจารยส์ นุ ทร แม้นสงวน มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภชิ าติ ไตรแสง มหาวิทยาลยั แม่โจ้ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณฐพร อุตกฤษฏ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสิทธ์ิ เกยี นวฒั นา มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิช์ าย พทิ ักษว์ งศ์ มหาวทิ ยาลัยรัตนบณั ฑิต ดร.ผกามาศ ชัยรตั น์ มหาวิทยาลยั พะเยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศธร โฆสิตธรรม มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห่งชาติ ผชู้ ่วยศาสตราจารยจ์ ินตนา เทยี มทพิ ร มหาวิทยาลัยการกฬี าแห่งชาติ นายชุมพล กุลเขมานนท์ มหาวทิ ยาลยั การกีฬาแห่งชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมประภา อินต๊ะหล่อ มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแหง่ ชาติ
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลยั การกฬี าแห่งชาติ Academic Journal of Thailand National Sports University วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการและผลงานวิจัยทางการพลศึกษา การกีฬา การสร้างเสริมสุขภาพ วิทยาศาสตร์การกีฬา การบริหารจัดการกีฬา การประกอบธุรกิจการกีฬา การศึกษา และสาขาท่ีเกี่ยวข้อง ของ บุคลากรมหาวิทยาลัยการกฬี าแหง่ ชาติและหน่วยงานภายนอก 2. เพ่ือเป็นส่ือกลางการแลกเปลี่ยนและอ้างอิงผลงานวิชาการและผลงานวิจัยทางการพลศึกษา การกีฬา การสร้างเสริมสุขภาพ วิทยาศาสตร์การกีฬา การบริหารจัดการกีฬา การประกอบธุรกิจการกีฬา การศึกษา และ สาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 3. เพื่อสรา้ งเครอื ขา่ ยการเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการและวิจัย ระหวา่ งสถาบันกบั หนว่ ยงานภายนอก ทง้ั ภาครัฐ และเอกชน กาาหนดการพมิ พเ์ ผยแพร่ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลยั การกีฬาแห่งชาติ มกี าหนดออกปีละ 3 ฉบับ ดังนี้ ฉบบั ที่ 1 ประจาเดอื นมกราคม – เดอื นเมษายน ฉบับที่ 2 ประจาเดอื นพฤษภาคม – เดือนสิงหาคม ฉบับท่ี 3 ประจาเดือนกันยายน – เดือนธนั วาคม เจ้าของ มหาวิทยาลยั การกีฬาแห่งชาติ การรับบทความ วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ รับตีพิมพ์บทความต้นฉบับผลงานวิจัย และบทความ วิชาการภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในขอบข่ายทางการพลศึกษา การกีฬา การสร้างเสริมสุขภาพ วิทยาศาสตร์ การกีฬา การบริหารจัดการกีฬา การประกอบธุรกิจการกีฬา การศึกษา และสาขาท่ีเก่ียวข้อง ผู้เขียนที่ประสงค์จะ ส่งบทความลงตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ จะต้องสมัครและเสียค่าสมาชิกวารสารราย ปี จานวน 500 บาท และค่าดาเนินการพิชญพิจารณ์ จานวน 3,000 บาท โดยส่งบทความผ่านทางเว็บไซต์ วารสารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแห่งชาติ (https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal) สานกั งาน วารสารวิชาการ มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ กองสง่ เสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยการกฬี าแห่งชาติ 333 หมู่ 1 ถ.สขุ มุ วทิ ต.หนองไมแ้ ดง อ.เมือง จ.ชลบรุ ี 20000 โทรศัพท์ 038-054217 E-mail: [email protected] ลขิ สิทธ์ิ ต้นฉบับท่ีได้ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ถือเป็นลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัย การกีฬาแห่งชาติ และบทความในวารสารเป็นแนวคิดของเจ้าของบทความ มิใช่แนวคิดของกองบรรณธิการจัดทา วารสารฯ ซ่ึงหากมกี ารตรวจพบว่าบทความมกี ารกระทาอนั แสดงถึงการผดิ จรยิ ธรรมหรือจรรยาบรรณ ถือเปน็ ความ รบั ผิดชอบของเจา้ ของบทความ
สารบญั หน้า บทความวิจยั 1 ความแตกต่างของการจดั ลาดับโปรแกรมการฝึกดว้ ยการฟังดนตรีพ้นื บา้ นอีสาน จนิ ตภาพ และพูดกับตนเอง ตอ่ ความสามารถในการออกกาลงั กาย 13 23 ภูษณพาส สมนิล จักรนิ หงษ์คง ณฎั ฐ์ จุลบตุ ร 33 ปรชั ญา ศรสี ะอาด และ อนันต์ คาเพิ่มพูน 44 การวเิ คราะห์เกมการแข่งขันและความสามารถของนกั กีฬาเทควันโด 58 ในระดบั เยาวชน 72 รงั สฤษฏ์ จาเรญิ ปญั ญา อนิ ทเจริญ นาคนิ คาศรี และพรพจน์ ไชยนอก ชีวกลศาสตร์ของการยงิ ประตูระยะ 3 คะแนนในนกั บาสเกตบอลมืออาชีพ และมือสมคั รเล่น วิรฒุ เหลืองเพชรงาม วัชรี ฤทธวิ ัชร์ และพรเทพ ราชนาวี ปจั จยั ทม่ี ีผลต่อความภกั ดตี ่อองค์การของผู้ตัดสนิ ในสมาคมกฬี าวอลเลย์บอล แหง่ ประเทศไทย กฤษฎา ปาณะเสรี และพชั รมน รักษพลเดช การเปดิ รับส่ือ การรับรู้ ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ ของประชาชนไทย ประจาปี 2561 นิรันตา ศรบี ุญทพิ ย์ จักรกฤษณ์ พลราชม ประเวช ช่มุ เกษรกลู กิจ และอดุลย์ ฉายพงษ์ รปู แบบกลยทุ ธ์การตลาดเพ่ือการสรา้ งสรรค์สินคา้ ของทรี่ ะลึกสาหรับการท่องเที่ยวไทย ในมุมมองนักท่องเที่ยวต่างชาตอิ าเซียน ปัฐมาภรณ์ พงษ์ไพบูลย์ ชยั พล หอรุ่งเรอื ง และปรญิ ลกั ษติ ามาศ การศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพของคา่ ยมวยไทย ในการให้บริการ นักท่องเทยี่ วชาวต่างชาติ เขตภาคเหนอื ตอนบน กรัณย์ ปญั โญ
สารบัญ หนา้ การพัฒนาหลักสูตรรายวชิ าเพม่ิ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 84 (ภาษาอังกฤษ) ตามแนวการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL) สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 95 110 กัลยา จนั ทรพ์ ราหมณ์ 123 การพัฒนาวิธีการออกกาลังกายตามแนวคิดภมู ิปญั ญาไทยเพอื่ เสรมิ สรา้ ง 136 ความสามารถในการทรงตวั ของผสู้ ูงอายุ 150 คณนิ ประยรู เกียรติ และก้องสยาม ลบั ไพรี 160 รปู รา่ งนกั กีฬากาบดั ดช้ี นั้ นาของไทย เจนวิทย์ ดิษขนาน รายาศิต เตง็ กูสุลัยมาน และ ภานุ ศรีวิสุทธ์ิ การศึกษาแรงจูงใจทางการกีฬาของนักกฬี าทเ่ี ป็นตัวแทนสถาบนั การพลศึกษาในวิทยาเขตภาคใต้ทีเ่ ขา้ รว่ มการแข่งขนั กฬี า สถาบนั การพลศึกษาแหง่ ประเทศไทย ครั้งที่ 43 เจษฎา จนั ทรประดิษฐ์ ผลของการใชร้ ูปแบบการจัดกิจกรรมตามทฤษฎีการเรียนรู้เพือ่ การเปลีย่ นแปลง และทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดพฤติกรรมการด่ืมแอลกอฮอล์ ของนิสิตนักศึกษาระดบั ปริญญาบณั ฑติ ฉัตรพันธ์ ดุสิตกุล ร่งุ ระวี สมะวรรธนะ และเอมอชั ฌา วฒั นบรุ านนท์ การพัฒนารปู แบบการจัดการเรยี นรเู้ พศศึกษาโดยใชท้ ฤษฎีการเรียนรูเ้ น้น ประสบการณ์ และการเรยี นรู้แบบร่วมมอื เพ่ือสง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์ ในการสอนเพศศึกษาของนสิ ิตนกั ศึกษาครู พงศธร สุกิจญาณ รุ่งระวี สมะวรรธนะ และเอมอชั ฌา วัฒนบุรานนท์ การพฒั นาระบบการสอนแบบอิงประสบการณ์ภควันตภาพ เพ่ือสร้างเสรมิ สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช เพชร รองพล ทิพย์เกสร บญุ อาไพ และนคร ละลอกนา
สารบัญ หนา้ การพัฒนารปู แบบความรว่ มมือกบั สถานศึกษาต่างประเทศส่คู วามเป็นเลิศ 181 ทางการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสาธิต สังกัดมหาวทิ ยาลัยในประเทศไทย 193 204 ภทั ราวุธ รักกลิ่น อดุ ม รัตนอัมพรโสภณ และสถาพร พฤฑฒกิ ลุ 215 การพฒั นารปู แบบการจัดการการทอ่ งเทีย่ วเชงิ กีฬาจังหวดั เชียงราย: 227 กรณีศึกษากีฬาจักรยานและวิ่ง 242 ภาวินี ชมุ่ ใจ 253 ภาวะความวติ กกังวลตามสถานการณ์ของนักกีฬาโครงการพัฒนากีฬา เพื่อความเป็นเลศิ (Sports Hero) ภาค 5 ทเ่ี ขา้ รว่ มการแข่งขันกีฬา เยาวชนแหง่ ชาติ ครั้งที่ 34 จังหวดั นา่ น ภธู ิราธรณ์ หสั ดินทร์ยเรศ พีระพงศ์ บญุ ศริ ิ และศริ ิพร สตั ยานุรักษ์ การพฒั นารปู แบบการพฒั นาสมรรถนะการจดั การเรียนรู้ของครูโรงเรียน สังกดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ดว้ ยกระบวนการวจิ ยั ศึกษาบทเรียน มณฑลธน ไชยเสน พงศ์เทพ จิระโร และมนตรี แย้มกสกิ ร ความเช่ือมน่ั ในตนเองและความวติ กกังวลตามสถานการณ์ของนักกีฬา เซปักตะกร้อทีมชาติไทยทเ่ี ข้าร่วมในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครัง้ ท่ี 18 ณ ประเทศอนิ โดนเี ชีย มัสยา ดวงศรี และธิรตา ภาสะวณิช การสร้างเกณฑ์การประเมนิ ทักษะการวิ่งระยะส้นั สาหรบั นักศกึ ษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชุมพร วชั ระ ยกฉมิ รายาศติ เต็งกูสุลัยมาน และก้องเกียรติ เชยชม องค์ประกอบและการออกแบบสมรรถนะของผู้เล่นกีฬาแบดมนิ ตนั วันชยั กองพลพรหม และชัยรัตน์ ชสู กลุ
สารบัญ หนา้ ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ ความเปน็ ชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ของโรงเรยี น 267 สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 279 ศกลวรรณ สนิ ประเสรฐิ อดุ ม รัตนอัมพรโสภณ และสถาพร พฤฑฒิกุล 288 ผลของโปรแกรมการฝกึ สมรรถภาพทางกาย และเทคนิคการเสิรฟ์ ทีม่ ผี ลตอ่ คุณภาพ การเสริ ฟ์ เทนนสิ Yin Hang และจิราวัฒน์ ขจรศิลป์ การพัฒนารปู แบบการพฒั นาสมรรถนะการสร้างข้อสอบของครปู ระถมศึกษา โดยการบูรณาการกระบวนการนิเทศการศกึ ษารว่ มกับการวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร แบบมสี ่วนรว่ ม วาสนา เชอ่ื ลี พงศ์เทพ จิระโร และสมศกั ด์ิ ลลิ า
ความแตกตา่ งของการจัดลาดับโปรแกรมการฝึกดว้ ยการฟังดนตรพี ืน้ บา้ นอสี าน จนิ ตภาพ และพูดกับตนเอง ต่อความสามารถในการออกกาลังกาย ภษู ณพาส สมนิล จกั ริน หงษ์คง ณัฎฐ์ จุลบตุ ร ปรัชญา ศรสี ะอาด และ อนันต์ คาเพม่ิ พลู คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของการฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน การจินตภาพ และการผสมผสานทั้งสองโปรแกรมที่มีต่อความสามารถในการออกกาลังกาย 2) ศึกษาผลของ การฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน การพูดกับตนเอง และการผสมผสานท้ังสองโปรแกรมที่มีต่อความสามารถในการ ออกกาลังกาย 3) ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับความสามารถในการออกกาลังกายระหว่างกลุ่ม ตัวอย่าง โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นนักศึกษาชาย ระดับปริญญาตรี ที่มีสุขภาพดี อายุ ระหว่าง 18 – 22 ปี จานวน 48 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการวัดชีพจรขณะพัก และทาการทดสอบ ระยะเวลาในการออกกาลังกายทั้งก่อนและหลังเข้าโปรแกรม จากนั้นแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน โดยจัดลาดับโปรแกรมการฝึกท่ีต่างกัน ซึ่งเรียงลาดับจากโปรแกรมเริ่มต้นถึงโปรแกรมสุดท้าย ดังนี้ กลุ่มท่ี 1 จินตภาพ ฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน และผสมผสาน กลุ่มท่ี 2 ฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน ผสมผสาน และจินตภาพ กลุ่มท่ี 3 ผสมผสาน จินตภาพ และฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน กลุ่มที่ 4 พูดกับตนเอง ฟังดนตรี พื้นบ้านอีสาน และผสมผสาน กลุ่มที่ 5 ฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน ผสมผสาน และพูดกับตนเอง กลุ่มที่ 6 ผสมผสาน พูดกับตนเอง และฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน ฝึกกลุ่มตัวอย่างวันละ 1 คร้ัง จานวน 5 วันต่อสัปดาห์ เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ผลการวิจัยพบว่า เม่ือวิเคราะห์ข้อมูลและเปรียบเทียบภายในกลุ่ม มีเพียงค่าชีพจร ขณะพักของกลุ่มที่ 5 ที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ค่าระยะเวลาในการป่ันจักรยานวัดงาน ของกลมุ่ ท่ี 1 กลุ่มท่ี 4 และ กลุ่มที่ 6 มีความแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ และ เมื่อเปรียบเทียบข้อมูล ระหว่างกลุ่มพบว่า ค่าชีพจรขณะพักของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 6 กลุ่ม ก่อนการฝึกไม่มีความแตกต่างกัน และหลัง การฝึกไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ ค่าระยะเวลาในการปั่นจักรยานวดั งานของกลุ่มตวั อย่าง ท้ัง 6 กลุ่ม พบว่า ก่อนการฝึกไม่มีความแตกต่างกัน และหลังการฝึกมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ โดยสรุป การฝึกโปรแกรมผสมผสานมีผลทาให้ค่าระยะเวลาในการออกกาลังกายเพ่มิ ขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ลาดบั ที่แตกต่างกันของการฝกึ เปน็ ส่งิ ทส่ี าคัญ คาสาคญั : ลาดับการฝกึ การฟังดนตรีพ้ืนบ้านอสี าน การจินตภาพ การพูดกับตนเอง ความสามารถในการออก กาลงั กาย Corresponding Author: ดร.ภษู ณพาส สมนิล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี E-mail: [email protected]
THE DIFFERENCES OF THE TRAINING SEQUENCES WITH I-SAN FOLK MUSIC LISTENING, IMAGERY, AND SELF-TALK ON EXERCISE ABILITY Poosanapas Somnil, Jakkarin Hongkong, Nut Chulabutra, Prachya Srisaad and Anan Khampheimphul Faculty of Science, Udon Thani Rajabhat University Abstract The objectives of this research were to 1) determine the effects of I-san folk music listening, imagery and combination of both programs on exercise ability, 2) determine the effects of I-san folk music listening, self-talk and combination of both programs on exercise ability, and 3) compare the different levels of exercise ability among sample groups. The samples used in this study were 48 healthy male undergraduate students, aged between 18 - 22 years. Data were collected by testing resting heart rate and exercise before and after participating in training. The samples were divided into 6 groups, with a different sequence of intervention programs 8 samples per group. Group 1: imagery, I-san folk music listening, and combination. Group 2: I-san folk music listening, combination and imagery. Group 3: combination, imagery and I-san folk music listening. Group 4: self-talk, I-san folk music listening, and combination. Group 5: I-san folk music listening, combination and self-talk. Group 6: combination, self-talk and I-san folk music listening. Samples participated in the program once a day, 5 days a week, totally 6 weeks. Significant differences of resting heart rate were found in group 5 samples and significant differences of exercise duration were found in group 1, group 4, and group 6 samples. The length of time for cycling to measure the work of all 6 groups was not different. And after training, there was a statistically significant difference. In conclusion, the combination programs significantly increased the exercise duration, especially the different sequences of training. Keywords: Sequences of training, I-san folk music listening, Imagery, Self-talk, exercise ability Corresponding Author: Poosanapas Somnil, Ph.D., Faculty of Science, Udon Thani Rajabhat University E-mail: [email protected]
บทนา จากการศึกษางานวิจัยโดยการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบที่ระบุถึงผลของการฝึกเชิงปฏิบัติการ ทางจิตวิทยาการกีฬา ในปัจจุบัน พบว่า การฝึกทางจิตวิทยาการกีฬาท่ีมีรูปแบบเฉพาะนั้นมีอิทธิพลต่อความ ทนทาน ความหนัก และระยะเวลาของการแสดงความสามารถ (McCormick et al., 2015) ซ่ึงหน่ึงในกลยุทธ์ ท่ีใช้กันมากที่สุด คือ การจินตภาพ และการพูดกับตนเอง โดยการจินตภาพถือเป็นรูปแบบท่ีนิยมท่ีสุดของ เทคนิคการฝึก ทางจิตใจท่ีใช้ในโปรแกรมการฝึกทักษะทางจิตวิทยา (Psychological skill training) สาหรับ นักกีฬา อีกท้ังนักวิจัยยังสรุปว่าการจินตภาพเป็นเทคนิคการเพ่ิมประสิทธิภาพทางกีฬา (Gregg & Hall, 2006; Shearer et al., 2007) ซง่ึ สามารถนามาใชเ้ พื่อจัดการกับตัวแปรทางจิตวทิ ยา เช่น ความวิตกกังวล ความม่ันใจ และแรงจูงใจ (Morris et al., 2004) และในส่วนของการพูดด้วยตนเองนั้น แท้จริงแล้วสามารถสรุปได้ว่า กระบวนการพูดกับตนเองเป็นกลยุทธ์ท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย และมีประสิทธิภาพซ่ึงนามาใช้โดยนักกีฬา การ พูดกับตนเองได้รับการยืนยันในเชิงกีฬาและงานท่ีหลากหลายประกอบไปด้วย กีฬาบาสเกตบอล (Perkos et al., 2002) ฟุตบอล (Papaioannou et al., 2004) เทนนิส (Mamassis & Doganis, 2004) และการพูดกับ ตนเองยังพบว่า มีผลในเชิงบวกต่อประสิทธิภาพความอดทนในการออกกาลังกาย คือ การว่ิง ขี่จักรยาน และ วา่ ยน้า (Blanchfield et al., 2014; Hatzigeorgiadis et al., 2014; Latinjak et al., 2016; McCormick et al., 2018; Wallace et al., 2017) ความนิยมในการพูดกับตนเองดูเหมือนจะสนับสนุนความเชื่อที่ว่าสิ่งนี้ เก่ียวข้องกับการเล่นกีฬาและการออกกาลังกายอย่างแท้จริง โดยความแตกต่างบางประการระหว่างการศึกษา เกี่ยวกับการฝึกการพูดกับตนเองในบริบทความอดทนน้ันเป็นเรื่องที่น่าสนใจเน่ืองจากมีความยืดหยุ่นในการ ออกแบบ และการนาการพูดกับตนเองมาปรับใช้ในบริบทต่างๆ ในสองลักษณะคือ การพูดด้วยตนเองที่ถูก กาหนดไว้ล่วงหน้าโดยนักวิจัยหรือการพูดด้วยตนเองท่ีกาหนดโดยนักกีฬาเอง (Hardy, 2006) ตัวอย่างเช่น Hatzigeorgiadis et al. (2014) ให้นักว่ายน้าใช้คาพูดส้ันๆ พร้อมกับคาแนะนาเกี่ยวกับเวลา และวิธีการใช้ จากผู้วิจัย โดยการศึกษามุ่งไปยังกลไกท่ีมีประสิทธิภาพของการพูดด้วยตนเอง เช่น การพูดด้วยตนเองท่ีเป็น แรงจูงใจ และการใช้เพ่ือเป็นตัวชี้นาในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรม โดยพบว่าผู้เข้าร่วมนั้นใช้การพูดส้ันๆ ท่ี แตกตา่ งกัน (McCormick et al., 2018) ดนตรีถูกใช้กับการออกกาลังกายมานานหลายทศวรรษ ดนตรีมีบทบาทสาคัญยิ่งในการทาให้บุคคลมี ความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินมากข้ึนในขณะที่ออกกาลังกาย ในปัจจุบันโปรแกรมการออกกาลังกาย จานวนมากใชด้ นตรีเพอ่ื เพิม่ การตอบสนองทางกายภาพ และทางสรรี วทิ ยาของผู้เขา้ ร่วม ดนตรีมศี ักยภาพทจ่ี ะ ส่งผลกระทบต่อผู้คนในหลากหลายวิธี ซ่ึงสามารถเพิ่มพลังงานของกล้ามเนื้อ เพ่ิมพลังงานเชิงโมเลกุล เปลี่ยนแปลงเมแทบอลิซึมท่ีมีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจ ช่วยในการปลดปล่อยอารมณ์ บรรเทาความ เหน่ือยล้า การฟื้นตัวเร็ว การรักษาหลังจากการฝึก กระตุ้นการคิด ความไว และความคิดสร้างสรรค์ (Davin, 2005; Urakawa & Yokoyama, 2005) อย่างเช่น Hayakawa et al (2000) ได้ทาการประเมินผลกระทบ ของดนตรีพ้ืนบ้านด้ังเดิมของญี่ปุ่น และการใช้เพลงเต้นแอโรบิกแบบซิงโครนัสในหลายมิติของอารมณ์ระหว่าง การออกกาลงั กายเป็นเวลา 30 นาที พบวา่ เงื่อนไขทางดนตรีทัง้ สองนี้ช่วยลดความรู้สึกอ่อนล้าได้ ดนตรีสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในรูปแบบกิจกรรมต่างๆ ดนตรีสามารถดึงดูดความสนใจจาก ความรู้สึกอ่อนล้า (Karageorghis et al., 2006) อีกท้ังการศึกษายังบอกถึงประโยชน์ทางจิตวิทยา และสรีรวิทยา ที่สาคัญของดนตรีในระหว่างการออกกาลังกาย ดนตรีแสดงให้เห็นว่ามีประสิทธิภาพในการเพิ่มความอดทนท่ี เป็นแบบแอโรบิค และความทนทานต่อการออกกาลังกาย ตามผลกระทบของดนตรีต่อกลไกทางจิตสรีรวิทยา (Rad & Hafezi, 2013) ดนตรีสามารถปรับปรุงสภาพจิตใจของนักกีฬา และสร้างความคิดเชิงบวกก่อให้เกิด
แรงจูงใจของนักกีฬาและความต้านทานต่อความเหน่ือยล้าทางจิตใจซึ่งจะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ และการ เรียนรู้ทักษะ ดนตรีทาหน้าที่เป็นเครื่องมือช่วยในการปรับปรุงปัจจัยทางด้านจิตใจและเพ่ิมประสิทธิภาพการ ออกกาลังกายได้ (Rad & Hafezi, 2013) อีกทั้งดนตรีเป็นองค์ประกอบสาคัญของการเพ่ิมสภาวะทางอารมณ์ และช่วยให้การออกกาลังกายมีความสุขมากขึ้นและมีประโยชน์มากข้ึน (Davin, 2005; Tenenbaum et al., 2004) โดยดนตรียงั ช่วยในการจา และช่วยปิดก้ันความรู้สึกไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นในขณะออกกาลังกาย อีก ท้ังการออกกาลังกายที่มาพร้อมกับดนตรีในบางรูปแบบเป็นสิ่งท่ีดี ตัวอย่างเช่น การเพ่ิมเพลงลงในการออก กาลังกายถูกพบเพื่อลดความรู้สึกอ่อนล้าเมื่อออกกาลังกายแบบแอโรบิก และเพ่ือเพิ่มความรู้สึกของความ แข็งแรงเม่ือเทียบกับสภาพการควบคุมโดยไม่มีดนตรี (Hayakawa et al., 2000) การออกกาลังกายกับการฟัง เพลงสามารถส่งผลกระทบต่อสรีรวิทยาและในหลายๆ วิธที ่ีเป็นประโยชน์ตามที่ระบุโดย Madison et al (2013) ทป่ี ระเมนิ ผลกระทบทางรา่ งกาย และจติ ใจของการเข้าร่วมการฝึกซอ้ มดนตรี 11 สัปดาห์ ในกลุ่มผู้ใหญ่จานวน 146 คน มีการสร้างกลุ่มออกกาลังกาย 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มใช้รูปแบบของดนตรีท่ีแตกต่างกัน ผลลัพธ์แสดงให้ เห็นถึงประสิทธิภาพที่เพ่ิมขึ้นในการดูดซึมออกซิเจน และความยืดหยุ่น และความดันโลหิตท่ีลดลง ผู้ฝึกสอน การออกกาลังกายหลายคนพิจารณาว่าการเพิ่มดนตรีเพ่ือออกกาลังกายคล้ายกับเครื่องช่วย ทางการยศาสตร์ ดงั น้ัน หากไม่ใช้ดนตรหี รือการเลือกเพลงที่ไมเ่ หมาะสม ผฝู้ ึกสอนมักจะรู้สึกว่ามนั เปน็ ตัวบ่งช้โี ดยอัตโนมัติทันที ของช้ันเรียนท่ีไม่ประสบความสาเร็จ ดนตรีได้รับการกล่าวถึงเพ่ือปรับปรุงสภาพอารมณ์ เพ่ิมความเร้าอารมณ์ และช่วยให้ความรู้สึกอ่อนเพลียลดลง อีกท้ังมีการใช้มาตรการทางจิตสรีรวิทยา (Psycho-physiological) ที่ แตกต่างกันเพื่อกาหนดว่าดนตรีมีอิทธิพลหรือไม่ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ (HR) การจัดอันดับ Perceived exhaustion (RPE) ของ บอร์ก (Borg, 1982) แลคเตทในเลือด (Priest et al., 2004) ความดันโลหิต (BP) และแบบสอบถามกิจกรรมการออกกาลงั กาย (PAQ) แต่เดิมนั้นบทเพลงแห่งท้องถ่นิ ถูกสร้างขึ้นในสังคม และคนรุ่นต่อมาจะรับสืบเนื่องกระแสวัฒนธรรมนี้ มาตลอด เราเรียกบทเพลงแห่งท้องถน่ิ วา่ “เพลงพื้นบ้าน” (Folk song) เพลงพื้นบ้านเป็นวรรณกรรมมขุ ปาฐะ ท่สี ามารถถ่ายทอดปรชั ญาความนกึ คิดของชาวบา้ นหรือกลุ่มชนได้ใกลเ้ คียงกับความเป็นจรงิ เพลงพ้ืนบ้านเป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความเก่าแก่สืบทอดมาจากปากต่อปากกันเร่ือยมาหลายช่ัวอายุคน โดยอาศัยการจดจา ไม่มีต้นกาเนิดที่แน่ชัด ลักษณะเด่นของพื้นบ้านคือความเรียบง่ายและมีลักษณะเฉพาะของท้องถ่ิน ดังที่กล่าว มาทั้งหมด การศึกษาในปัจจุบันถึงเอกลักษณ์เฉพาะของเพลงพื้นบ้านและการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬาที่มีต่อ ความสามารถในการออกกาลังกายนั้นยงั มนี ้อย การศกึ ษานี้จึงเปน็ การนาเอาการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬามาใช้ ร่วมกบั การนาเอาดนตรพี ื้นบ้านอีสานซ่งึ มอี ิทธพิ ลต่อสภาวะของมนษุ ย์ทง้ั ทางร่างกาย และจิตใจโดยตรงเพอ่ื ทา ให้เกิดความสามารถในการออกกาลังกาย เช่นน้ีผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาผลของการฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน รว่ มกบั การฝกึ ทางจติ วิทยาการกฬี าท่ีมีต่อความสามารถในการออกกาลงั กายต่อไป วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาผลของการฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน การจินตภาพ และการผสมผสานท้ังสองโปรแกรมที่มี ตอ่ ความสามารถในการออกกาลงั กาย 2. เพอื่ ศึกษาผลของการฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน การพูดกบั ตนเอง และการผสมผสานทัง้ สองโปรแกรม ท่มี ตี อ่ ความสามารถในการออกกาลังกาย
3. เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับความสามารถในการออกกาลังกาย ระหว่างกลุ่มที่ ฝกึ โดยการฟังดนตรีพืน้ บ้านอีสาน การจินตภาพ และการผสมผสานท้งั สองโปรแกรม และกลุ่มท่ีฝึกโดยการฟัง ดนตรพี นื้ บา้ นอีสาน การพูดกบั ตนเอง และการผสมผสานท้ังสองโปรแกรม วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจยั เชิงทดลอง (Experimental research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักศึกษาชาย ระดับปริญญาตรี จากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อายุ ระหว่าง 18 – 22 ปี จานวน 48 คน โดยการสมุ่ กลมุ่ ตัวอยา่ งแบบหลายข้นั ตอน (Multistage random sampling) เกณฑก์ ารคดั เลือกกล่มุ ตวั อยา่ ง กลุ่มตวั อย่างมีร่างกายแข็งแรง สุขภาพปกติ ใช้ชวี ติ ปกติ เช่น การกินอาหาร การพักผ่อนการออกกาลังกาย และไม่มีโรคประจาตัว เช่น หอบหืด หรือ ภูมิแพ้ เป็นต้น ไม่มีปัญหาทางการได้ยิน อายุระหว่าง 18 – 22 ปี และมีความสมคั รใจในการเข้ารว่ มโครงการวิจัย เกณฑ์ในการคัดออกของผูเ้ ขา้ ร่วมวิจัย กลุ่มตัวอย่างไม่สามารถออกกาลังกายได้อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ และขาดการฝึกตามโปรแกรม เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการวิจัย เครอื่ งมือที่ใช้ในการวิจยั 1) เป็นแบบทดสอบระยะเวลาในการออกกาลังกาย 2) โปรแกรมการฝกึ การ เพิ่มสมรรถภาพในการออกกาลังกาย 6 โปรแกรม คือ โปรแกรมที่ 1 การฝึกด้วยโปรแกรมจินตภาพ ฟังดนตรี พื้นบ้านอีสาน และผสมผสาน ตามลาดับ โปรแกรมท่ี 2 ฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน ผสมผสาน และจินตภาพ โปรแกรมท่ี 3 ผสมผสาน จินตภาพ และฟังดนตรีพ้นื บ้านอีสาน โปรแกรมท่ี 4 พูดกับตนเอง ฟังดนตรีพ้ืนบ้าน อีสาน และผสมผสาน โปรแกรมท่ี 5 ฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน ผสมผสาน และพูดกับตนเอง และโปรแกรมท่ี 6 ผสมผสาน พูดกับตนเอง และฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน สถานท่ีและอุปกรณ์ในการฝึก เป็นห้องทดลองทาง วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกายที่กาหนดอุณหภูมิห้องทดลองไว้ที่ 25 องศาเซลเซียส ทุกครั้งเพ่ือ ไม่ให้อุณหภูมิมีผลต่อการทดลอง จักรยานวัดงาน (Bicycle ergometer) เคร่ืองเล่นเพลง จอทีวีขนาดใหญ่ คอมพวิ เตอรโ์ นต้ บ๊กุ ขน้ั ตอนการทดลอง / เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ระยะท่ี 1 กลุ่มตัวอย่างทาการวัดชีพจรขณะพัก และทาการทดสอบระยะเวลาในการออกกาลังกาย ก่อนเข้าโปรแกรมการฝึก โดยกระบวนการทดสอบตามข้ันตอนของแบบทดสอบใช้เวลาคนละประมาณ 10 นาที จากนั้นแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน โดยการจัดลาดับ กลุ่มท่ี 1 เร่ิมฝึกด้วย โปรแกรมจินตภาพ ฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน และผสมผสาน ตามลาดับ กลุ่มท่ี 2 ฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน ผสมผสาน และจินตภาพ กลุ่มที่ 3 ผสมผสาน จินตภาพ และฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน กลุ่มที่ 4 พูดกับตนเอง ฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน และผสมผสาน กลุ่มท่ี 5 ฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน ผสมผสาน และพูดกับตนเอง กลุ่มท่ี 6 ผสมผสาน พูดกับตนเอง และฟังดนตรีพื้นบา้ นอีสาน ตามลาดบั โปรแกรมการทดสอบ ผู้วิจัยใช้วิธีการวัดความสามารถในการออกกาลังกายตามหลักการทดสอบ ความสามารถในการออกกาลังกายแบบก้าวหน้า (Progressive exercise test) (Onnom, 2014) ซึ่งสามารถ ทาได้โดยการกาหนดให้ออกกาลังกายและปรับความหนักเพ่ิมขึ้นเรอ่ื ยๆ จนถึงระดับที่ร่างกายหมดแรง หรอื ไม่ สามารถรกั ษารอบของการปัน่ (จานวน 50 รอบตอ่ นาท)ี การวัดความสามารถในการออกกาลงั กายลกั ษณะ
เช่นนี้จะสามารถประเมินความอดทนต่อความเม่ือยล้าในการทางานของร่างกายได้ และผู้วิจัยช้ีแจง และอธบิ ายขั้นตอนการทาการทดสอบให้กลมุ่ ตวั อย่างฟังและทาความเข้าใจ หลังจากน้นั จึงดาเนินตามข้ันตอน ตอ่ ไปนี้ 1) ทุกครั้งก่อนการทดสอบจะเริ่มจากการสอบถามเก่ยี วกบั สขุ ภาพ และตรวจสุขภาพเบื้องต้นก่อนการ ทดลอง เช่น วัดความดัน วัดอัตราการเต้นของหัวใจขณะพัก เป็นต้น 2) เริ่มปั่นจักรยานวัดงาน ด้วยการปรับ ระดับท่ีนง่ั บนจกั รยานวดั งานให้ได้ระดับเหมาะสมกบั ผู้รับการทดสอบ อบอุ่นรา่ งกายโดยทดลองปนั่ จักรยานวัด งานเพื่อปรับระดับรอบก่อนที่จะเร่ิมการทดสอบ และเริ่มป่ันจักรยานวัดงานที่น้าหนัก 50 วัตต์ และเพิ่มความ หนักคร้ังละ 1.0 กิโลปอนด์ ทุกๆ 1 นาที จนกระท่ังผู้เข้ารับการทดลองไม่สามารถรักษารอบได้ หยุดเวลาเม่ือ กลุ่มตัวอย่างไม่สามารถรักษารอบได้ พร้อมกับบันทึกเวลาในป่ันจักรยาน เม่ือกลุ่มตัวอย่างไม่สามารถรักษา รอบของการป่ันจักรยานวดั งานได้ ระยะที่ 2 กลุ่มตัวอย่างทุกคนเข้าสู่กระบวนการฝึกด้วยโปรแกรมแรกของตนเอง โดยผู้วิจัยอธิบาย วิธกี าร และข้ันตอนในการฝึกแตล่ ะโปรแกรม รายละเอยี ดดงั นี้ วิธีการฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน คือ น่ังหลังพิงเก้าอี้ในลักษณะเอนหลังเล็กน้อยในสถานท่ีมีความสงบ เงียบ หลับตาเบาๆ มือท้ังสองข้างวางไว้บริเวณต้นขา ทาตัวสบายๆ โดยให้มีความรู้สึกรับรู้ และได้ยิน เสียงดนตรีตลอดเวลา กลุ่มตัวอย่างสามารถเลือกฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสานที่ตนเองชอบจากรายช่ือเพลงดนตรี พ้ืนบ้านอีสาน 5 อันดับ จากที่เป็นดนตรีพ้ืนบ้านอีสานทั้งหมด 13 เพลง ดังนี้ เต้ยพม่า เต้ยโขง เต้ยธรรมดา ลาภูไท นกไซบินข้ามทุ่ง แมงภู่ตอมดอก เซิ้งทานา ข้าวต้องลม ลมพัดพร้าว สาวคอยอ้าย แพรวากาฬสินธุ์ บายศรี (ของเก่า) และลายลาเพลนิ ทีผ่ ่านการตรวจสอบคุณภาพของดนตรวี า่ มคี ุณสมบัติตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความชานาญด้านดนตรีและมีประสบการณ์ในการสอนทางสาขาดนตรี เรียงลาดับจาก คะแนนในการเลอื กในกลุ่มตัวอย่าง ทาการฝกึ 2 สปั ดาห์ วิธีการจนิ ตภาพ คือ ผ้วู จิ ัยจะใหก้ ล่มุ ตัวอย่างผ่อนคลายก่อนการฝึกดว้ ยโปรแกรมจินตภาพ นงั่ หลังพิง เก้าอ้ีในลักษณะเอนหลังเล็กน้อยในสถานที่ที่มีความสงบเงียบ หลับตาเบาๆ มือทั้งสองข้างวางไว้บริเวณต้นขา ทาตัวสบายๆ และฝึกให้กลุ่มตัวอย่างคิดและนึกภาพตามโปรแกรม ตัวอย่างเช่น การจินตภาพถึง สภาพแวดลอ้ มท่ผี อ่ นคลาย โดยใชป้ ระสาทรบั ความรู้สึกทัง้ 5 อย่าง ทาการฝึก 2 สัปดาห์ วิธีการพูดกับตนเอง คือ ผู้วิจัยจะให้กลุ่มตัวอย่างผ่อนคลายก่อนการฝึกด้วยโปรแกรมการพูดกับ ตนเอง น่ังหลังพิงเก้าอ้ีในลักษณะเอนหลังเล็กน้อยในสถานท่ีมีความสงบเงียบ หลับตาเบาๆ มือทั้งสองข้าง วางไว้บริเวณต้นขา ทาตัวสบายๆ และฝึกให้กลุ่มตัวอย่างพูดกับตนเองโดยใช้ชุดคาพูดท่ีให้ไป ตัวอย่างเช่น ชดุ คาพูดสน้ั ๆ ทใ่ี ห้กาลงั ใจ ทุกกลุ่มตัวอยา่ งจะไดฝ้ กึ เหมอื นกัน ทาการฝกึ 2 สปั ดาห์ วิธกี ารแบบผสมผสาน (การฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสานและการจนิ ตภาพ) โดยผ้วู จิ ัยจะใหก้ ลุม่ ตัวอย่าง จนิ ตภาพตามโปรแกรมก่อน หลังจากน้นั ผ้วู ิจัยจะให้กลมุ่ ตัวอยา่ งเลอื กดนตรีพ้นื บ้านอีสาน 5 อนั ดับ ตามความ สนใจ และจะเปดิ ดนตรีพืน้ บ้านอสี าน 5 อนั ดับ ใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งฟังควบคกู่ บั ให้จนิ ตภาพไปดว้ ย ทาการฝกึ 2 สปั ดาห์ วิธีการแบบผสมผสาน (การฟังดนตรีพื้นบ้านอีสานและการพูดกับตนเอง) โดยผู้วิจัยจะให้กลุ่มตัวอย่าง พูดกับตนเองตามโปรแกรมก่อน หลังจากน้ันผู้วิจัยจะให้กลุ่มตัวอย่างเลือกดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน 5 อันดับ ตาม ความสนใจและจะเปิดดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน 5 อันดับ ให้กลุ่มตัวอย่างฟังควบคู่กับให้พูดกับตนเองไปด้วย ทา การฝึก 2 สปั ดาห์
(กลุ่มตัวอย่างฝึกปฏบิ ัติตามโปรแกรม วันละ 1 คร้งั จานวน 5 วัน/สัปดาห์ เปน็ เวลา 2 สปั ดาห)์ ระยะที่ 3 กลมุ่ ตัวอยา่ งทกุ คนเขา้ ส่กู ระบวนการฝกึ ด้วยโปรแกรมทสี่ อง ของตนเอง (2 สปั ดาห์) ระยะท่ี 4 กล่มุ ตวั อย่างทกุ คนเขา้ ส่กู ระบวนการฝึกด้วยโปรแกรมท่สี าม ของตนเอง (2 สปั ดาห์) ระยะท่ี 5 ทาการทดสอบความสามารถในการออกกาลงั กายหลังการฝึกด้วยโปรแกรมทีส่ ามของแตล่ ะ บุคคล (ระยะเวลาในการทาการวจิ ัยท้ังหมด คอื 6 สัปดาห์) การวิเคราะหข์ อ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ Nonparametric test, Kruskal-Wallis test และ Wilcoxon Signed Ranks tests แสดงขอ้ มลู พ้นื ฐานดว้ ยคา่ เฉล่ีย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย ข้อมลู ท่ัวไป จากตารางที่ 1 แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของ น้าหนัก ส่วนสูง และค่าของดัชนี มวลกายของกลุ่มตัวอย่าง และจากตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของชีพจรขณะพัก ก่อนและหลังการฝกึ และระยะเวลาในการปัน่ จักรยานวดั งานก่อนและหลังการฝึก ของกล่มุ ตัวอยา่ งทง้ั 6 กลุ่ม ไดด้ งั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ น้าหนัก ส่วนสูง และค่าของดัชนีมวลกายของกลุ่ม ตัวอย่าง กลุม่ ตวั อยา่ ง นา้ หนกั (กก.) สว่ นสงู (ซม.) ดรรชนมี วลกาย (BMI) ���̅���, S.D. ���̅���, S.D. ���̅���, S.D. กลุ่มที่ 1 63.29, 8.98 172.71, 7.06 21.17, 2.34 กล่มุ ท่ี 2 74.43, 28.06 172.57, 4.47 24.90, 8.80 กลุ่มท่ี 3 64.43, 3.95 171.14, 2.73 22.03, 1.73 กลุ่มที่ 4 59.71, 3.73 172.43, 6.29 20.12, 1.33 กลุ่มท่ี 5 63.29, 8.81 170.00, 4.58 21.68, 2.18 กลมุ่ ที่ 6 65.17, 7.73 171.67, 6.86 22.11, 1.73 ตารางที่ 2 แสดงคา่ เฉลี่ยและส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของชีพจรขณะพักก่อนและหลงั การฝึก และระยะเวลาใน การป่นั จกั รยานวดั งานกอ่ นและหลงั การฝกึ ของกลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอยา่ ง ชีพจรขณะพกั ชีพจรขณะพัก ระยะเวลาในการป่ัน ระยะเวลาในการปน่ั (ครง้ั /นาท)ี (คร้ัง/นาท)ี จักรยานวัดงาน จักรยานวัดงาน กล่มุ ท่ี 1 (กอ่ นการฝกึ ) (หลงั การฝกึ ) (นาท)ี (นาที) กลุม่ ท่ี 2 (ก่อนการฝึก) (หลงั การฝึก) กลุ่มท่ี 3 ���̅���, S.D. ���̅���, S.D. กล่มุ ท่ี 4 78.00, 6.56 74.71, 3.35 ���̅���, S.D. ���̅���, S.D. กลุ่มที่ 5 72.43, 8.12 77.29, 3.68 8.04, 1.08**a กลมุ่ ที่ 6 75.57, 8.28 78.57, 5.26 7.35, 1.41 8.02, 0.27a 79.00, 8.23 72.43, 5.68 7.56, 0.89 7.95, 0.45a 82.29, 5.62 73.71, 4.99* 7.71, 0.88 9.07, 1.24**a 76.83, 7.83 69.83, 9.39 7.86, 0.97 8.71, 0.98a 7.95, 0.92 9.83, 1.55**a 8.05, 0.86 * คือค่าเฉล่ียมีความแตกต่างกันภายในกลุ่ม ก่อนการฝึกสูงกว่าภายหลังการฝึก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, ** คือค่าเฉล่ียมีความ แตกต่างกนั ภายในกลุ่ม ก่อนการฝึกต่ากว่าภายหลังการฝกึ อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ 0.05, a คือคา่ เฉลี่ยของระยะเวลาในการปนั่ จักรยาน วดั งานของกลุม่ ตัวอย่างทง้ั 6 กลุ่ม หลังการฝกึ มคี วามแตกต่างกันท่ีระดับนยั สาคัญ 0.05
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู และเปรยี บเทียบภายในกลุม่ ผลการทดสอบค่าชีพจรขณะพักของกลุ่มตัวอย่าง ในระยะก่อนการฝึกและหลังการฝึก โดยใช้สถิติ Wilcoxon Signed Ranks tests พบว่า มีเพียงกลุ่มท่ี 5 ท่ีมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05 โดยกลุ่มตัวอยา่ งมีคา่ ชีพจรขณะพักต่ากว่าก่อนการฝึก และกลมุ่ ที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 และ กลุ่มท่ี 6 ไม่มีความแตกต่างกัน ผลการทดสอบค่าระยะเวลาในการปั่นจักรยานวัดงานของกลุ่มตัวอย่าง ในระยะก่อนการฝึกและหลังการฝึก โดยใช้สถิติ Wilcoxon Signed Ranks tests พบว่า กลุ่มท่ี 1 กลุ่มท่ี 4 และ กลุ่มท่ี 6 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นั่นคือหลังการฝึกตามโปรแกรม 6 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างมีระยะเวลาในการปั่นจักรยานวัดงานสูงกว่าก่อนการฝึก และกลุ่มท่ี 2 กลุ่มที่ 3 และ กลุ่มท่ี 5 ไมม่ ีความแตกต่างกัน ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลและเปรยี บเทียบระหวา่ งกลุม่ ผลการทดสอบคา่ ชีพจรขณะพักของกลุ่มตัวอย่างท้ัง 6 กลุ่ม ในระยะก่อนการฝึกและหลังการฝึก โดย ใช้สถิติ Kruskal-Wallis test พบว่า ก่อนการฝึกไม่มีความแตกต่างกัน และหลังการฝึกไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ผลการทดสอบค่าระยะเวลาในการป่ันจักรยานวัดงานของกลุ่มตัวอย่าง ท้งั 6 กลุ่ม ในระยะก่อนการฝกึ และหลงั การฝกึ โดยใช้สถิติ Kruskal-Wallis test พบว่า ก่อนการฝกึ ไม่มีความ แตกต่างกัน และหลงั การฝึกมคี วามแตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.05 อภิปรายผลการวิจยั จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบภายในกลุ่ม ค่าเฉลี่ยชีพจรขณะพักของกลุ่มตัวอย่าง ในระยะ ก่อนการฝึกและหลังการฝึกพบว่า กลุ่มตัวอย่างแทบทุกกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ มีเพียง กลุ่มที่ 5 (เร่ิมฝึกด้วยโปรแกรมฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน ผสมผสาน และการพูดกับตนเอง ตามลาดับ) ท่ีมีความ แตกต่างกนั (ภาพท่ี 1) ค่าเฉล่ียระยะเวลาในการปัน่ จักรยานวัดงานของกลุ่มตัวอย่าง ในระยะกอ่ นการฝึก และ หลังการฝึก พบว่า ลาดับของการจัดโปรแกรมการฝึกส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของความสามารถในการป่ัน จักรยานวัดงานท่ีแตกต่างกัน กล่าวคือ กลุ่มที่ 1 เร่ิมฝึกด้วยโปรแกรมจินตภาพ ฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน และ ผสมผสาน ตามลาดับ กลุ่มที่ 4 เรมิ่ ฝึกด้วยโปรแกรมการพูดกับตนเอง ฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน และผสมผสาน ตามลาดับ และกลุ่มท่ี 6 เร่ิมฝึกด้วยโปรแกรมผสมผสาน การพูดกับตนเอง และฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสาน ตามลาดับ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ น่ันคือหลังการฝึกตามโปรแกรม 6 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 กลุ่มนี้มี ระยะเวลาในการปั่นจักรยานวัดงานสูงกว่าก่อนการฝึก (ภาพที่ 2) แต่ท้ังนี้ส่ิงท่นี ่าสงั เกต คือ กลมุ่ ตัวอย่างที่ฝึก ด้วยโปรแกรมการพูดกับตนเองร่วมกับการฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสานน้ันส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงมากกว่าการ จินตภาพที่มีเพียงการเร่ิมฝึกด้วยโปรแกรมจินตภาพ ฟังดนตรพี ้ืนบ้านอีสาน และผสมผสาน ตามลาดับเท่าน้ัน ที่ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงภายหลังการฝึก จากความสามารถในการออกกาลังกายท่ีเพ่ิมข้ึนดังกล่าวอาจเป็น เพราะผลสืบเนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างได้เร่ิมและผ่านกระบวนการฝึกทางจิตวิทยาในสัปดาห์แรกๆ ได้ฝึกการ ควบคุมอารมณ์ ควบคุมตนเองให้อยู่กับปัจจุบัน จิตใจ และร่างกายเกิดความผ่อนคลาย จึงส่งผลให้เกิดความ พรอ้ มทางดา้ นจติ ใจ ซึ่งมีความสอดคล้องกบั การศกึ ษาก่อนหน้านี้และแสดงให้เหน็ ว่า การพูดกับตนเองและการ จินตภาพเปน็ ส่ิงทม่ี ีความสาคญั ที่ซ่ึงการจนิ ตภาพเป็นเทคนิคการเพ่ิมประสิทธภิ าพทางกีฬา (Gregg & Hall, 2006; Shearer et al., 2007) ที่สามารถนามาใช้เพ่ือจัดการกับตัวแปรทางจิตวิทยา (Morris et al., 2004) อีกท้ัง การพูดกับตนเองยังมีผลในเชิงบวกเช่นกัน ดังที่พบในงานวิจัยก่อนหน้าน้ีที่ศึกษาผลต่อประสิทธิภาพความ อดทนในการออกกาลังกาย คือ การวิ่ง ขี่จักรยาน และว่ายน้า (Blanchfield et al., 2014; Hatzigeorgiadis et
al., 2014; Latinjak et al., 2016; McCormick et al., 2018; Wallace et al., 2017) และเม่ื อผสมผสาน โปรแกรมระหว่างเพลงและการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬา พบว่า มีผลกระทบต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการออก กาลังกายในแง่ของการชะลอความเม่ือยล้าและเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานท่ีเก่ียวข้องกับความทนทาน (Karageorghis, 2017; Thakur & Yardi, 2013) ดังนั้นเพลงและการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬาสามารถใช้เป็น เหมือนยาตามกฎหมายที่ช่วยเพ่ิมผลิตผลการทางานดังกล่าว สอดคล้องกับ Karageorghis (2017) ท่ีกล่าวว่า ในการทางานประจาวันกับนักกีฬามักใช้ดนตรีเพ่ือควบคุมการฝึกซ้อม ผลที่ได้คือ การเพิ่มแรงจูงใจโดยเฉพาะ อย่างย่ิงถ้าอนุญาตให้นักกีฬามีส่วนร่วมในการเลือกเพลง สิ่งที่พบคือเกิดความสนุกมากขึ้น และมีการศึกษาท่ี สอดคล้องที่แสดงให้เห็นว่าเพลงสามารถมีอิทธิพลต่อความรู้สึกของผู้คนในการออกกาลังกายหรือการฝึกฝน แม้กระทัง่ เมอ่ื งานใกล้กบั ความเหนื่อยล้า นอกจากน้ันอทิ ธิพลของดนตรียังมสี ่วนในการลดความเครยี ดและการ ลดการทางานของระบบประสาทพาราซมิ พาเธติก ก่อนการฝกึ หลังการฝกึ 82.29 73.71 78 74.71 72.43 77.29 75.57 78.57 79 72.43 76.83 69.83 กลมุ่ ท่ี 1 กลุ่มท่ี 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มท่ี 4 กลุม่ ที่ 5 กลุม่ ท่ี 6 ภาพที่ 1 แสดงคา่ เฉล่ยี ของชีพจรขณะพัก ก่อนการฝึก และหลงั การฝึกสปั ดาห์ท่ี 6 ของกลมุ่ ตวั อย่าง กอ่ นการฝึก หลังการฝกึ 7.35 8.04 7.56 8.02 7.71 7.95 7.86 9.07 7.95 8.71 8.05 9.83 กลมุ่ ที่ 1 กลุ่มที่ 2 กล่มุ ท่ี 3 กล่มุ ท่ี 4 กลุ่มที่ 5 กลมุ่ ที่ 6 ภาพที่ 2 แสดงคา่ เฉลยี่ ของระยะเวลาของการปั่นจกั รยานวดั งาน กอ่ นการฝกึ และหลงั การฝึก สัปดาห์ท่ี 6 ของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ค่าเฉลี่ยชีพจรขณะพักของกลุ่มตัวอย่างท้ัง 6 กลุ่ม ในระยะก่อนการฝึก และหลังการฝึก พบว่า ก่อนการฝึกไม่มีความแตกต่างกัน และหลังการฝึกไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาในการปั่นจักรยานวดั งานของกลุ่มตัวอย่างทัง้ 6 กลุ่ม ใน ระยะก่อนการฝึก และหลงั การฝกึ พบว่า ก่อนการฝึกไม่มีความแตกตา่ งกัน และหลังการฝกึ มีความแตกตา่ งกัน อย่างมีนัยสาคัญ ข้อค้นพบนี้แสดงให้เห็นว่า ลาดับที่แตกต่างกันของการฝึกส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของ ความสามารถในการป่นั จักรยานวดั งานท่ีแตกต่างกัน กลา่ วโดยสรุปคอื เอกลักษณข์ องเพลงพืน้ บ้านเม่ือนามาใช้ ร่วมกับการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬาโดยเฉพาะการฝึกการพูดกับตนเองจะช่วยเพ่ิมความสามารถในการ ออกกาลังกายเป็นเพราะเพลงส่วนมากจะเน้นการละเล่นประกอบดนตรีที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทางดนตรีใน ลักษณะเฉพาะและมีเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ซ่ึงเป็นการรับรู้ของบุคคลในท้องถ่ินนั้นๆ และส่ิงท่ีสาคัญมากก็คือ การจดั ลาดับของโปรแกรมการฝกึ สง่ ผลต่อความแตกตา่ งของความสามารถในการออกกาลงั กาย ขอ้ คน้ พบน้ีจึง
สามารถสรุปได้ว่าควรเริ่มด้วยโปรแกรมการฝึกทางจิตวิทยาการกฬี าก่อน และตามด้วยการฟังดนตรีจะส่งผลดี ต่อความพรอ้ มทางดา้ นจติ ใจมากกว่า ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า การฟังดนตรีพ้ืนบ้านอีสานร่วมกับการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬาส่งผลต่อ การเพ่ิมความสามารถในการออกกาลังกาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงลาดับท่ีแตกต่างกันของโปรแกรมการฝึกเป็น ส่ิงที่สาคัญย่ิง กล่าวคือเม่ือเริ่มด้วยโปรแกรมการฝึกทางจิตวิทยาการกีฬา (การฝึกการพูดกับตนเองและการ จินตภาพ) ให้สัปดาห์แรกๆ ก่อนการฟังดนตรีพื้นบ้านอีสาน สิ่งนี้เป็นหลักฐานที่สาคัญทางบวกต่อการ เปล่ียนแปลงของระยะเวลาในการออกกาลังกายท่ีเพิ่มขึ้น การศึกษาวิจัยแบบผสมผสานซ่ึงประกอบด้วย ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอาจช่วยให้เข้าใจถึงขอบเขต เอกลักษณ์เฉพาะท่ีเพลงพ้ืนบ้านและการฝึกทาง จิตวิทยาการกีฬาจะช่วยเพิ่มความสามารถในการออกกาลังกาย การศึกษาในอนาคตอาจให้ความสาคัญกับ เรอื่ งนมี้ ากข้ึน References Blanchfield, A. W., Hardy, J., De Morree, H. M., Staiano, W., & Marcora, S. M. (2014). Talking yourself out of exhaustion: The effects of self-talk on endurance performance. Medicine & Science in Sports & Exercise, 46, 998–1007. Borg G. A. V. (1982). Psychophysical bases of perceived exertion. Medicine & Science in Sports & Exercise, 14, 377-381. Davin, M. A. (2005). Music’s effect on heart rate, ratings of perceived exertion, and affect of older women participating in water exercise. (Unpublished Doctoral dissertation). University of West Florida, Florida. Gregg, M., & Hall, C. (2006). The relationship of skill level and age to the use of imagery by golfers. Journal of Applied Sport Psychology, 18, 363-375. Hardy, J. (2006). Speaking clearly: A critical review of the self-talk literature. Psychology of Sport & Exercise, 7, 81–97. Hatzigeorgiadis, A., Galanis, E., Zourbanos, N., & Theodorakis, Y. (2014). Self-talk and competitive sport performance. Journal of Applied Sport Psychology, 26, 82–95. Hayakawa, Y., Miki, H., Takada, K., & Tanaka, K. (2000). Effects of music on mood during bench stepping exercise. Perceptual and Motor Skills, 90, 307-314. Karageorghis, C. I. (2017). Applying music in exercise and sport. (1st ed.). United States: Human Kinetics. Karageorghis, C. I., Jones, L., & Low, D. C. (2006). Relationship between exercise heart rate and music tempo preference. Research Quarterly for Exercise and Sport, 77(2), 240-250. Latinjak, A. T., Font-Lladó, R., Zourbanos, N., & Hatzigeorgiadis, A. (2016). Goal-directed self- talk interventions: A single-case study with an elite athlete. The Sport Psychologist, 30, 189–194.
Madison, G., Paulin, J., & Aasa, U. (2013). Physical and psychological effects from supervised aerobic music exercise. American Journal of Health Behavior, 37, 780-793. Mamassis, G., & Doganis, G. (2004). The effects of a mental training program on juniors’ pre- competitive anxiety, self-confidence, and tennis performance. Journal of Applied Sport Psychology, 16, 118–137. McCormick, A., Meijen, C., & Marcora, S. (2015). Psychological determinants of whole-body endurance performance. Sports Medicine, 45, 997–1015. ________. (2018). Effects of a motivational self-talk intervention for endurance athletes completing an ultramarathon. The Sport Psychologist, 32, 42–50. Morris, T., Spittle, M., & Perry, C. (2004). Imagery in sport. In T. Morris & J. Summers (Eds.), Sport psychology: Theory, applications and issues. Brisbane, Australia: John Wiley & Sons. Onnom, E. (2014). Effects of selected music and priming on exercise performance. (Unpublished Doctoral dissertation). Burapha University. Papaioannou, A., Ballon, F., Theodorakis, Y., & Auwelle, Y. V. (2004). Combined effect of goal setting and self-talk in performance of a soccer-shooting task. Perceptual and Motor Skills, 98, 89–99. Perkos, S., Theodorakis, Y., & Chroni, S. (2002). Enhancing performance and skill acquisition in novice basketball players with instructional self-talk. The Sport Psychologist, 16, 368–383. Priest, D. L., Karageorghis, C. I., & Sharp, N. C. (2004). The characteristics and effects of motivational music in exercise settings: the possible influence of gender, age, frequency of attendance, and time of attendance. The Journal of Sports Medicine and Physical Fitness, 44, 77-86. Rad, L. S., & Hafezi, F. (2013). The effect of motivational music during exercise on the performance of elitefemale swimmers. European Journal of Experimental Biology, 3(3), 106-110. Shearer, D. A., Thomson, R., Mellalieu, S. D., & Shearer, C. R. (2007). The relationship between imagery type and collective efficacy in elite and non elite athletes. Journal of Sports Science & Medicine, 6, 180-187. Tenenbaum, G., Lidor, R., Lavyan, N., Morrow, K., Tonnel, S., & Gershgoren, A. (2004). The effect of music type on running perseverance and coping with effort sensations. Psychology of Sport and Exercise, 5(2), 89-109. Thakur, A. M., & Yardi, S. S. (2013). Effect of different types of music on exercise performance in normal individuals. Indian Journal of Physiology and Pharmacology, 57(4), 448-451.
Urakawa, K., Yokoyama, K. (2005). Music can enhance exercise-induced sympathetic dominancy assessed by heart rate variability. The Tohoku Journal of Experimental Medicine, 206(3), 213-218. Wallace, P. J., Mckinlay, B. J., Coletta, N. A., Vlaar, J. I., Taber, M. J., Wilson, P. M., & Cheung, S. S. (2017). Effects of motivational self-talk on endurance and cognitive performance in the heat. Medicine & Science in Sports & Exercise, 49, 191–199. Received: March 15, 2019 Revised: May 21, 2019 Accepted: May 25, 2019
การวิเคราะห์เกมการแขง่ ขันและความสามารถของนกั กฬี าเทควนั โดในระดับเยาวชน รังสฤษฏ์ จาเริญ ปญั ญา อนิ ทเจรญิ นาคนิ คาศรี และพรพจน์ ไชยนอก คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลัยบรู พา บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์และเปรียบเทียบตัวแปรด้านยุทธวิธีและลักษณะการทา คะแนนในการแข่งขันระหว่างผู้ชนะ และผู้แพ้ของนักกีฬาเทควันโดเยาวชนที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชน แห่งชาติคร้ังที่ 32 กลุ่ม กลุม่ ตัวอย่างเป็นนกั กีฬาเยาวชนชายและหญิงจานวน 160 คน (ชาย 80 คน หญงิ 80 คน)ท่ผี า่ นเข้ารอบ 8 คนสดุ ท้ายจนถึงรอบชิงชนะเลิศจานวน 10 รุ่นนา้ หนัก บันทึกภาพการแข่งขันโดยใชก้ ลอ้ ง วิดีโอจานวน 2 ตัวที่ความถ่ี 50 เฮิร์ซ วิเคราะห์ตัวแปรด้านยุทธวิธี และลักษณะการทาคะแนนที่ใช้ในการ แข่งขันประกอบด้วยเทคนิคท่ีใช้ในการทาคะแนน ตาแหน่งในการทาคะแนน และรูปแบบการได้คะแนน โดย โปรแกรม Kinovea วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของตัวแปรและเปรียบเทียบระหว่าง ระหวา่ งผชู้ นะและผูแ้ พ้โดยใชส้ ถิติ t-test แบบสองกลมุ่ ทีเ่ ปน็ อิสระต่อกันท่ีระดบั นัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉล่ียของเทคนิคท่ใี ช้ทาคะแนนสาหรับผู้ชนะและผู้แพ้มคี วามแตกต่างกันทางสถติ ิ โดยมคี า่ สูงสุดในทา่ เตะเฉยี งท้ังในนักกฬี าชาย (ผู้ชนะ : 46.05 + 7.79 คะแนน; ผู้แพ้ : 40.40 + 7.79 คะแนน; p=0.02) และนักกีฬาหญิง (ผู้ชนะ : 45.40 + 7.80 คะแนน, ผู้แพ้ : 35.80 + 6.53 คะแนน; p=0.00) และ ตา่ สุดในท่าหมุนตัวเตะในนักกีฬาชาย (ผู้ชนะ : 0.90 + 0.78 คะแนน, ผู้แพ้ : 0.55 + 0.75 คะแนน; p=0.16) และนักกีฬาหญิงในท่าเตะตวัดกลับหลัง (ผู้ชนะ : 0.35 + 0.58 คะแนน, ผู้แพ้ : 0.15 + 0.36 คะแนน; p=0.20) ตามลาดับ ค่าเฉลี่ยของตาแหน่งในการทาคะแนนสาหรับผู้ชนะและผู้แพ้มีความแตกต่างกันทางสถิติ ทั้งนักกีฬาชายและนักกีฬาหญิง โดยค่าเฉลี่ยในการทาคะแนนในตาแหน่งเกราะป้องกันลาตัว (ชาย; ผู้ชนะ : 58.35 + 8.02 คะแนน, ผู้แพ้ 51.10 + 6.88 คะแนน, p=0.04 และหญิง; ผู้ชนะ : 59.55 + 8.30 คะแนน, ผู้ แพ้ 48.10 + 6.73 คะแนน, p=0.00) มีค่าสูงกว่าตาแหน่งในตาแหนง่ บริเวณเฮดการด์ (ชาย; ผชู้ นะ : 14.00 + 2.73 คะแนน, ผู้แพ้ 6.88 + 3.06 คะแนน, p=0.00 และหญิง; ผู้ชนะ : 12.35 + 1.75 คะแนน, ผู้แพ้ 9.80 + 2.53 คะแนน p=0.01) นักกีฬาชายท่ีเปน็ ผ้ชู นะทาคะแนนเมือ่ เปน็ ฝ่ายรุก (40.70 + 6.51 คะแนน) ไดม้ ากกว่า เม่ือเป็นฝ่ายรับ ส่วนผู้แพ้สามารถทาคะแนนได้มากกว่าเพ่ือเป็นฝ่ายรับ (37.45+ 5.31 คะแนน) เช่นเดียวกับ นักกีฬาหญิงท่ีเป็นผู้ชนะทาคะแนนเมื่อเป็นฝ่ายรุก (35.95 + 4.81 คะแนน) ได้มากกว่าเมื่อเป็นฝ่ายรับ ส่วนผู้ แพส้ ามารถทาคะแนนได้มากกว่าเมือ่ เปน็ ฝ่ายรับ (32.90 + 6.38 คะแนน) ตามลาดบั ดังนั้น การวิเคราะห์และ เปรียบเทียบตัวแปรด้านยุทธวิธี และลักษณะการทาคะแนนของนักกีฬาเยาวชนท่ีเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา เยาวชนแห่งชาติแสดงให้เห็นถงึ ลักษณะ และยุทธวิธที สี่ าคัญทีส่ ง่ ผลต่อผลการแขง่ ขนั สามารถนามาใช้เพ่ือการ พัฒนารปู แบบในการฝึกซอ้ มของนักกีฬาเป็นรายบุคคลต่อไป คาสาคญั : วิเคราะห์เกมการแขง่ ขนั นกั กีฬาเทควนั โด เยาวชน ยทุ ธวธิ ี Corresponding Author: ดร. รังสฤษฏ์ จำเริญ คณะวิทยำศำสตร์กำรกฬี ำ มหำวทิ ยำลยั บรู พำ E-mail: [email protected]
PERFORMANCE AND COMPETITION ANALYSIS OF YOUTH TAEKWONDO ATHLETES Rangsarit Jamrern, Panya Intacharoen, Nakin Khamsri, and Phornpot Chainok Faculty of Sport Science, Burapha University Abstract The objectives of this study was to analyze and compare the use of tactical and scoring characteristics variables during competition between the winners and the losers of young taekwondo athletes in the 32th Thailand National Youth Games. The subjects were 160 young taekwondo athletes (80 males and 80 females) who were qualified from quarter-final to the finalist of the ten weight categories. Two video cameras at 50 Hz were used to collect data. Kinovea software was used to analyze the use of tactical and scoring characteristics variables during competition including attacking techniques, attacking target and the point obtained format. Mean and standard deviation (S.D.) of the variables were computed and Independent t-test was conducted to evaluate any differences between winners and non-winners with a significance level of p < .05. The results revealed that the average of attacking techniques between winners and non-winners was statistical significant with the highest level which was found in round kick in both males (winners: 46.05 + 7.79 points; non-winners: 40.40 + 7.79 points; p=0.02) and females ( winners: 45.40 + 7.80 points, non-winners: 35.80 + 6.53 points; p=0.00) and the lowest level was found in turning kick for males ( winners: 0.90 + 0.78 points, non-winners: 0.55 + 0.75 points; p=0.16) and back hook kick for females (winners: 0.35 + 0.58 points, non-winners : 0.15 + 0.36 points; p=0.20), respectively. The average of attacking target between winners and non- winners was statistical significant in both males and females. The average of attacking target at trunk (males; winners: 58.35 + 8.02 points, non-winners 51.10 + 6.88 points, p=0.04 and females; winners: 59.55 + 8.30 points, non-winners 48.10 + 6.73 point, p= 0.00) was higher than head guard (males; winners: 14.00 + 2.73 points, non-winners 6.88 + 3.06 points, p=0.00 and females; winners: 12.35 + 1.75 points, non-winners 9.80 + 2.53 points, p=0.01). The male winners scored offensive kicks (40.70 + 6.51 points) more often than defensive ones and the non-winners obtained more scores when using defensive kicks (37.45+ 5.31 points). In addition, the female winners scored offensive kicks ( 35.95 + 4.81 points) more often than defensive ones and the non-winners obtained more scores when using defensive kicks ( 3 2. 90+ 6.38 points), respectively. Consequently, an analysis and comparison of the use of tactical and scoring characteristics variables during competition of young taekwondo athletes in the Thailand National Youth Games revealed the significant tactical characteristics that affected the results of competition could be used to improve each individual training program. Keywords: Match Analysis, Taekwondo Athletes, Youth, Tactical Corresponding Author: Dr. Rangsarit Jamroen, Faculty of Sports Science, Burapha University E-mail: [email protected]
ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา กีฬาเทควันโด เป็นกีฬาสากลในประเภทกฬี าต่อสู้ทมี่ ีความนิยมเล่นกันอย่างแพร่หลาย โดยในปัจจุบัน ได้สหพันธ์เทควันโดโลก (World Taekwondo) ได้มีประเทศสมาชิกท้ังหมดกว่า 209 ประเทศท่ัวโลก (World Taekwondo, 2016) อีกทั้งเป็นกีฬาที่บรรจุอยู่ในการแข่งขันมหกรรมกีฬาระดับนานาชาติ ทั้งในระดับ โอลิมปิกเกมส์ เอเช่ียนเกมส์ ซเี กมส์ รวมท้ังการแขง่ ขันระดับนานาชาตริ ายการต่าง ๆ และจากผลงานที่ผ่านมา นกั กีฬาเทควันโดไทยได้สร้างผลงานการแข่งขันในระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น โอลิมปิกเกมส์ เอเช่ียนเกมส์ และ ซีเกมส์ได้เป็นอย่างดี ทาให้สมาคมเทควันโดแห่งประเทศไทยได้ต้ังเป้าหมายถึงเหรียญทองในการแข่งขัน โอลิมปกิ ครง้ั ตอ่ ไปเปน็ อย่างมาก จึงได้ใหค้ วามสาคัญกับการพฒั นาศักยภาพของนักกฬี าเทควันโดในทกุ ๆ ดา้ น รวมทั้งเฟ้นหานักกีฬาเทควันโดในระดับเยาวชนท่ีมีความสามารถสูงมาพัฒนาเพื่อเป็นตัวแทนทีมชาติไทยใน การแข่งขนั ในระดับนานาชาติ และสเู่ ปา้ หมายเหรยี ญทองโอลมิ ปกิ เกมส์ กีฬาเทควันโด เป็นกีฬาท่ีเน้นการใช้เท้าในการเตะทาคะแนนเป็นหลักมากกว่าร้อยละ 90 คะแนน ตามกติกาซึ่งต้องใช้ส่วนที่ต่ากว่าข้อเท้าลงไปในการเตะ โดยในการเคลื่อนไหวต้องอาศัยความรวดเร็ว และมี พลัง มคี วามแม่นยาสงู ในการทาคะแนนทัง้ ในขณะรุกและการสกดั กัน้ (Coral et al., 2012) โดยในการแข่งขัน และทาคะแนนนั้น นักกีฬาเทควันโดจะตอ้ งเลอื กใช้เทคนิคและกลยุทธท์ ี่เหมาะสมท้งั ในการรกุ และการรับทง้ั ใน บริเวณกลางสนามและขอบสนาม และเทคนิคที่ใช้ในการทาคะแนน ได้แก่ เตะเฉียง (Round Kick) การเตะ เหยียบลง (Chop Kick) การเตะตวัด (Hook Kick) การเตะด้านขา้ ง (Side Kick) การเตะกลบั หลงั (Back Kick) การหมนุ ตวั เตะตวัดกลบั หลงั (Back hook Kick) การชกหมัดตรง (Straited Punch) (Kukkiwon, 2013) กระบวนการพฒั นานักกีฬาเป็นสงิ่ ที่มีความสาคัญมาก เพ่ือให้นักกฬี ามีความสามารถสูงสุดซง่ึ สง่ ผลต่อ ความสาเร็จสูงสุดในการแข่งขันน้ันจะต้องคานึงถึงองค์ประกอบท่ีสาคัญที่ส่งผลต่อความสาเร็จของนักกีฬาซึ่ง ได้แก่ สมรรถภาพทางกาย ทักษะ เทคนิค กลยุทธ์ และจติ วิทยา การพัฒนานักกีฬาในปัจจุบนั จาเป็นท่ีจะต้อง นาองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา และเทคโนโลยีต่าง ๆ มาบูรณาการท้ังในการฝึกซ้อมเตรียม การ แข่งขัน และการแข่งขันเพ่ือทจ่ี ะพัฒนาศักยภาพนักกีฬาให้มคี วามพร้อมในทุกด้าน ทาให้นักกีฬามีศักยภาพสูงสุด ในการแข่งขัน โดยจะต้องบูรณาการศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น สรีรวิทยา (Exercise Physiology) โภชนาการกีฬา (Sport Nutrition) เวชศาสตร์การกีฬา (Sport Medicine) จิตวิทยาการกีฬา (Sport Psychology) ชวี กลศาสตร์การกฬี า (Sport Biomechanics) วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา (Sport Engineering and Technology) มาเพ่ือพัฒนาศักยภาพนักกีฬาให้สูงสุดในการแข่งขันทุกระดับ ซ่ึงชีวกลศาสตร์การกีฬา (Sport Biomechanics) เป็นศาสตร์ท่ีมคี วามสาคัญเปน็ อย่างยิ่งสาหรับการพฒั นาความสามารถในการเคล่ือนไหว ของนักกีฬา โดยการนาหลักการเคล่ือนไหว ความรู้ทางด้านชีวกลศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการ วิเคราะห์ แก้ไขท่าทางการเคลื่อนไหว และให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อที่จะให้นักกีฬาเคลื่อนไหวได้ถูกต้อง และมี ประสิทธภิ าพ แกไ้ ขทา่ ทางการเคลื่อนไหวใหถ้ ูกต้องเพ่ือไม่ก่อให้เกิดการเสยี เปรียบทางด้านการเคล่ือนไหว ทา ให้นักกีฬามีศักยภาพสูงสุดในการแข่งขัน การวิเคราะห์การแข่งขัน (Notational Analysis) และการวิเคราะห์ ความสามารถ (Performance Analysis) ในการแข่งขันกีฬาเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งท่ีช่วยในการได้มาซ่ึง ข้อมูลต่าง ๆ ในการแข่งขันของนักกีฬา เพื่อท่ีจะนามาใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับในการพัฒนาความสามารถ การ กาหนดยุทธวิธี ตลอดจนการพัฒนารูปแบบในการฝกึ ซ้อมของนักกีฬา ซง่ึ ในอดีตท่ีผ่านมาในหลายประเทศช้ันนา ท่ัวโลก ได้ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะหเ์ กมการแข่งขัน และความสามารถของนักกีฬาเทควันโด เช่น ประเทศสเปน Coral et al. (2012) ได้ศึกษาการวิเคราะห์เกมในการแข่งขันกีฬาเทควันโดในระดับมหาวิทยาลัย ซ่ึงได้วิเคราะห์ ถงึ ตัวแปรของเกมรุกและเกมรับ จานวนครั้งของการเตะบริเวณเกราะป้องกันลาตวั และเฮดการด์ รวมทัง้ เทคนคิ ท่ี
นักกีฬาใช้ในการทาคะแนน และประเทศบราซิล Victor, Emerson, and Adriano. (2011) ได้ศึกษาการ วเิ คราะห์เทคนคิ และกลยุทธข์ องนักกีฬาเทควันโดในระดบั เยาวชน จะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์เกมการแข่งขันในกีฬาเทควันโดน้ันมีประโยชน์เป็นอย่างมากเพ่ือเป็นข้อมูล สาคัญสาหรับท้ังผู้ฝึกสอน และนักกีฬาเพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาทั้งในด้านเทคนิคและยุทธวิธีในการ แข่งขัน เพ่ือนามาพัฒนาในการฝึกซ้อม การเตรยี มการแข่งขัน และการแขง่ ขนั เพ่ือให้ประสบความสาเรจ็ สูงสุด ในการแข่งขัน ดังน้ัน จากความจาเป็นและความสาคัญของการวิเคราะห์เกมการแข่งขันข้างต้น การวิจัยคร้ังนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์ และเปรียบเทียบตัวแปรด้านยุทธวิธี และลักษณะการทาคะแนนในการแข่งขัน ระหว่างผู้ชนะ และผู้แพ้ของนักกีฬาเทควันโดเยาวชน เพ่ือที่จะนาข้อมูลมาเป็นผลย้อนกลับ (Feedback) ที่ เหมาะสมกับนกั กีฬาและผ้ฝู ึกสอนกฬี าเทควันโด สกู่ ารพฒั นาความสามารถของนักกฬี าใหม้ ีประสิทธภิ าพสูงสุด ในการแข่งขนั วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบตัวแปรด้านยทุ ธวิธี และลกั ษณะการทาคะแนนในการแข่งขันระหว่างผู้ ชนะและผูแ้ พข้ องนกั กีฬาเทควันโดเยาวชน สมมติฐานของการวจิ ัย ตัวแปรทางด้านยุทธวิธี และลักษะการทาคะแนนของนักกีฬาเยาวชน ระหว่างผู้ชนะและผู้แพ้มีความ แตกตา่ งกนั วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักกีฬาเทควันโดที่เข้ารว่ มการแข่งขนั กีฬากีฬาเยาวชนแห่งชาติ คร้ังที่ ๓๒ “สุพรรณบุรี เกมส์” ระหว่างวันท่ี 9–19 มีนาคม พ.ศ. 2559 ท่ีผ่านเข้ารอบ 8 คนสุดท้าย ทุกร่นุ น้าหนัก รวมทงั้ สิ้น 160 คน ไดแ้ ก่ นกั กฬี าชาย 10 รุ่นนา้ หนกั จานวน 80 คน และนักกฬี าหญิง 10 รุ่นนา้ หนัก จานวน 80 คน เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ประกอบด้วย 1. กลอ้ งวิดโี อ (Video Camcorder) จานวน 2 ตัว 2. โปรแกรม Kinovea (Kinovea, 2016) ข้ันตอนและวิธกี ารเกบ็ ข้อมูล ประสานงานกับการกีฬาแห่งประเทศไทยเพ่ือขออนุญาตบันทึกภาพการแข่งขัน และฝ่ายจัดการ แข่งขันกฬี าเทควันโด และผู้แทนสมาคม กฬี าเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 32 “สุพรรณบุรีเกมส์” ระหว่างวันที่ 9– 19 มีนาคม พ.ศ. 2559 เพ่ือขอเข้าเก็บข้อมูล โดยทาหนังสือขอความร่วมมือจากคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อขอใช้สถานท่ีในการใช้เป็นห้องทดสอบนักกีฬา และใช้เป็นสถานท่ีเตรียมการบันทึก ขอ้ มูลการแข่งขัน หลังจากน้ันได้สารวจสถานที่แข่งขันเพื่อติดตั้งกล้องบันทึกภาพ และทดสอบการทางานของ กล้องโดยการทดลองบันทึกภาพการแข่งขัน และทาการเก็บข้อมูลโดยใช้กล้องวิดีโอ (Video Camcorder) จานวน 2 ตัว ตามรูปแบบการวางตาแหน่งในงานวิจัยของ Lee (2000) โดยเริ่มบันทึกภาพการแข่งขันในรอบ 8 คนสดุ ทา้ ยในแตล่ ะรุ่นน้าหนกั การแข่งขนั ทง้ั สิน้ 10 รุ่นการแข่งขนั
การวเิ คราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไป ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของขนาด และส่วนประกอบ รา่ งกายของนักกีฬาชาย และนกั กฬี าหญิงในแตล่ ะรนุ่ นา้ หนกั โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป 2. การวิเคราะห์เปรยี บเทียบค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ตัวแปรดา้ นเทคนิคการทาคะแนนท่ี ใช้ในการแข่งขันของนักกีฬาเทควันโดในระดับเยาวชน โดยผู้วิจัยได้นาข้อมูลภาพท่ีบันทึกด้วยกล้องวิดีโอไป วิเคราะห์ลักษณะของเทคนิคการทาคะแนนของนักกีฬาในการแข่งขัน โดยใช้โปรแกรม Kinovea เพื่อจาแนก ปริมาณในการใช้เทคนิคต่าง ๆ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS โดยใช้สถิติ t-test แบบสองกลุ่ม ทเี่ ป็นอิสระตอ่ กันท่รี ะดับนยั สาคญั ทางสถิติ .05 3. การวิเคราะห์เปรียบเทยี บค่าเฉลยี่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ตวั แปรทางด้านตาแหน่งและลกั ษณะ ในการทาคะแนนโดย ผู้วิจัยได้นาข้อมูลท่ีบันทึกภาพ ด้วยกล้องวิดีโอวิเคราะห์โครงสร้างของเวลาในการแข่งขัน แต่ละรอบการแข่งขันโดยใช้ซอฟท์แวร์ Kinovea เพ่ือจาแนกตาแหน่งในการทาคะแนน ได้แก่ บริเวณเกราะ ป้องกันลาตัว และเฮดการ์ด และลักษณะในการทาคะแนน ได้แก่ การรุก และการรับ โดยใช้โปรแกรม คอมพวิ เตอร์สาเรจ็ รูป SPSS โดยใช้สถติ ิ t-test แบบสองกลุม่ ทีเ่ ปน็ อิสระตอ่ กนั ท่ีระดบั นัยสาคญั ทางสถิติ .05 ผลการวจิ ัย ผลการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของยุทธวิธีในการเล่นและโครงสร้างเวลา ของ นกั กฬี าเทควันโดในระดับเยาวชน ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บคา่ เฉล่ยี ของเทคนคิ ทใี่ ชใ้ นการแข่งขันของผู้ชนะและผ้แู พใ้ นรอบ 8 คนสุดทา้ ย ในประเภทต่อสูช้ าย และหญงิ รายการ ผู้ชนะ (n=40) ผู้แพ้ (n=40) t p ���̅��� S.D. ���̅��� S.D. การชกหมัดตรง (Punch) 3.15 1.75 1.45 1.53 3.25 0.00** การเตะเฉยี ง (Round Kick) 46.05 7.79 40.40 7.98 2.27 0.02* การเตะถบี ข้าง (Side Kick) 14.25 3.66 10.00 2.67 4.18 0.00** หญิง ชาย การเตะเหยยี บลง (Axe Kick) 6.90 2.19 4.95 2.25 2.76 0.00** การเตะตวดั (Hook Kick) 1.65 1.08 1.45 1.43 0.49 0.62 การเตะถีบกลบั หลัง (Back Kick) 3.70 1.75 2.40 1.09 2.81 0.00** การหมนุ ตวั เตะ (Turning Kick) 0.90 0.78 0.55 0.75 1.43 0.16 การเตะตวดั กลบั หลัง (Back Hook Kick) 1.25 1.20 1.00 0.85 0.75 0.45 การชกหมัดตรง (Punch) 2.10 1.48 0.80 1.00 0.22 0.02* การเตะเฉยี ง (Round Kick) 45.40 7.80 35.80 6.53 4.20 0.00** การเตะถบี ข้าง (Side Kick) 13.40 2.83 9.50 2.81 4.36 0.00** การเตะเหยยี บลง (Axe Kick) 6.00 2.38 4.45 2.01 2.22 0.03* การเตะตวัด (Hook Kick) 1.20 0.89 1.35 1.30 0.42 0.67 การเตะถบี กลับหลัง (Back Kick) 2.75 1.37 1.55 0.99 3.16 0.00** การหมุนตัวเตะ (Turning Kick) 0.35 0.48 0.30 0.73 0.25 0.80 การเตะตวดั กลับหลัง (Back Hook Kick) 0.35 0.58 0.15 0.36 1.29 0.20 *p-value<.05
จากตารางท่ี 1 ผลของการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของเทคนิคที่นักกีฬาชาย และหญิงใช้ทาคะแนน มีท้ังส้ิน 8 เทคนิคของนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะ และเป็นผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้ายของการแข่งขัน พบว่า ในนักกีฬาชาย มี ค่าเฉล่ียของเทคนิคที่ใช้ทาคะแนนในการแข่งขันแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งสิ้น 5 เทคนิค คือ การชกหมัดตรง การเตะเฉียง การเตะถีบขา้ ง การเตะเหยยี บลง และการเตะถีบกลับหลัง สว่ นอีก 3 เทคนิค คือ การเตะตวัด การหมุนตัวเตะ การเตะตวัดกลับหลัง พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และ ในนักกีฬาหญิง มีค่าเฉลีย่ ของเทคนิคทใี่ ชท้ าคะแนนในการแข่งขัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ทงั้ สิ้น 5 เทคนิค คือ การชกหมัดตรง การเตะเฉียง การเตะถีบข้าง การเตะเหยียบลง และการเตะถีบกลับหลัง ส่วนอีก 3 เทคนิค การเตะตวัด การหมุนตัวเตะ การเตะตวัดกลับหลัง พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทยี บค่าเฉลย่ี ของตาแหน่งในการทาคะแนนของผู้ชนะ และผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้าย ซ่ึงเปน็ บรเิ วณท่สี ามารถทาคะแนนโดยใช้อปุ กรณ์อเิ ลกทรอนิกส์รวมทุกร่นุ นา้ หนัก ประเภท ตาแหนง่ ในการทาคะแนน ผู้ชนะ (n=40) ผแู้ พ(้ n=40) tp ���̅��� S.D. ���̅��� S.D. ชาย เฮดการ์ด 14.00 2.73 10.25 2.22 4.76 0.00** เกราะป้องกนั ลาตวั 3.06 0.04* 58.35 8.02 51.10 6.88 3.71 0.01** หญิง เฮดการ์ด 4.79 0.00** เกราะปอ้ งกนั ลาตวั 12.35 1.75 9.80 2.53 59.55 8.30 48.10 6.73 *p-value<.05 จากตารางที่ 2 ผลของการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตาแหน่งในการทาคะแนน คือ เกราะป้องกันลาตัว และเฮดการ์ด ของผู้ชนะและผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้าย พบว่า ท้ังนักกีฬาชายและนักกีฬาหญิงมีค่าเฉลี่ยของ จานวนคร้ังในการทาคะแนนบริเวณเกราะป้องกันลาตัว และเฮดการ์ดแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ตารางท่ี 3 แสดงการเปรยี บเทียบค่าเฉลีย่ ของลกั ษณะในการทาคะแนนดว้ ยการรุก และการรับของผชู้ นะและผู้ แพใ้ นรอบ 8 คนสดุ ท้าย ของนักกฬี ารวมทกุ รุ่นนา้ หนัก ประเภท รายการ ผูช้ นะ (n=40) ผแู้ พ้ (n=40) tp ���̅��� S.D. ���̅��� S.D. ชาย การรุก 40.70 6.51 21.85 3.71 11.24 0.00** การรบั 7.36 0.00** 23.00 6.98 37.45 5.31 7.12 0.00** หญิง การรุก 7.11 0.00** การรับ 35.95 4.86 24.30 5.46 21.25 4.06 32.90 6.08 *p-value<.05
จากตารางที่ 3 ผลของการเปรยี บเทียบค่าเฉล่ียของลักษณะการทาคะแนนด้วยการรุกและการรบั ของ นักกีฬาชายและหญิงที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้ายของการแข่งขัน พบว่า ทั้งในนักกีฬาชาย และหญิงมีค่าเฉล่ียของจานวนคร้ังในการทาคะแนนด้วยการรุกและการรับ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทาง สถติ ิทร่ี ะดบั .05 สรุปผลการวจิ ัย การวิจัยคร้ังน้ีได้วิเคราะห์และเปรียบเทียบตัวแปรด้านยุทธวิธีและลักษณะการทาคะแนนของนักกีฬา เยาวชนท่เี ขา้ ร่วมการแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติแสดงให้เหน็ ถึงลกั ษณะและยุทธวิธแี ละองคป์ ระกอบทสี่ าคัญ ท่ีส่งผลต่อผลแพ้ชนะในการแข่งขัน ดังน้ัน ข้อมูลที่ได้จากงานวิจัยน้ีมีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับการพัฒนา ความสามารถ การกาหนดยทุ ธวิธี ตลอดจนการพฒั นารูปแบบในการฝึกซ้อมของนกั กีฬาเปน็ รายบคุ คลต่อไป จากการวเิ คราะห์ข้อมูลทั้งหมดสามารถสรุปผลการวิจยั ไดด้ งั นี้ 1. เทคนิคที่นักกีฬาเทควันโดในระดับเยาวชนใช้ในการแข่งขันในรอบ 8 คนสุดท้ายของการแข่งขัน กฬี าเยาวชนแห่งชาตคิ ร้ังท่ี 32 มีท้ังหมด 8 เทคนิค คือ การชกหมัดตรง (Punch) การเตะเฉยี ง (Round Kick) การเตะเหยียบลง (Axe Kick) การเตะถีบด้านข้าง (Side Kick) การเตะถีบกลับหลัง (Back Kick) การเตะตวัด (Hook Kick) การหมุนตัวเตะ (Turning Kick) การเตะตวัดกลับหลัง (Swing Back Kick) เม่ือเปรียบเทียบ เทคนิคในการแข่งขันของนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะ และเป็นผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้ายของการแข่งขันทั้งชายและ หญิง พบว่า นักกีฬาชายท่ีเป็นผู้ชนะและนักกีฬาท่ีเป็นผู้แพ้ ในการแข่งขันรอบ 8 คนสุดท้าย มีค่าเฉล่ียของ เทคนิคท่ีใช้ทาคะแนนในการแข่งขัน แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญที่ .05 ทงั้ สนิ้ 5 เทคนิค ได้แก่ 1) การชกหมัด ตรง 2) การเตะเฉียง 3) การเตะถีบข้าง 4) การเตะเหยียบลง 5) การเตะถีบกลับหลัง และไม่แตกต่างกัน 3 เทคนิค ได้แก่ 1) การเตะตวัด 2) การหมนุ ตัวเตะ 3) การเตะตวัดกลับหลัง โดยเฉล่ยี ทักษะท่ีนักกีฬาชายทเ่ี ป็น ผชู้ นะใชม้ ากท่สี ดุ คอื ทกั ษะการเตะเฉียง (46.05 คร้ัง) อนั ดับที่ 2 คือ การเตะถบี ด้านข้าง (14.25 ครงั้ ) อนั ดับ ท่ี 3 คือ การเตะเหยยี บลง (6.90 คร้ัง) และ เฉลย่ี ทักษะทีน่ ักกีฬาชายทีเ่ ปน็ ผู้แพใ้ ช้มากทสี่ ุด คือ ทักษะการเตะ เฉียง (40.40 ครั้ง) อันดับที่ 2 คือ การเตะถีบด้านข้าง (10.00 ครั้ง) อันดับที่ 3 คือ การเตะเหยียบลง (6.90 ครัง้ ) นักกีฬาหญิงที่เป็นผชู้ นะและนกั กีฬาทีเ่ ป็นผแู้ พ้ ในการแข่งขนั รอบ 8 คนสุดท้าย มคี า่ เฉลี่ยของเทคนิค ที่ใช้ทาคะแนนในการแขง่ ขัน แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญที่ .05 ท้งั สน้ิ 5 เทคนคิ ไดแ้ ก่ 1) การชกหมดั ตรง 2) การเตะเฉียง 3) การเตะถบี ขา้ ง 4) การเตะเหยียบลง 5) การเตะถีบกลับหลงั และไมแ่ ตกต่างกนั 3 เทคนิค ไดแ้ ก่ 1) การเตะตวัด 2) การหมุนตัวเตะ 3) การเตะตวดั กลับหลัง โดยเฉลย่ี ทกั ษะท่ีนักกีฬาหญงิ ทเี่ ป็นผู้ชนะใชม้ าก ที่สดุ คือ ทักษะการเตะเฉียง (45.40 คร้ัง) อันดบั ที่ 2 คือ การเตะถีบด้านขา้ ง (13.40 ครง้ั ) อันดับท่ี 3 คอื การ เตะเหยยี บลง (6.00 คร้ัง) และ เฉลี่ยทักษะท่นี กั กีฬาหญิงท่ีเป็นผแู้ พ้ใชม้ ากทสี่ ุด คือ ทักษะการเตะเฉยี ง (35.80 ครงั้ ) อันดบั ท่ี 2 คอื การเตะถีบดา้ นข้าง (9.50 ครง้ั ) อนั ดบั ที่ 3 คือ การเตะเหยียบลง (4.45 ครั้ง) 2. ตาแหน่งในการทาคะแนนซึ่งเป็นบริเวณท่ีสามารถทาคะแนนโดยใช้อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ แบ่ง ออกเป็น 2 ตาแหน่ง คือ เกราะป้องกนั ลาตัว และเฮดการ์ด โดยบริเวณทม่ี ีการทาคะแนนมากทส่ี ุด คือ บริเวณ เกราะป้องกันลาตัว (ร้อยละ 82.39) และรองลงมา คือ บริเวณเฮดการ์ด (ร้อยละ 17.61) เม่ือเปรียบเทียบ ตาแหน่งในการทาคะแนนของการแข่งขันของนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้ายของการ แข่งขัน พบว่า นักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะและนักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ท้ังชายและหญิง มีค่าเฉลี่ยของจานวนครั้งของ ตาแหน่งในการทาคะแนนบรเิ วณเฮดการ์ด และเกราะปอ้ งกันลาตวั แตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคญั ที่ .05 ดงั น้ี
นกั กีฬาชายที่เปน็ ผ้ชู นะและเป็นผแู้ พ้ มคี ่าเฉลยี่ ของการทาคะแนนบริเวณเฮดการ์ดแตกต่างกนั อย่างมี นัยสาคญั ที่ .05 โดยนักกฬี าท่ีเป็นผู้ชนะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.00 ครั้ง และนกั กฬี าท่ีเป็นผู้แพ้ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.25 ครั้ง นักกีฬาชายที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉล่ียของการทาคะแนนบริเวณเกราะป้องกันลาตัว แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ .05 โดยนักกีฬาที่เป็นผู้ชนะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 58.35 ครั้ง และนักกีฬาที่เป็นผู้ แพ้ มีคา่ เฉลยี่ เท่ากบั 51.10 คร้ัง นักกีฬาหญิงทเี่ ป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉลี่ยของการทาคะแนนบริเวณเฮดการ์ดแตกต่างกันอย่าง มีนัยสาคัญท่ี .05 โดยนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 12.35 ครั้ง และนักกีฬาท่ีเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 9.80 คร้ัง นักกีฬาหญิงที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉลี่ยของการทาคะแนนบริเวณเกราะป้องกัน ลาตัวแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ .05 โดยนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 59.55 ครั้ง และนักกีฬาที่ เป็นผู้แพ้ มคี า่ เฉล่ียเทา่ กบั 48.10 คร้ัง 3. ลกั ษณะการทาคะแนนด้วยการรุกและการรบั ของผู้ชนะและผู้แพ้ในรอบ 8 คนสุดท้าย โดยนกั กีฬา ท่ีเป็นผ้ชู นะและนักกีฬาทีเ่ ป็นผู้แพ้ มีคา่ เฉลย่ี ของจานวนครั้งในการทาคะแนนดว้ ยการรุก และการรับแตกต่าง กนั อย่างมีนัยสาคัญท่ี .05 ดังนี้ นักกีฬาชายที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉลี่ยของการทาคะแนนด้วยการรุก แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญท่ี .05 โดยนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 40.70 ครั้ง และนักกีฬาที่เป็นผู้ แพ้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.85 ครั้ง นักกีฬาชายที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉลี่ยของการทาคะแนนด้วยการ รับ แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคัญที่ .05 โดยนักกีฬาท่ีเป็นผ้ชู นะ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 23.00 ครัง้ และนักกีฬาที่เป็น ผแู้ พ้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 37.45 ครงั้ นักกีฬาหญิงที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉลี่ยของการทาคะแนนด้วยการรุกแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคญั ท่ี .05 โดยนกั กีฬาท่ีเป็นผู้ชนะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 35.95 คร้ัง และนักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 24.30 ครั้ง นักกีฬาหญิงที่เป็นผู้ชนะและเป็นผู้แพ้ มีค่าเฉล่ียของการทาคะแนนด้วยการรับแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญที่ .05 โดยนักกฬี าท่ีเป็นผชู้ นะ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 21.25 คร้ัง และนักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ มคี ่าเฉล่ียเท่ากับ 32.90 ครงั้ อภิปรายผลการวิจัย 1. เทคนิคท่ีนกั กีฬาเทควันโดในระดับเยาวชนใช้ในการแข่งขันในรอบ 8 คนสุดท้ายของการแข่งขนั กีฬา เยาวชนแห่งชาตคิ รั้งที่ 32 มที ้ังหมด 8 เทคนิค คือ การชกหมดั ตรง (Punch) การเตะเฉยี ง (Round Kick) การ เตะเหยียบลง (Axe Kick) การเตะถีบด้านข้าง (Side Kick) การเตะถีบกลับหลัง (Back Kick) การเตะตวัด (Hook Kick) การหมุนตัวเตะ (Turning Kick) การเตะตวัดกลับหลัง (Swing Back Kick) ซึ่งสอดคล้องกับ Kukiwon (2013) ได้กล่าวถึง เทคนิคที่นักกีฬาท่ีใช้ในการแข่งขันประเภทต่อสู้ในการรุก และการรับประกอบด้วยทักษะ การชกหมัดตรง (Punch) การเตะเฉียง (Round Kick) การเตะเหยียบลง (Axe Kick) การเตะถีบด้านข้าง (Side Kick) การเตะถีบกลับหลัง (Back Kick) การเตะตวัด (Hook Kick) การหมุนตัวเตะ (Turning Kick) การเตะตวัด กลับหลัง (Swing Back Kick) ซึ่งอาจนาทักษะมาใช้ในการเตะต่อเนื่องเป็นชุดการเตะในการรุกและการรับ และ จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยทักษะที่นักกีฬาชาย และนักกีฬาหญิงใช้ในการรุกและการรับในการแข่งขันรอบ 8 คน สุดท้าย พบว่า นักกีฬาชายที่เป็นผู้ชนะใช้มากท่ีสุด คือ ทักษะการเตะเฉียง (46.05 คร้ัง) การเตะถีบด้านข้าง (14.25 คร้ัง) การเตะเหยียบลง (6.90 คร้ัง) ตามลาดับ และ เฉลี่ยทักษะท่ีนักกีฬาชายท่ีเป็นผู้แพ้ใช้มากที่สุด คือ ทักษะการเตะเฉียง (40.40 คร้ัง) การเตะถีบด้านข้าง (10.00 ครั้ง) การเตะเหยียบลง (6.90 คร้ัง) ตามลาดับ ซง่ึ สอดคล้องกับ Tze Chung Luk et al. (2001) พบว่า ในการแขง่ ขนั เทควันโดการเลือกทา่ เตะเพือ่ ทาคะแนน
ของนักกีฬาเทควันโดในจังหวะในการเป็นฝ่ายรุก (Offensive) และฝ่ายรับ (Defensive) พบว่า ท่าเตะเฉียง (Roundhouse Kick) เป็นท่าเตะท่ีนักกีฬาเทควันโดใช้ในการแข่งขันมาก ที่สุดร้อยละ 72.7 รองลงมา ได้แก่ ท่าก้าวเตะเฉียง (Double Round Kick ) ร้อยละ11.0 ท่าเตะกลับหลังถีบ (Back Kick) ร้อยละ8.0 ท่าเตะ เหยียบลง (Chop Kick) จะเห็นได้ว่า ท่าเตะเฉียงเปน็ เทคนิคและยทุ ธวิธีในการทาแต้มที่ใช้มากที่สุด แต่อันดับ ท่ี 2 และ 3 อาจมีความแตกต่างกันเนื่องจากอาจมีความแตกต่างในเร่ืองของการแข่งขันท่ีมีกติกาการใช้ระบบ อิเล็คทรอนิคส์ (Taekwondo Electronic Scoring System) ในระบบ Pss Daedo Electronic Scoring System ซ่ึงนักกีฬาจะใช้มีการใช้เทคนิค และยุทธวิธีท่ีมีความแตกต่างโดยใช้การเตะถีบด้านข้าง และการเตะ เหยียบลงที่มากขึ้นเน่ืองจากเป็นเทคนิคที่ง่ายต่อการทาคะแนนจากเซนเซอร์ท่ีติดอยู่บริเวณใต้ฝ่าเท้าของ นกั กฬี า เม่ือวิเคราะห์เปรยี บเทยี บค่าเฉลี่ยทักษะทีน่ ักกีฬาใช้ในการทาคะแนนในการแข่งขันรอบ 8 คนสุดท้าย ในนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะและนักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ทั้งชายและหญิง พบว่าค่าเฉล่ียของเทคนิคที่ใช้ทาคะแนนในการ แข่งขัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ .05 ท้ังสิ้น 5 เทคนิค ได้แก่ (1) การชกหมัดตรง (2) การเตะเฉียง (3) การเตะถีบข้าง (4) การเตะเหยียบลง (5) การเตะถีบกลับหลัง โดยนักกีฬาที่เป็นผู้ชนะมีจานวนการใช้เทคนิค ในการทาคะแนนท้ัง 5 เทคนิค มากกว่านักกีฬาท่ีเป็นผู้แพ้ในทุกรายการซึ่ง สอดคล้องกับ Casolino et al. (2012) ทาการศกึ ษาวิเคราะห์เทคนิค (Technique) วิธีการและยุทธวิธีการเล่น (Tactics) ในนักกีฬาเทควันโด เยาวชน พบว่า ท้ังนักกีฬาชายและหญิงท่ีเป็นฝ่ายชนะการแข่งขันมีการทาคะแนนจากเทคนิคในการรุกใน จานวนคร้งั ในการทาคะแนนท่มี ากกว่านักกีฬาทเ่ี ป็นฝ่ายแพ้ 2. ตาแหน่งในการทาคะแนนซึ่งเป็นบริเวณท่ีสามารถทาคะแนนโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ แบ่ง ออกเป็น 2 ตาแหน่ง คือ เฮดการ์ด และเกราะป้องกันลาตัว ผลการวิจัยพบว่า บริเวณที่มีการทาคะแนนมาก ท่ีสดุ คือ บริเวณเกราะป้องกนั ลาตัว (ร้อยละ 82.39) และรองลงมา คอื บริเวณเฮดการด์ (ร้อยละ 17.61) เม่ือ เปรียบเทียบตาแหน่งในการทาคะแนนของการแข่งขันของนักกีฬาที่เป็นผู้ชนะ และเป็นผู้แพ้ในรอบ 8 คน สุดท้ายของการแข่งขัน พบว่า นักกีฬาที่เป็นผู้ชนะและนักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ ท้ังชายและหญิง มีค่าเฉล่ียของ จานวนครั้งของตาแหน่งในการทาคะแนนบริเวณเฮดการ์ด และเกราะป้องกันลาตัว แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญที่ .05 ซ่ึงนักกีฬาชายและนักกีฬาหญิงมีจานวนครั้งในการทาคะแนนทั้งบริเวณเฮดการ์ดและเกราะ ป้องกันลาตัวมากกว่านักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ในทุกรายการซ่ึงทาให้มีโอกาสในการได้คะแนนที่มากกว่า อีกทั้ง ผลการวิจัยพบว่า จานวนในการรุกของนักกีฬาฝ่ายชนะท่ีมากกว่านักกีฬาฝ่ายแพ้ ซ่ึงสอดคล้องกับ Drazen Cular et al. (2008) กล่าวว่า นักกีฬาชายและหญิงที่ได้เหรียญทองจากการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ 2008 มี ค่าเฉล่ียของการทาคะแนนเมื่อเป็นฝ่ายรุกโดยการทาคะแนนจากการเตะบริเวณกลางลาตัวมากกว่าการทา คะแนนโดยการเตะทใี่ บหนา้ 3. ลกั ษณะการทาคะแนนดว้ ยการรุกและการรบั ของนักกีฬาผู้ชนะและผแู้ พ้ในรอบ 8 คนสุดท้าย โดย นักกีฬาที่เป็นผู้ชนะและนักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ มีค่าเฉล่ียของจานวนคร้ังในการทาคะแนนด้วยการรุก และการรับ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ .05 โดยผลการวิจัยพบว่า นักกีฬาผู้ชนะมีการทาคะแนนด้วยการรุกท่ีมากกว่า นักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ และนักกีฬาท่ีเป็นผู้ชนะมีการทาคะแนนด้วยการรับน้อยกว่านักกีฬาที่เป็นผู้แพ้ ซึ่งในการ แข่งขนั นักกฬี าทเ่ี ป็นผูช้ นะจะมีความมั่นใจในการเปิดเกมรุก ทาคะแนนดว้ ยการรุกในยกท่ี 1 ทม่ี ากกวา่ นักกฬี า ที่เป็นผู้แพ้ท้ังในนักกีฬาชายและนักกีฬาหญิง จากนั้นค่าเฉล่ียของการรุกของนักกีฬาที่เป็นผู้ชนะจะค่อยลด น้อยลงในยกที่ 2 และยกที่ 3 โดยนักกีฬาผู้แพ้ทั้งชายและหญิงจะมีจานวนค่าเฉลี่ยการรุกที่มากกว่าอัน เน่ืองมาจากต้องพยายามทาคะแนนที่เป็นฝ่ายตามในยกที่ 1 ทาใหเ้ หน็ วา่ นักกีฬาทีเ่ ปน็ ฝา่ ยชนะจะทาคะแนน
ด้วยการรุกในยกที่ 1 และที่ 2 ก่อนเพื่อชิงความได้เปรียบในการแข่งขันหลังจากน้ันจะเป็นฝ่ายรับและป้องกัน แต้มจากการทาคะแนนโดยการรุกจากฝ่ายแพ้ นอกจากน้ันจานวนในการรุกของนักกฬี าชายทงั้ ฝ่ายที่เป็นผู้ชนะ และผู้แพ้มีค่าเฉลี่ยมากกว่านักกีฬาหญิง โดยมีความสอดคล้องกับ Kazemi et al. (2006) ซึ่งทาการ เปรียบเทียบรูปแบบการทาคะแนนในนักกีฬาเทควันโดท่ีเข้าร่วมการแข่งขันในกีฬา โอลิมปิกปี 2000 พบว่า อัตราส่วนของการทาคะแนนเม่ือเป็นฝ่ายรุก (offensive) ต่อการทาคะแนนเม่ือ เป็นฝ่ายรับ (defensive) ใน นักกฬี าเทควนั โดชายพบว่ามอี ัตราส่วนร้อยละ 54:46 และอัตราสว่ นร้อยละ 53:47 ในนักกีฬาเทควนั โดหญิง ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอ่ ไป ควรมีการศึกษายุทธวิธีท่ีใช้ในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ รายการชิงแชมป์ประเทศไทย รายการแข่งขัน ในระดับนานาชาติ เป็นต้น เพื่อเป็นข้อมูลเพ่ือให้ผลย้อนกลับกับนักกีฬา และนามาศึกษาเปรียบเทียบยุทธวิธี การเล่นของนักกีฬาของนักกีฬาในแต่ละระดับการแข่งขัน เพื่อให้นักกีฬา ผู้ฝึกสอน และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ของการแขง่ ขันในระดับตา่ งๆ ไดข้ อ้ มลู ในการศกึ ษา วางแผนการฝึกซอ้ ม พฒั นานกั กีฬาได้อย่างเต็มศักยภาพ References Casolino, E., Lupo, C., Cortis, C., Chiodo, S., Minganti, C., Capranica, L., & Tessitore, A. (2012). Technical and Tactical analysis of youth Taekwondo Performance. Journal of Strength and Conditioning Research, 26(6), 1489–1495. Coral, F., Raul, L., Cristina, M., Jose., L. B. & Isaac., E. (2012). Match analysis in a University Taekwondo Championship. Journal of Advances in Physical Education, 2(1), 28-31. Drazen, C., Sasa, K., & Mario, T. (2008). Differences between medal winners and nonwiner at the 2008 Olympic game taekwondo tournament. Journal of human movement, 12,(2), 165-170. Kazemi, M., Waalen, J., Morgan, C., & White, A. R. (2006). A profile of Olympic taekwondo competitors. Journal of Sports Science & Medicine, 5(CSSI), 114-121. Kinovea (2016). Kinovea video player for sport analysis. Retrieved from https://www.kinovea.org/ Kukkiwon. (2013). Foreigner Instructors course text book. Seoul. South Korea. Lee, K. M. (2000). Taekwondo: Korean traditional martial arts. Philosophy & Culture. Tze, C. L. et. al. (2001). Analysis of strategy used in taekwondo competition. Biomechanics Symposia 2001, University of San Francisco. Victor G.F. Santos, Emerson, F., & Adriano E.L. (2011). Relationship between attack and skipping in taekwondo contests. Journal of Strength and Conditioning Research, 26(6), 1743-1751. World Taekwondo. (2016). World taekwondo members. Retrieved from http://www.worldtaekwondo.org/about-wt/members/ Received: June 7, 2019 Revised: August 2, 2019 Accepted: August 6, 2019
ชีวกลศาสตร์ของการยงิ ประตรู ะยะ 3 คะแนนในนักบาสเกตบอลมืออาชีพ และมอื สมัครเลน่ วริ ฒุ เหลืองเพชรงาม1 วชั รี ฤทธวิ ชั ร์1 และพรเทพ ราชนาวี2 1คณะบัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 2คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี บทคัดย่อ ปัจจัยด้านคิเนติกส์และคิเนเมติกส์มีความสาคัญต่อประสิทธิภาพ และความคงท่ีในการยิงประตูระยะ 3 คะแนน ซึ่งเปน็ คะแนนสงู สดุ ในกฬี าบาสเกตบอลสามารถทาให้ทมี กลับมามีคะแนนนาได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาตัวแปรและความสัมพันธ์ทางชีวกลศาสตร์ในการยิงประตูระยะ 3 คะแนน กลมุ่ ตวั อย่างเป็นนักกีฬาบาสเกตบอลมอื อาชีพ จานวน 4 คน และมือสมัครเล่น จานวน 6 คน ดาเนินการ วิจัยโดยให้นักกีฬาบาสเกตบอลยิงประตู คร้ังละ 5 ลูก จานวน 2 เซต พักระหว่างการยิงแต่ละลูก 1-3 นาที และ พักระหว่างเซต 5-7 นาที บันทกึ ข้อมูลดว้ ยกล้องความเร็วสูงจานวน 6 ตัว ความถี่ 280 เฮิร์ต และวัดแรงปฎิกิริยา จากพ้ืนด้วยแผ่นวัดแรงยี่ห้อ Kistler วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของตัวแปรทางชี วกลศาสตร์ในการกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนน โดยใช้สถิติการทดสอบค่าที (t-test) และใช้สถิติเพียร์สันคอ ริเลชน่ั (Pearson correlation) กาหนดคา่ นัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05 ผลการวิจัยพบว่า ทางคิเนเมติกส์และตัวแปรทางคิเนติกส์ของนักกีฬาบาสเกตบอลขณะยิงประตูระยะ 3 คะแนน มคี วามสัมพนั ธท์ างบวกท่ีมุมการยิงประตูระหว่างมุมข้อหัวไหล่และมุมข้อศอก (p=.002) ระหว่างมุมข้อมือ และมุมข้อเข่า (p=.000) นอกจากน้ียังพบความสัมพันธ์ทางลบท่ีมุมการยิงประตูระหว่างมุมศอก และมุมข้อเท้า (p=.004) และมุมข้อหัวไหล่และมุมข้อเท้า (p=.019) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มนักกฬี าบาสเกตบอลมอื อาชพี และมือสมคั รเล่น ไมพ่ บความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .05 คาสาคัญ คิเนตกิ ส์ คิเนมาติกส์ บาสเกตบอล Corresponding Author: นายวิรุฒ เหลืองเพชรงาม คณะบัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ E-mail: [email protected]
BIOMECHANICS OF 3-POINT SCORING IN PROFESSIONAL AND AMATEUR BASKETBALL PLAYERS Wirut Luenphtngam1, Watcharee Rittiwat1 and Phornthep Rachanavee2 1Graduate School, Srinakharinwirot University 2Bachelor of Science Program, Suranaree University of Technology Abstract Kinetics and Kinetics are important to the efficiency and stability of the 3 - point scoring, which is the highest score in basketball, which can bring the team back to have a leading score. This research aimed to study the biomechanics variables and the correlation in the 3 - point basketball shooting. The samples consisted of four professional and six amateur’s basketball players, who fired 5 balls, 2 sets of breaks during each shot, 1- 3 minutes and rested between 5- 7 minutes. This research was conducted in an experimental research design. The data were analyzed with a 3 D motion analysis program by six 280 Hz cameras. The data were analyzed by a mean (X̅), standard deviation (S.D.) value of biomechanics variables of 3 - point scoring in professional and amateur basketball players using Pair t-test statistic and Pearson correlation at the statistical significance level of .05. The results of biomechanics variables of 3-point scoring showed that positive correlation was found between the shoulder angle and the elbow angle (p = .002), between the wrist angle and the knee angle (p = .000), while negative correlation was found at the angle of shooting between the elbow angle and the ankle angle (p = .004), and shoulder angle and ankle angle (p = .019) at the level of .05. Additionally, no significant differences were found between professional and amature basketball players at the level of .05. Keywords: Kinetics, Kinematics, Basketball Corresponding Author: Wirut Luenphtngam Graduate school Srinakarintaravirot University E-mail: [email protected]
บทนา กีฬาบาสเกตบอลเป็นกีฬาท่ีนิยมในประเทศและต่างประเทศ นักกีฬาจึงต้องใช้ทักษะการเคล่ือนไหว เทคนิค แทคติค รูปแบบวิธีการเล่นอย่างรวดเร็วท้ังการรับและการรุกเพ่ือทาคะแนนด้วยความแม่นยา การทา คะแนนในกีฬาบาสเกตบอลมีระยะพ้ืนที่ในการทาคะแนน 2 คะแนน และ 3 คะแนน ซ่ึงการทาคะแนนระยะ 2 คะแนน เป็นการทาคะแนนระยะใกลแ้ ละหวังผลได้มากทสี่ ุดโดยเป็นพนื้ ท่ีปอ้ งกันงา่ ยไม่ให้คู่ต่อสู้ทาคะแนนได้ อีกท้ังยังเป็น พนื้ ที่เสี่ยงต่อการปะทะในขณะจะเข้าทาประตูโดยการเลย์อัพ และเปน็ พืน้ ท่ีป้องกันไม่ให้คตู่ อ่ ส้ยู งิ ประตูได้ง่ายซ่ึงยัง เป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการเลน่ ท่ีรุนแรงก่อใหเ้ กดิ การบาดเจ็บของนกั กีฬาและในช่วงท้ายเกมส์ของการแขง่ ขันเมื่อทมี ท่ีมี คะแนนตาม ในการยิงประตูเมื่อผู้เล่นกระทาฟาล์วในขณะที่มีการยิงประตูจะทาการยิงประตูเพ่ิมโดยการยิงประตู โทษทาให้ในการยิงประตูแต่ละคร้ังนักกีฬาจะต้องมีความแม่นยาและมีมุมของการปล่อยบอลแต่ละครั้งที่ลงห่วงให้ มีความใกล้เคียงกันท่ีสุดเพ่ือส่งผลต่อความแม่นยาในการยิงประตู จากงานวิจัย Ammar, Chtourou, Abdelkarim, Parish, & Hoekelmann, A. (2016) พบว่า มุมของข้อเข่าและความเร็วของข้อมือมีความสัมพันธ์ ต่อประสิทธิภาพในการยิงประตู และพบว่าความสัมพันธ์ของมุมของข้อเข่า มุมของสะโพก มุมของหัวไหล่ และ ความเร็วของข้อมือมีอิทธิพลต่อการยิงประตู อีกทั้งในการยิงประตูโทษมุมของข้อเข่าและความเร็วของข้อมือมี ความสมั พนั ธ์สงู และ Arias and Jose (2012) พบว่า มุมการปลอ่ ยลูกบอลท่ีมากจะมีผลต่อการยิงลงห่วงอีกทัง้ ยัง ขนึ้ อยู่กบั ประสบการณข์ องนกั กีฬา การศึกษารูปแบบการเคล่ือนไหวของมุมข้อต่อต่างๆในรยางค์ส่วนบน และระยางค์ส่วนล่าง ในการยิงประตู ระยะ 3 คะแนน เป็นการยิงระยะไกลจาเป็นต้องศึกษามุมของการยิงประตู และมุมในการกระโดดเพ่ือให้เกิด ประสิทธิภาพของการยิงประตูแต่ละคร้ัง อีกทั้งยงั ทาให้การยิงประตูมีความแม่นยาและทาให้เกิดความใกล้เคยี งท่สี ุด ของการยิงประตูทีล่ งห่วง หัวใจสาคัญของการเล่นบาสเกตบอล ผู้เล่นจะตอ้ งมกี ารฝึกในการยิงประตูในมุมต่างๆให้ เกิดความชานาญและแม่นยาจากการยิงประตูในลักษณะที่มีรูปแบบท่ีถูกต้องและมีผลต่อมุมของการปล่อยบอล เพ่ือให้เกิดความแม่นยา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย Okubo, & Hubbard (2015) พบว่า การยิงประตูบาสเกตบอล ในระยะ 3 คะแนน จะมีรูปแบบการยิงประตูโดยใช้แขนเดียว และเชื่อมโยงกับการปล่อยลูกบอลโดยข้อศอกและ ข้อมือเป็นจดุ สาคัญการปล่อย ซึ่งการปลอ่ ยในแต่ละครั้งจะสง่ ผลถงึ ความเรว็ ของบอล โดยการใช้ขอ้ ศอกและข้อมือ เปน็ การบังคับทิศทางในการปลอ่ ยพ้นื ท่ที มี่ ีระยะไกลจะส่งผลทาให้ความแม่นยาในการยงิ ประตูลดลง สอดคลอ้ งกับ งานวิจัยของ Okazaki, Victor, Rodacki, & Andre. (2012) พบวา่ ในการเพ่ิมข้ึนของระยะทางทาให้การยิงประตู มีความแม่นยาลดลงสาเหตุมาจากมุมในการปล่อยบอลลดลงและส่งผลต่อประสิทธิภาพในการยิงท่ีถูกต้องน้อยลง ทั้งน้ีการยิงประตูระยะ 3 คะแนนนั้น ยังต้องศึกษาด้านคิเนติกส์เพ่ือเกิดประสิทธิภาพในการกระโดดส่งผลต่อการ ยงิ ประตู ในการศึกษาด้านคิเนติกส์ของกีฬาบาสเกตบอลเป็นการศึกษาเรื่องแรงที่ส่งผลต่อการปล่อยบอล เน่ืองจาก ในการปล่อยบอลจะต้องมีการย่อเพ่ือที่จะส่งแรงไปยังการยิงประตู การใช้แรงแต่ละคร้ังจะแตกต่างกันสาเหตุมา จากระยะทางของการทาคะแนนในกีฬาบาสเกตบอลจะมีพื้นท่ีใกล้ห่วงและไกลห่วง โดยเรียกตามกติกาบาสเกตบอล วา่ พื้นที่ระยะ 2 คะแนน และระยะ 3 คะแนน ในพ้ืนท่ีระยะ 2 คะแนน เป็นพ้ืนทร่ี ะยะทีใ่ กลห้ ่วงอาจจะใช้แรงกระโดดยิง ประตูน้อยแต่จะใช้แรงกระโดดมากในการเลย์อัพเข้าทาคะแนนหรือเป็นการยัดห่วงมาก ส่วนระยะ 3 คะแนนเป็น ระยะไกลจากห่วงอาจจะต้องมีมุมของการย่อกระโดดหรอื ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสว่ นล่างเพอ่ื ท่ีจะสง่ แรงไปยัง
การปล่อยบอล ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัย Gaetano, et al. (2016) ซึ่งพบว่า การยิงประตูเป็นความสามารถเฉพาะตัว ของนักกีฬาและต้องมที ักษะการยิงประตูที่ถูกต้อง จากการวเิ คราะห์ระยะทางในการยิงประตูพบว่า มุมในการปล่อย ท่ีมมี มุ มากจะทาให้ประสบความสาเร็จได้มากกว่าการปลอ่ ยในมุมทมี่ ีขนาดน้อยกว่า ซง่ึ จะส่งผลทาให้ความแมน่ ยาในการยิง ประตูลดลง รวมทั้งมุมของข้อต่อระยางคส์ ่วนลา่ งเป็นปจั จัยร่วมที่สง่ ผลต่อแรงสง่ ของการปล่อยบอลโดยมมี ุมขอ้ เท้า ข้อเข่า และข้อสะโพก เป็นส่วนสาคัญของการส่งแรงเพ่ือที่ยิงประตูในระยะทางท่ีไกลเพ่ือเพ่ิมความแม่นยาในการ ยิงประตู ดังนน้ั นอกจากเทคนิคที่ถูกต้องแล้วนกั กีฬาจะต้องมีความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อเพราะจะชว่ ยเพ่ิมแรงส่ง จากการยิงประตูระยะไกล ดังน้ันผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาตัวแปรด้านคิเนเมติกส์ ได้แก่ มุมข้อหัวไหล่ มุมข้อศอก มุมข้อมือ มุมข้อเท้า มุมข้อเข่า และมุมข้อสะโพก และตัวแปรด้านคิเนติกส์ ได้แก่ แรงปฎิกิริยาจากพื้นในการกระโดดยิงประตู ระยะ 3 คะแนน และความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ในการกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนน ของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพ และมือสมัครเล่น เพ่ือเพิ่มศักยภาพของนักกีฬาและเป็นข้อมูลสาคัญให้กับผู้ ฝึกสอน และผู้ท่ีสนใจใหท้ ราบวธิ ีการยิงบาสเกตบอลทีถ่ ูกตอ้ ง และให้เกิดการยิงประตูที่ใกล้เคียงกนั ตลอดทกุ คร้ังท่ี ยงิ เพ่ือใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพของการยิงประตูสงู สดุ วัตถรุ ะสงค์ของการวจิ ยั 1. เพอ่ื ศกึ ษาตวั แปรดา้ นชีวกลศาสตร์ในการกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนนของนักบาสเกตบอล 2. เพื่อเปรียบเทียบตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ในการกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนนของนักบาสเกตบอล มืออาชีพและมือสมัครเล่น 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ในการกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนน ของนักกฬี าบาสเกตบอลมืออาชพี และมือสมัครเล่น สมมุติฐานในการวิจยั 1. ตัวแปรทางคิเนเมติกส์ ได้แก่ มุมข้อมือ มุมข้อศอก มุมข้อหัวไหล่ มุมข้อสะโพก มุมข้อเข่า และมุมข้อ เท้า และตัวแปรทางคิเนตกิ ส์ ไดแ้ ก่ แรงปฎกิ ริ ิยาจากพื้น สง่ ผลต่อการยิงประตูระยะ 3 คะแนน 2. ตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ในการกระโดดยิงกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนน มีความแตกต่างกันในนัก บาสเกตบอลมืออาชพี และมือสมัครเลน่ วิธกี ารดาเนินการวิจัย นักกีฬาบาสเกตบอลตาแหน่ง shooting guard และ point guard มือสมัครเล่นจานวน 6 คน อายุระหว่าง 17-18 ปี และมืออาชีพจานวน 4 คน อายุระหว่าง 19-30 ปี รวมท้ังสิ้น 10 คน ซ่ึงได้มาจากการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) และมีประสบการณ์ในการเล่นกีฬาบาสเกตบอลอย่างน้อย 1 ปี ไม่มีอาการบาดเจ็บที่ไม่ สามารถเล่นบาสเกตบอลเพือ่ ทดสอบได้ และผทู้ ดสอบรับทราบข้อมูลและลงช่อื ยินยอมเข้ารว่ มงานวจิ ยั นาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ด้วยระบบการวิเคราะห์การเคล่ือนไหวเป็นระบบ 3 มิติ ด้วยกล้องความเร็วสูง จานวน 6 ตัว ความเร็วกล้องในการจับภาพ 280 เฮิร์ต และวิเคราะห์แรงปฏิกิริยาจากพ้ืนด้วยแผ่นวัดแรงยี่ห้อ Kistler จานวน 1 เครื่อง กลุ่มตัวอย่างทาการอบอ่นุ ร่างกายก่อนเร่ิมทาการทดสอบอย่างน้อย 10-15 นาที จากนนั้
ทาการติดตัวสะท้อนแสง (Marker) จานวน 37 ตาแหน่งบนร่างกาย ได้แก่ Center of Frontal Bone, Right and Left Parietal Bone, Right and Left Acromion Bone, Sternum Bone, Right and Left Iliac Crest Bone, Right and Left Public Bone, Right and Left Lateral Cartilage Ligament, Right and Left Center of Patella Bone, Right and Left Head Tibia Bone, Right and Left Metatarsal Bone, Cervical 2, Thoracic 12, Right and Left Coronoid Fossa, Right and Left Lateral Epicondyle, Right and Left Medial Epicondyle, Right and Left Lunate Bone, Right and Left Ulna Bone, Right and Left Radial Bone, Center of Sacrum Bone, Right and Left of Calcaneus Bone, Right and Left of Talus Bone และ Right and Left of Talus Bone หลังจากติดตัวสะท้อนแสงบนร่างกายแล้ว กลุ่มตัวอย่างจะทาการทดสอบท่ีตาแหน่ง การยิงระยะ 3 คะแนน โดยการจาลองการยิงประตูเสมอื นจริงท่ีระยะ 90 องศา ด้วยการยิงประตูจานวนท้งั สิน้ 10 คร้งั แบ่งเป็น 2 เซต ๆ ละ 5 ครั้ง มีระยะเวลาในการพกั ระหว่างครงั้ อย่างน้อย 1-3 นาที และพกั ระหวา่ งเซต ๆ ละ 5-7 นาที เม่ือการทดสอบเสร็จส้ินจะต้องทาการยืดเหยียดกล้ามเนื้ออย่างน้อย 10-15 นาที จึงจะถือเป็นอันเสร็จ สิน้ การทดสอบ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป ในการคานวณหาคา่ เฉล่ีย (Mean) ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ตัวแปรทางคิเนเมติกส์ ได้แก่ มุมข้อมือ มุมข้อศอก มุมข้อหัวไหล่ มุมข้อสะโพก มุมข้อเข่า และมุมข้อเท้า และตัวแปรทางคิเนตกิ ส์ ได้แก่ แรงปฎิกริ ิยาจากพื้น ส่งผลต่อการยงิ ประตูระยะ 3 คะแนน โดยใช้สถิติการทดสอบ คา่ ที (t-test) และใชส้ ถติ ิเพียรส์ ันคอรเิ ลชน่ั (Pearson correlation) กาหนดคา่ นยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05 ผลการวจิ ยั ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ท่ัวไปของผ้เู ข้าร่วมวิจัย กลุ่มตวั อย่าง จานวน อายุ (ป)ี ส่วนสงู นาหนกั ความถนัด (n) (เซ็นตเิ มตร) (กโิ ลกรมั ) ซ้าย 9 คน และ 10 21.2±7.17 182.9±6.5 78.2±14.0 ขวา 1 คน จากตารางท่ี 1 แสดงท่ีเฉลี่ยอายุ ส่วนสูง และน้าหนักของกลุ่มตัวอย่าง จากข้อมูลพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ท้งั หมด (n = 10) แบ่งเป็นนักกีฬาอาชีพ (n = 4) ร้อยละ 40 เป็นนักกีฬาสมคั รเล่น (n = 6) ร้อยละ 60 โดยส่วน ใหญ่จะถนัดมอื ขวา (n = 9) ถึงร้อยละ 90 และมีอายุ ส่วนสูง และน้าหนักเฉล่ีย เท่ากับ 21.2±7.2 ปี, 182.9±6.5 เซนตเิ มตร, 78.2±14.0 กิโลกรัม ตามลาดบั
ตารางท่ี 2 เปรยี บเทยี บการทดสอบคา่ เฉลยี่ (Mean) และส่วนเบย่ี งเบนมาตราฐาน (S.D.) ของตัวแปรดา้ นชวี กล ศาสตร์ในการกระโดดยิงกระโดดยิงประตรู ะยะ 3 คะแนนของนักบาสเกตบอลมอื อาชีพและมอื สมคั รเล่น ตัวแปร กลุ่มตวั อยา่ ง ���̅��� S.D. df t p มมุ ขอ้ มือ (องศา) มอื อาชพี 142.85 7.76 8 -0.78 0.458 มอื สมคั รเล่น 143.78 0.85 มมุ ข้อศอก (องศา) มืออาชพี 152.05 1.5 8 -0.19 0.854 มือสมคั รเล่น 152.18 0.99 มมุ ขอ้ หวั ไหล่ (องศา) มอื อาชพี 115.7 1.46 8 0.273 0.792 มอื สมคั รเล่น 115.52 0.86 มุมข้อสะโพก (องศา) มอื อาชพี 184.1 0.07 8 0.612 0.558 มือสมัครเลน่ 183.88 0.44 มุมขอ้ เข่า (องศา) มอื อาชพี 167.93 17.84 8 -1.156 0.281 มือสมัครเล่น 169.88 0.32 มุมขอ้ เทา้ (องศา) มืออาชพี 133.18 0.58 8 0.323 0.755 มือสมคั รเลน่ 133.05 0.23 แรงปฏิกิรยิ าที่พ้ืน มืออาชีพ 705.3 100412.67 8 0.006 0.996 ขณะกระโดด (นวิ ตัน) มือสมคั รเล่น 704.48 20706.04 * p < .05 หมายถึง มีความสัมพนั ธอ์ ย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จากตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลย่ี (x̅) และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของของตัวแปรด้านชวี กลศาสตร์ใน การกระโดดยิงกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนนของนักบาสเกตบอลมืออาชีพและมือสมัครเล่น เม่ือเปรียบเทียบ กลุ่มนักบาสเกตบอลทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า ตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดบั .05
ตารางที่ 3 แสดงความสัมพันธ์ที่เก่ียวข้องกับตวั แปรทางคิเนเมติกสแ์ ละตัวแปรทางคเิ นติกส์ของนักกีฬา บาสเกตบอลขณะยงิ ประตูระยะ 3 คะแนน ตวั แปร มมุ มมุ ข้อหวั ไหล่ มุมข้อสะโพก มุมขอ้ เข่า มุมขอ้ เทา้ แรงปฏกิ ิรยิ าที่ ข้อศอก (องศา) (องศา) (องศา) (องศา) พืนขณะกระโดด (องศา) (นวิ ตัน) มมุ ข้อมอื คา่ r -0.302 -0.316 -0.027 0.923 0.496 -0.014 (องศา) p-value 0.397 0.374 0.94 .000* 0.145 0.969 มมุ ขอ้ ศอก คา่ r 0.842 -0.096 -0.087 -0.816 -0.372 (องศา) p-value .002* 0.791 0.811 .004* 0.29 มุมข้อหวั ไหล่ คา่ r -0.458 -0.017 -0.721 -0.489 (องศา) p-value 0.183 0.963 .019* 0.151 มุมขอ้ สะโพก คา่ r -0.244 -0.063 0.469 0.496 0.863 0.172 (องศา) p-value 0.246 -0.108 มมุ ขอ้ เข่า ค่า r 0.493 0.766 (องศา) p-value 0.252 0.482 มมุ ข้อเทา้ ค่า r (องศา) p-value * p < .05 หมายถึง มีความสัมพนั ธอ์ ย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ จากตาราง 3 แสดงความสัมพันธ์ที่เก่ียวข้องกับตัวแปรทางคิเนเมติกส์และตัวแปรทางคิเนติกส์ของ นักกีฬาบาสเกตบอลขณะยิงประตูระยะ 3 คะแนน พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกท่ีมุมการยิงประตูระหวา่ งมุมข้อ หัวไหล่และมุมข้อศอก ระหว่างมุมข้อมือและมุมข้อเข่า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 มีความสัมพันธ์ทาง ลบ ในมุมการยงิ ประตูระหว่างมุมศอกและมุมข้อเท้า และระหว่างมมุ ข้อหัวไหล่และมุมข้อเทา้ อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 สรปุ ผลการวิจยั ผลการวจิ ัยพบว่า 1. จากการทดสอบการกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (n = 10) เป็นนักกีฬาอาชีพ (n = 4) ร้อยละ 40 และเป็น นักกีฬาสมัครเล่น (n = 6) ร้อยละ 60 จาการสารวจพบว่า ส่วนใหญ่จะถนัดมือขวา (n = 9) ถึงร้อยละ 90 และมี อายุ สว่ นสูง และนา้ หนักเฉล่ยี เทา่ กับ 21.2±7.2 ป,ี 182.9±6.5 เซนติเมตร, 78.2±14.0 กิโลกรัม ตามลาดบั 2. ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน (S.D.) ของตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ในการกระโดดยิง กระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนน ของนักบาสเกตบอลมืออาชีพและมือสมัครเล่น จากการวิเคราะห์ข้อมูล คิเนเมติกส์ของข้อต่อระยางค์ส่วนบน พบว่า มุมข้อมือขณะยิงประตูของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพมีค่าเท่ากับ 142.85±7.76 องศา นักกีฬาบาสเกตบอลมือสมัครเล่นมีค่าเท่ากับ 143.78±0.85 องศา มุมข้อศอกขณะยิงประตู ของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพมีค่าเท่ากับ 152.05±1.50 องศา นักกีฬาบาสเกตบอลมือสมัครเล่นมีค่าเท่ากับ 152.18±7.76 องศา มุมข้อหัวไหล่ขณะยิงประตูของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพและนักกีฬาบาสเกตบอลมือ
สมัครเล่นมีค่าเท่ากับ 115.70±1.46 และ 115.52±0.86 องศา ตามลาดับ เมื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลคิเนเมติกส์ ของข้อต่อระยางค์ส่วนล่าง พบว่า มุมข้อสะโพกของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพและนักกีฬาบาสเกตบอลมือ สมัครเล่นขณะยิงประตูมีค่าเท่ากับ 184.10±0.07 และ 183.88±0.44 องศา ตามลาดับ มุมข้อเข่าขณะยิงประตู ของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพมีค่าเทา่ กับ 167.93±17.84 องศา นักกีฬาบาสเกตบอลมือสมัครเล่นมีค่าเท่ากับ 169.88±0.32 องศา มุมข้อเท้าขณะยิงประตูของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพมีค่าเท่ากับ 133.18±0.58 องศา นกั กีฬาบาสเกตบอลมือสมคั รเล่นมีค่าเท่ากับ 133.05±0.23 องศา จากการวิเคราะหข์ ้อมูลด้านคิเนติกส์พบว่า แรง ปฏิกิริยาท่ีพื้นขณะกระโดดยิงประตูของนักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพและนักกีฬาบาสเกตบอลมือสมัครเล่นขณะ ยิงประตูมีค่าเท่ากับ 705.30 และ 704.48 นิวตัน ตามลาดับ ซ่ึงจะเห็นได้ว่านักกีฬาบาสเกตบอลมืออาชีพจะมี ค่าเฉล่ียนของแรงปฏิกิริยาท่ีพื้นขณะกระโดดมากกว่านักกีฬาบาสเกตบอลมือสมัครเลน่ เล็กน้อย 3. จากการทดสอบการยิงประตูบาสเกตบอลของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด (n = 10) โดยการยิงประตูระยะ 3 คะแนน คนละ 10 ครั้ง พบว่า กลุ่มตัวอย่างสามารถยิงลูกลงห่วงได้ร้อยละ 43 (43/100 ครั้ง) หากพิจารณาเป็น รายกลุ่ม จะพบว่า กลุ่มนักกีฬาอาชีพ (n = 4) สามารถยิงลงห่วงได้ ร้อยละ 42.5 (17/40 คร้ัง) และกลุ่มนักกีฬา สมัครเล่น (n = 6) สามารถยิงลงหว่ งไดร้ ้อยละ 43.3 (26/60 ครง้ั ) 4. จากการเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตราฐาน (S.D.) ของตัวแปรด้านชีวกล ศาสตร์ในการกระโดดยิงกระโดดยิงประตูระยะ 3 คะแนนของนักบาสเกตบอลมืออาชีพและมือสมัครเล่น ไม่พบ ความแตกตา่ งอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ ท่ีระดับ .05 5. จากการวิเคราะห์ข้อมูลหาความสัมพันธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับตัวแปรทางคิเนเมติกส์และตัวแปรทางคิเนติกส์ ของนักกฬี าบาสเกตบอลขณะยิงประตรู ะยะ 3 คะแนน พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกทีม่ ุมการยงิ ประตรู ะหว่างมุม ข้อหัวไหล่และมุมข้อศอก (p=.220) ระหว่างมุมข้อมือและมุมข้อเข่า (p=.000) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ทางลบท่ีมุมการยิงประตูระหว่างมุมศอกและมุมข้อเท้า (p=.004) และมุมข้อ หัวไหลแ่ ละมุมขอ้ เทา้ (p=.019) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 อภิปรายผลการวิจยั จากการวิเคราะห์ตัวแปรทางคิเนเมติกส์และคิเนติกส์ในการยิงประตูระยะ 3 คะแนน ของกีฬา บาสเกตบอลโดยการจาลองการยิงประตูเสมือนจริงท่รี ะยะ 90 องศา ศกึ ษาตัวแปรทางคิเนเมตกิ ส์และคิเนติกส์ หา ความสัมพันธ์ระหว่างแรงปฏิกิริยาจากพ้ืนในการกระโดดกับมุมในการยิงประตูระยะ 3 คะแนน ระหว่างนัก บาสเกตบอลสมัครเลน่ และอาชีพ ผลการวจิ ยั พบว่า การศึกษาตัวแปรทางคิเนเมติกส์และคิเนติกส์ของ มุมข้อมือ มุมข้อศอก มุมข้อหัวไหล่ มุมข้อสะโพก มุม ขอ้ เขา่ มุมข้อเทา้ ของกล่มุ นกั กีฬามือสมัครเลน่ และมืออาชพี มีความสัมพนั ธท์ างบวกในมุมการยงิ ประตรู ะหวา่ งมุม ขอ้ หวั หวั ไหล่ และมุมข้อศอก มุมข้อมอื และมุมข้อเขา่ และมีความสัมพนั ธ์ทางลบได้แก่ มุมศอก และมมุ ข้อเท้า มุม ข้อหัวไหล่และมุมข้อเท้าในการยิงประตูระยะ 3 คะแนน ผลของการศึกษา พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติระดับ .05 ในขณะท่ีการเปรียบเทียบตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ระหว่างกลุ่มนักกีฬามือสมัครเล่น และมืออาชีพ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จากการศึกษาตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ สามารถนาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการยิงประตูระยะต่างๆ ของนักกีฬาบาสเกตบอลได้ ซึ่ง นักกีฬาที่ผ่านการฝึกซ้อม และประสบการณ์การแข่งขันมีผลต่อการวิเคราะห์ในอนาคตในทางทดี่ ีขึ้น แสดงใหเ้ ห็น
ถึงแนวโน้มที่เป็นไปได้ อีกท้ังยังข้ึนอยู่กับประสบการณ์ในการยิงประตู สอดคล้องกับการศึกษาของ Verhoeven, F. M., & Newell, K. M. (2016) พบว่า ความสัมพันธ์ของท่าทางในการยิงประตูและการควบคุมลูกบอลขณะ ปล่อยบอลมีส่วนสาคัญในการยิงประตู และมีผลต่อความแม่นยาท่ีมากขึ้นอีกท้ังยังรวมถึงทักษะของการยิงประตู ของนักกีฬา ในขณะท่ีการศึกษาตัวแปรทางคิเนเมติกส์ในกลุ่มนักกีฬาสมัครเล่น มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิตทิ ี่ระดับ.05 แต่เม่ือเปรียบเทียบผลท่ีแสดงกับกลมุ่ นักกีฬาอาชพี นั้นแสดงให้เหน็ ว่าทักษะการยงิ ประตู การ ปล่อยบอล ประสบการณ์ยังไม่สามารถเทียบเทา่ กลุ่มนักกีฬาอาชีพได้แต่การนาชีวลกลศาสตรม์ าเพ่ิมประสิทธภิ าพ มีผลถึงการพัฒนาในการยิงประตูของกลุ่มนักกีฬาสมัครเล่นให้มีทักษะที่ถูกต้องตามหลักการของการยิงประตูทาง ชีวกลศาสตร์และยังสอดคล้องกับ Chiao-Fang Hung., Chung – Chiang Chen. (2017) พบว่า การยิงประตูของกีฬา บาสเกตบอล ส่วนสาคัญคอื แรงของการย่อตัวเพื่อท่ีจะกระโดดยิงประตูทาให้ส่งผลต่อการปล่อยบอลโดยการใช้น้ิวมือ บงั คับทิศทางรวมถึงลาตัวมีผลต่อการปล่อยบอล เน่ืองจากการปลอ่ ยจะต้องอาศัยแรงในการกระโดด ลาตัวจะต้อง มีท่าทางท่ีถูกต้องเพื่อท่ีสามารถควบคุมทิศทางโดยใช้นิ้วมือเป็นส่วนท่ีบังคับของการปล่อยบอล ในขณะท่ีกลุ่ม นักกีฬาอาชีพศกึ ษาตวั แปรทางคิเนเมตกิ ส์ มคี วามแตกต่างอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ.05 Jan Legg., David B. Pyne et al., (2017) พบว่า ตัวแปรทางคิเนติกส์ในการกระโดดยิงประตูจะส่งผล ตอ่ การยงิ ประตูเมื่อมีระยะทางท่ีไกล มลี ักษณะท่าทางการกระโดดท่ีถูกต้อง รวมถึงมุมขอ้ เทา้ ขอ้ เขา่ ขอ้ สะโพก จะ มีผลต่อการส่งแรงไปยังการปล่อยบอล เมื่อเวลาแข่งขันที่นานกล้ามเน้ือแขนจะมีความเหนื่อยล้าประสิทธิภาพ ลดลงจงึ ทาให้ลักษณะการกระโดดมีสว่ นช่วยในการยงิ ประตูมากขนึ้ สรุปได้ว่า ตัวแปรทางคิเนเมติกส์และคิเนติกส์ หากมีการเคล่ือนไหวของระยางค์ส่วนบนรวมท้ังการ กระโดดยงิ ประตูท่ีอยู่ใกล้เคียงตาแหน่งของการยิงประตูในมมุ ทีถ่ ูกต้องทาให้การยิงประตูมคี วามแมน่ ยามากขึ้น ซึ่ง การยิงประตูระยะไกลจะต้องอาศัยทักษะ ประสบการณ์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพของการยิงประตู เม่ือมุมข้อต่อต่างๆได้แก่ มุมข้อเท้า ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อหัวไหล่ ข้อศอก ข้อมือ มีองศาของการปล่อยบอลออก จากมือท่ีใกล้เคียงกันต่อการปล่อยบอลในแต่ละครั้ง และสามารถควบคุมองศาของข้อต่อก่อนปล่อยบอลได้ เหมาะสม มุมข้อต่อต่างๆมีความสัมพันธ์กันอย่างสม่าเสมอ จะช่วยให้นักกีฬาหรือผู้เล่นสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการยิงประตูระยะไกลได้ดี อีกทั้งช่วยลดความเม่ือยล้าของกล้ามเนื้อแขนตลอดระยะเวลาการแข่งขัน อีกท้ังยัง สามารถเพ่ิมศกั ยภาพของกลุม่ นักกฬี าสมคั รเล่นให้สามารถแสดงความสามารถออกมาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ข้อเสนอแนะจากการวจิ ยั 1. ควรมกี ารศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารยิงประตูของนกั กฬี าในสถานการณก์ ารแข่งขนั จริง 2. ควรมีการศึกษาและหาความสัมพันธ์ของตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์อ่ืนๆ เพิ่มเติม ท้ังในจังหวะการยิง ประตู และการเคลือ่ นไหวกอ่ นและหลงั การยงิ ประตูที่สบื เน่ืองกัน 3. ควรมีการศึกษาและหาความสัมพันธ์ของตัวแปรด้านชีวกลศาสตร์ ในการยิงประตูที่ตาแหน่งของการ ยงิ ประตตู า่ งกนั
References Ammar, A., Chtourou, H., Abdelkarim, O., Parish, A., & Hoekelmann, A. (2016). Free throw shot in basketball: Kinematic analysis of scored and missed shots during the learning process. Sport Sciences for Health, 12(1), 27-33. Arias, Jose L. (2012). Influence of ball weight on shot accuracy and efficacy among 9-11-year-old male basketball players/Utjecaj tezine lopte na preciznost i ucinkovitost bacanja na kos kosarkasa u dobi od 9 do 11 godina. (Original scientific paper)(Report). Kinesiology, 44(1), 52-59. Chiao-Fang Hung, Chung-Chiang Chen, Shin-Hung Lin, and Tien-Kan Chung (2017). Finger and palm dynamic pressure monitoring for basketball shooting. Hindawi Journal of Sensors Volume 2017, Article ID 9352410, 5 pages. Gaetano, Raiola, Gaetano, Altavilla, Domenico, Tafuri, & Mario, Lipoma. (2016). Analysis of shot in basketball: Kinematic analysis of scored and missed shots during the learning process. Sport Sciences for Health, 12(1), 27-33. Jan Legg,David B. Pyne , Stuart Semple & Nick Ball. (2017). Variability of Jump Kinetics Related to Training Load in Elite Female Basketball. Sports 2017, 5, 85; learning a basketball shot. Journal of Physical Education and Sport, 16(1), 3-7. doi:10.3390/sports5040085. Okazaki, Victor Hugo Alves, & Rodacki, Andre Luiz Felix. (2012). Increased distance of shooting on basketball jump shot. Journal of Sports Science and Medicine, 11(2), 231-237. Okubo, Hiroki; Hubbard, Mont. (2015). Kinematics of Arm Joint Motions in Basketball Shooting. Procedia Engineering, 112, 443-448. Verhoeven, F. M., & Newell, K. M. (2016). Coordination and control of posture and ball release in basketball free-throw shooting. Human Movement Science, 49, 216-224. doi:10.1016/j.humov.2016.07.007. Received: March 22, 2019 Revised: May 1, 2019 Accepted: May 3, 2019
ปจั จัยทม่ี ีผลต่อความภักดตี อ่ องคก์ ารของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย กฤษฎา ปาณะเสรี และ พัชรมน รักษพลเดช คณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ บทคัดยอ่ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพ่ือ 1)เพื่อศึกษาความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬา วอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย 2) เพ่ือศึกษาปัจจัยท่ีงผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬา วอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย 3) เพื่อนาผลการวิจัยท่ีได้เสนอแนะเป็นแนวทางต่อผู้บริหารในการหาแนวทาง เสริมสร้างเสริมความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในอนาคต กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ตัดสินกีฬาวอลเลย์บอล ซึง่ ข้ึนทะเบียนกับสมาคมกีฬาวอลเลยบ์ อลแห่งประเทศไทย จานวน 200 คน ซึ่งได้มาโดยวธิ สี ุ่มตัวตัวอย่างตาม ความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม สาเร็จรปู นาเสนอข้อมูลดว้ ยรอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการวิคราะหถ์ ดถอยเชงิ พหคุ ณู ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 40-50 ปี มีระยะเวลาท่ีร่วมงานกับสมาคมกีฬา วอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยมากกว่า15 ปี และมีประสบการณ์ในการทางานในฐานะผู้ตัดสินกีฬา วอลเลย์บอลมากกว่า 15 ปี กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อการเพ่ิมคุณค่าในงานในระดับเห็นด้วยมากท่ีสุด มี ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากที่สุด และมีความคิดเห็นต่อความภักดีต่อองค์การในระดับเห็นด้วยมาก ที่สุด ผลการวิคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ พบว่า ปัจจัยความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีผลต่อความภักดีต่อ องคก์ ารเป็นอันดับทีห่ น่ึงเ (Beta = 0.438) ตามด้วยปจั จยั การเพ่ิมคุณค่าในงาน (Beta = 0.388) และปัจจัย อายุ (Beta = 0.144) และทั้งสามปจั จยั สามารถทานายความภักดีต่อองค์การไดร้ ้อยละ 60.0 อยา่ งมีนัยสาคัญ ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 คาสาคัญ: ความภักดตี ่อองคก์ าร การเพิม่ คุณค่าในงาน ความพึงพอใจในการปฏบิ ตั ิงาน ผตู้ ดั สนิ กฬี าใน สมาคมกฬี าวอลเล่ยบ์ อลแหง่ ประเทศไทย Corresponding Author: นายกฤษฎา ปาณะเสรี คณะสหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ E-mail: [email protected]
FACTORS AFFECTING ORGANIZATIONAL LOYALTY OF REFEREES IN THAILAND VOLLEYBALL ASSOCIATION Kritsada Panaseri and Patcharamon Rucksapoldech Faculty of Allied Health Sciences, Thammasat University Abstract The purposes of this research were to 1 ) study the organizational loyalty of the referees in the Volleyball Association of Thailand, 2 ) study the factors affecting the organizational loyalty of the referees in the Volleyball Association of Thailand, and 3 ) propose guidelines to the administrators for the ways to strengthen the organizational commitment of employees. The sample group consisted of 200 volleyball judges registered with the Volleyball Association of Thailand, which were obtained by a convenience sampling method. The questionnaire was used as a research instrument for data collection. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The result revealed that most of the samples were 40-50 years old, with more-than- 15-year working experience with the Volleyball Association of Thailand and more-than- 15-year working experience as a volleyball referee. They agreed most with job enrichment, their job satisfaction was found at a highest level and their opinions towards organizational loyalty was found at a highest level. The results of multiple regression analysis showed that the job satisfaction variable had the highest level of loyalty to the organization (Beta = 0 .4 3 8 ) followed by job enhancement (Beta = 0.388) and age. (Beta = 0.144) and all three variables can predict the loyalty to the organization at 6 0 .0 percent with the statistical significance level of .05. Keywords: Organizational Loyalty, Job Enrichment, Job Satisfaction, Referees in Thailand Volleyball Association Corresponding Author: Mr.Kritsada Panaseri Faculty of Allied Health Sciences, Thammasat University E-mail: [email protected]
บทนา กีฬาวอลเลย์บอลเป็นกีฬาสากลชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมในทุกระดับ เห็นได้จากการแข่งขันกีฬา ในระดับนานาชาติ เช่น โอลิมปิคเกมส์ เอเช่ียนเกมส์ กีฬาวอลเลย์บอลจะเป็นชนิดกีฬาที่ได้รับการบรรจุให้มี การจัดการแข่งขัน สาหรับในประเทศไทย กีฬาวอลเลย์บอล ได้รับความสนใจจากบุคคลทุกเพศทุกวัย อีกท้ัง กระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักถึงความสาคัญ ได้จัดให้มีการเรียนการสอนในสถานศึกษา ต้ังแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา และมีการจัดการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลหลายระดับ ทั้งสถาบันการศึกษา สโมสร กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย กีฬาระดับชาติ (Damrong Phetploynin, 2009, p.3) ในการ แข่งขันในกีฬาวอลเลย์บอลแต่ละครั้งจะมีความสนุกสนาน ตื่นเต้น เร้าใจ ต้องดาเนินไปตามกฎ กติกา และ ข้อบังคับต่าง ๆ ผู้เล่นทุกคนต้องมีความเข้าใจในกฎ กติกา หรือข้อบังคับในการเล่นว่าต้องเล่นอยู่ในกรอบท่ี กาหนด ถ้าหากวา่ คู่แข่งขนั เล่นและแขง่ ขนั อยู่ในกรอบกติกาที่กาหนด และให้ความซ่ือสัตย์ต่อข้อกาหนดนน้ั ๆ แล้ว การเลน่ หรือการแข่งขันก็คงจะไม่ต้องให้มีบุคคลอื่นเข้าไป เก่ียวข้องอีก แต่เม่ือขนึ้ ชื่อว่า “แข่งขัน” ผู้เล่น บางคนตงั้ ความหวังไว้ให้กบั ตนเองว่าต้องเอาชนะคู่ต่อสใู้ ห้ได้ถึงแม้วา่ จะยงั ไม่เห็นคู่ต่อสู้เลย เขากต็ ้องตั้งความหวัง ไว้ก่อนว่าจะต้องเอาชนะในการแข่งขัน ในเม่ือผู้เล่นบางคนที่ลงทาการแข่งขันต้องการที่จะเอาชนะคู่ต่อสู้ ใน การแข่งขันกอ็ าจจะมกี ารกระทบกระท่ังกนั หรืออาจทาผิดกฎ กติกาข้อบังคบั หรือระเบียบของการแข่งขันและผู้ ทจ่ี ะ ควบคุมใหก้ ารแข่งขนั ดาเนนิ ไปตามกติกา บคุ คลผูน้ ั้นก็คอื “ผูต้ ดั สนิ ” (Prasart Nophunt, 2005) การแข่งขันกีฬากีฬาวอลเลย์บอลต้องอาศัยผู้ตัดสินเป็นผู้ควบคุมดูแลการแข่งขันให้ดาเนินไปด้วย ความเรียบร้อย ดังนั้นผู้ตัดสินจึงมีบทบาทในการพิจารณาเกมส์การแข่งขันให้เป็นไปตามกฎ กติกา ของการ แข่งขัน ผู้ตัดสินต้องตัดสินอย่างยุติธรรม มีความรู้เรื่องกติกา มารยาท มีความสามารถในการใช้กติกาและ ตดั สินได้ทันที มีความสามารถใช้เทคนิควิธี และข้อปฏิบัติอย่างถูกต้อง แม่นยา ด้วยการฝึกอบรมให้มีความรู้ท่ี ทันสมัยอยู่เสมอและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เพื่อลดข้อผิดพลาดท่ีอาจเกิดข้ึนได้ ผู้ตัดสินกีฬา วอลเลย์บอลตอ้ งตระหนักอยู่เสมอว่าตนเองมีหนา้ ท่ีใหค้ วามยุติธรรมแก่ผู้เลน่ ทั้งสองฝ่ายทัดเทยี มกนั ผู้ตัดสนิ ท่ี ทาหน้าที่ตัดสินอย่างเข้มงวด ถูกต้อง ยุติธรรม มีประสิทธิภาพสูง จะเป็นส่วนหน่ึงท่ีช่วยผลักดัน ยกระดับ มาตรฐานการเลน่ และการแขง่ ขนั กฬี าวอลเลย์บอลใหส้ ูงขึ้นได้ เพราะการตัดสินทเ่ี ข้มงวดเรื่องกติกา จะทาให้ ผ้เู ล่นจาเป็นต้องปฏิบัติตามกติกาอย่างจรงิ จงั มคี วามเคารพกตกิ า และทาให้ผู้เล่นมีความสนใจในการศึกษาหา ความรู้เก่ียวกับกติกาการแข่งขันมากข้ึน ผู้ตัดสินท่ีดีต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการตีความของข้อความใน กติกาใหเ้ ข้าใจโดยถ่องแท้ทั่วถงึ และต้องติดตามศึกษาเกีย่ วกับการเปล่ียนแปลงของกติกา อีกทั้งทบทวนความรู้ ในกติกาเสมอจนเกิดความเข้าใจ และจาความในกติกาได้อย่างแม่นยาด้วย การตัดสินที่ดีควรใช้ความรู้ความ เข้าใจในกตกิ ามาทาการบังคบั ให้การแข่งขันเป็นไปในทางที่ดี กอ่ ให้เกดิ การเล่นอยา่ งมนี ้าใจต่อกนั และดารงไว้ ซึ่งความยุตธิ รรมต่อผูเ้ ล่นทั้งสองฝา่ ย (Thailand Volleyball Association, 2012) สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานหลักหน่วยงานหนึ่งในประเทศไทยท่ีมีหน้าที่ รับผิดชอบในการพฒั นากฬี าวอลเลย์บอล สมาคมกีฬาวอลเลยบ์ อลแหง่ ประเทศไทยมีบุคลากรหลายฝ่าย ซ่ึงบคุ ลากร ที่สาคัญ ได้แก่ ผู้ตัดสินกีฬาวอลเล่ย์บอล ผู้ตัดสินกีฬาไม่เพียงแต่ปฏิบัติหน้าท่ีของตนในการดาเนินงานให้การ แขง่ ขนั ไปตามกติกาและจดุ มุ่งหมายของการแข่งขันเท่าน้นั จะตอ้ งทางานประสานกับผคู้ วบคมุ การแข่งขัน ผู้ควบคุม การตัดสิน และทางานร่วมกับฝ่ายจัดการแข่งขันและเจ้าหน้าที่ฝ่ายอื่นๆ โดยอานวยความสะดวกให้เกิดความ มั่นใจในความสมบูรณ์ของการแข่งขัน ผู้ตัดสินต้องคานึงถึงปัจจัยด้านอ่ืนๆ ด้วย อาทิ ปัจจัยทางด้านสุขภาพ (ท้ังกายและใจ) ปัจจัยทางด้านสังคม ผู้ตัดสินต้องตระหนักอยู่เสมอว่าตนมิได้เป็นเพียงเจ้าหน้าที่ของสมาคม กฬี าวอลเลย์บอลเท่านั้น แต่เป็นทั้งครู ผู้สนับสนุน ผู้จัดการ และรวมไปถึงเป็นผู้แทนขององค์กรด้วย ผู้ตัดสิน
กีฬาถือเป็นทรัพยากรมนุษย์หน่ึงที่มีความสาคัญต่อการดาเนินงานของสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลให้ดาเนินงาน เป็นทรัพยากรมนุษย์เปรียบเสมือนขุมทรัพย์ท่ีมีค่ามหาศาล ดังนั้น จึงเป็นส่ิงที่สาคัญอย่างย่ิงท่ีองค์การจะต้อง ให้ความสาคัญและตระหนักถึงการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ (Thailand Volleyball Association, 2012) ในยุคปัจจุบันการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้นก็มิได้จากัดขอบเขตอยู่แค่การสรรหา และ คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาปฏิบัติงานในองค์การเท่าน้ัน แต่ย่ิงไปกว่าน้ันยังมีสิ่งสาคัญท่ีจะต้อง ดาเนินการควบคู่กันไป คือ การปลูกฝังหรือสร้างจิตสานึกให้บุคลากรภายในองค์การเกิดความพึงพอใจ ความ ผกู พัน ความซ่ือสัตย์ และภักดีท่จี ะร่วมมือและปฏบิ ัตงิ านให้กับองค์การตลอดไป โดยองค์การจะตอ้ งใส่ใจดแู ลรกั ษา ความก้าวหน้าในอาชีพการงานใหก้ ับบุคลากร อนั จะส่งผลให้บุคลากรมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสร้างช่ือเสยี ง และสรา้ ง ความสาเร็จให้กับองค์การโดยไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย และยากลาบาก แต่การที่องค์การจะคาดหวังและมุ่งผล ให้บุคลากรภายในองค์การปฏิบัติเช่นน้ันได้ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีองค์การจะต้องอาศัยปัจจัยต่าง ๆ เป็นแรงเสริม เพ่ือกระตุ้นและคอยผลักดันให้บุคลากรเกิดความภักดีต่อองค์การ เมื่อพนักงานมีความภักดีต่อองค์การ ก็จะ ส่งผลทาให้เกิดแรงผลักดัน แรงจูงใจ และกระตุ้นให้พนักงานพร้อมท่ีจะอุทิศตนเพื่อปฏิบัติงานหรือหน้าท่ีของ ตนจนสุดความ สามารถให้กับองค์การ เพราะด้วยความรู้สึกว่าตนเองก็มีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าขององค์การ เช่นเดียวกัน นอกจากน้ีความภักดีต่อองค์การก็ยังคอยทาหน้าที่ประสาน และเป็นตัวเช่ือมโยงระหว่างความ ต้องการของบุคลากรขององค์การให้สอดคล้องไปด้วยกันกับเป้าหมายขององค์การอีกด้วย (Robbins & Jude, 2015) ความภักดีต่อองค์การของพนักงานเป็นความรู้สึกโดยรวมท่ีมีต่องานและองค์การโดยที่ความผูกพันนั้น เป็นผลท่ีเกิดจากความพึงพอใจก่อนแล้วจึงเชื่อมโยงสู่ความผูกพันเป็นทัศนคติท่ีมีเสถียรภาพมากโดยก่อเกิด และพัฒนาไปอยา่ งชา้ ๆ ตามเวลาท่ีผ่านไป ความสัมพันธ์ที่มากข้นึ เร่ือยๆ ระหว่างบุคคลากรกับองค์การ ความ จงรักภักดีต่อองค์กรมีความหมายคล้ายคลึงกับความผูกพันต่อองค์กร เหมือนกันตรงที่พฤติกรรมการทางาน ของบุคลากรภายในองค์การ หากองค์กรสร้างความผูกพันที่ดีสาหรับบุคลากร ด้านความจงรักภักดีต่อองค์กร บุคลากรก็ควรจะมีเช่นกัน โดยความจงรักภักดีประกอบด้วยการแสดงออกของพนักงานในเชิงความรู้สึก (Emotionally) ความคิดหรือการรับรู้ (Cognitively) และเชิงกายภาพ (Physically) ในด้านความรสู้ กึ มคี ุณค่า (Meaningfulness) ความมั่นคง(Safety) และความพร้อมใช้งาน (Availability) ของพวกเขาต่อบทบาทในการ ทางานของพวกเขาที่เป็นสมาชิกขององค์การ ซ่ึงเป็นคานิยามของเมย์, กิบสันและฮาร์เตอร์ (May, Gilson & Harter, 2004) เนื่องจากเป็นคานยิ ามท่ไี ด้รบั การอา้ งองิ อยา่ งกว้างขวาง ดังน้ัน ส่ิงท่ีองค์การต้องตระหนักอยู่เสมอ คือ องค์การจะสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้บุคลากรเกิด ความภักดีต่อองค์การได้อย่างไรท่ีจะเอื้อให้บุคคลากรสามารถปฏิบัติงานอย่างทุ่มเทเต็มความสามารถเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ได้ จากความสาคัญและอิทธิความภักดีต่อองค์การท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการทางานของ บุคลากรภายในองค์การ ทาให้ผู้วิจัยสนใจท่ีจะศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินใน สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย เพื่อนาผลการวิจัยท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ในการนาเสนอต่อผู้บริหาร เพื่อท่ีจะได้ร่วมมือกันหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้มี ประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น เพื่อเสริมสร้างความภักดี และความผูกพันต่อสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศ ไทย และเพื่อรักษาผูต้ ดั สนิ ท่มี ีคุณค่าตอ่ สมาคมกฬี าวอลเลย์บอลแหง่ ประเทศไทยไวใ้ ห้นานท่สี ดุ
วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาความภักดตี ่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกฬี าวอลเลย์บอลแหง่ ประเทศไทย 2. เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีส่งผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง ประเทศไทย ตัวแปรทใี่ ช้ในการวิจยั 1. ตัวแปรอิสระ 1.1 ปัจจัยส่วนบคุ คล ได้แก่ อายุ ระยะเวลาทางานในองค์การ ประสบการณก์ ารทางาน 1.2 การเพิ่มคุณคา่ ในงาน (Dwyer & Fox, 2000) ประกอบด้วย (1) การมีโอกาสใชท้ ักษะขัน้ สูง (2) การได้ทางานทม่ี คี วามหมาย (3) การมีความรับผดิ ชอบ (4) ความมีอิสระในการทางาน (5) ความสามารถในการควบคุมงาน 1.3 ความพึงพอใจในการทางาน (Vinod Hatwal & Chaubey D.S., 2014) ประกอบดว้ ย (1) ลักษณะของงาน (2) การได้รับการยอมรบั (3) คา่ ตอบแทนและสวัสดกิ าร (4) ความสัมพนั ธก์ บั ผบู้ ังคับบัญชา (5) ความสมั พันธก์ ับเพ่ือนร่วมงาน (6) ความสาเรจ็ ของงาน 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความภักดตี ่อองค์การ (Moorman & Blakely, 1995) ประกอบด้วย (1) พฤติกรรมทแี่ สดงออกของพนกั งาน (2) การไมว่ ิพากษว์ จิ ารณอ์ งคก์ ารในที่สาธารณะ (3) การปกป้ององคก์ ารจากการวพิ ากษว์ ิจารณ์ของบุคลภายในและภายนอกองค์การ (4) การแสดงความภาคภมู ใิ จในองค์การตอ่ สาธารณชน (5) การใหข้ อ้ มูลทางบวกขององค์การ สมมติฐานการวจิ ัย 1.ปจั จัยส่วนบคุ คลมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสนิ ในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย 2.การเพ่ิมคุณค่าในงานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง ประเทศไทย 3.ความพึงพอใจในการทางานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอล แห่งประเทศไทย
กรอบแนวคิดการวจิ ัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ความภกั ดตี อ่ องคก์ าร ปัจจัยสว่ นบุคคล - พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกของพนักงาน - อายุ - การไมว่ พิ ากษ์วจิ ารณอ์ งคก์ ารในทีส่ าธารณะ -ระยะเวลาทางานในองค์การ - การปกป้ององคก์ ารจากการวิพากษว์ จิ ารณ์ - ประสบการณ์การทางาน ของบุคลภายในและภายนอกองคก์ าร การเพิ่มคุณคา่ ในงาน - การแสดงความภาคภูมิใจในองค์การต่อ - การมโี อกาสใชท้ กั ษะขน้ั สูง - การได้ทางานทีม่ คี วามหมาย สาธารณชน - การมคี วามรับผดิ ชอบ - การใหข้ ้อมูลทางบวกขององค์การ -ความมอี ิสระในการทางาน - ความสามารถในการควบคมุ งาน ความพงึ พอใจในการทางาน - ลักษณะของงาน - การไดร้ บั การยอมรับ - ค่าตอบแทนและสวสั ดิการ -ความสัมพันธก์ ับผบู้ งั คับบญั ชา - ความสัมพนั ธ์กับเพอ่ื นร่วมงาน -ความสาเรจ็ ของงาน วิธีดาเนนิ การวิจยั ผูว้ ิจยั ใชร้ ะเบียบวิธวี จิ ยั เชิงปรมิ าณในการวจิ ัยครั้งนี้ โดยมรี ายละเอียดของการดาเนนิ การวิจัย ดังน้ี ประชากรและกลุ่มตัวอย่างของการวจิ ัย ประชากร (Population) คร้ังนี้ ได้แก่ ผู้ตัดสินกีฬาวอลเลย์บอลซึ่งขึ้นทะเบียนกับสมาคมกีฬา วอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย จานวน 400 คน คานวณจานวนกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร Yamane ได้เท่ากับ 200 คน (Thailand Volleyball Association, 2012) จากนั้นจึงสุ่มแบบง่ายโดยวิธีสุมตัวอย่างตามความ สะดวก (convenience sampling) ในการสุ่มเลือกตัวอย่างของการวิจยั เพื่อให้กลุ่มตวั อย่างครบตามจานวนท่ี ต้องการ ผู้วิจัยแจกแบบสอบถามรวมจานวนทั้งสิ้น 250 ชุด ซึ่งมีจานวนมากกว่ากลุ่มตัวอย่างการวิจัยจานวน ท้ังสิ้นจานวน 50 ชุด (ร้อยละ 25) เพ่ือให้ครอบคลุมและป้องกันความผิดพลาดจากจานวนแบบสอบถามที่ ตอ้ งการ เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยคร้งั น้ีใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 คาถามเก่ียวกับปัจจัยส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 คาถามเก่ียวกับการเพิ่มคุณค่าในงาน ตอนที่ 3 คาถามเก่ียวกับ
ความพึงพอใจในการทางาน ตอนท่ี 4 คาถามเกี่ยวกับความภักดีต่อองค์การ ผู้วิจัยตรวจสอบคุณภาพ แบบสอบถามในด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ภายใต้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item objective congruence: IOC) ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 1.00 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดว่า เกณฑท์ ใ่ี ช้ตัดสนิ ความสอดคคลอ้ งของข้อคาถามมีค่าดัชนีความสอดคล้องไมน่ ้อยกว่า 0.50 (Ronna & Laurie, 2003) และตรวจสอบค่าความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม (Reliability) ด้วยค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค (Cronbach's Alpha Coefficient) ของแบบสอบถามทั้งฉบับได้เท่ากับ 0.925 ซึ่งได้ค่ามากกว่า 0.8 เป็นไป ตามเกณฑ์ที่กาหนดว่าค่าสัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาคมีค่า 0.8 ขึ้นไป (Eisinga, Te Grotenhuis, Peizer, 2012) แสดงวา่ เครือ่ งมือ แบบสอบถามมีความนา่ เช่ือถอื สามารถนาไปใช้ในการวิจยั ได้ การวเิ คราะหผ์ ลการวิจัย ผู้วิจัยได้ทาการตรวจสอบปัญหาตวั แปรมีความสัมพนั ธ์กันเองสงู (Multicollinearity) ว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ ไม่เกิน 0.80 หรือไม่ ด้วยวิธีการหาคา่ สัมประสิทธ์สิ หสัมพันธ์ (Correlation) พบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรต่างๆ ไม่เกิน 0.80 จงึ สามารถวเิ คราะห์การวิเคราะหถ์ ดถอยเชิงพหคุ ูณ (multiple regression analysis) ได้ การวิจัยคร้ังน้ีวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป นาเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive) ประกอบด้วยร้อยละ ค่าเฉล่ีย (̅X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณใน การทดสอบสมมตฐิ าน ผลการวิจยั ผวู้ จิ ัยนาเสนอผลการวิจัย ดังน้ี 1. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 40-50 ปี ร้อยละ 51.6 มี ระยะเวลาท่ีร่วมงานกับสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยมากกว่า15 ปี ร้อยละ 48.7 และมี ประสบการณ์ในการทางานในฐานะผ้ตู ดั สนิ กีฬาวอลเลย์บอลมากกวา่ 15 ปี ร้อยละ 50.8 2. ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นต่อการเพิ่มคุณค่าในงานโดยภาพรวม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี ความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมากที่สุด (X̅ = 4.44) ในรายด้านพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในระดบั เห็น ด้วยมากท่ีสุดทุกด้าน โดยด้าน “การมีความรับผิดชอบ” มีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด (̅X = 4.63) รองลงมา ด้าน“การมี โอการใชท้ กั ษะข้นั สูง” (X̅ = 4.45) และดา้ น “ความสามารถในการควบคุมงาน” มคี ่าเฉล่ียตา่ ทส่ี ุด (̅X = 4.34) 3. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึง พอใจมากที่สุด (̅X = 4.36) ในรายด้านพบว่า ด้าน “ลักษณะของงาน” กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจมากท่ีสุด มคี ่าเฉล่ียสูงท่ีสุด (̅X = 4.65) รองลงมา ด้าน“ความสาเรจ็ ของงาน” กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในระดบั ความ พึงพอใจมากที่สุด (X̅ = 4.42) และด้าน “ค่าตอบแทนและสวัสดิการ” กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในระดับ ความพงึ พอใจมาก มคี า่ เฉลยี่ ตา่ ท่ีสุด (̅X = 3.85) 4. ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นต่อความภักดีต่อองค์การโดยภาพรวมพบว่า กลุ่มตัวอย่างมี ความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยมากท่ีสุด (̅X = 4.58) ในรายด้านพบว่า กลุ่มตัวอย่างมคี วามคิดเห็นในระดบั เห็น ด้วยมากท่ีสุดทุกด้าน โดยด้าน “การไม่วิพากษ์วิจารณ์องค์การในที่สาธารณะ” มีค่าเฉลี่ยสูงท่ีสุด (̅X = 4.62) รองลงมา ด้าน“การให้ข้อมูลทางบวกขององค์การ” (X̅ = 4.60) และด้าน “การแสดงความภาคภูมิใจใน องคก์ ารตอ่ สาธารณชน” มีค่าเฉลี่ยต่าที่สุด (X̅ = 4.55) 5. ผลการทดสอบสมมตฐิ าน
ตารางท่ี 1 ค่าสมั ประสิทธกิ์ ารถดถอย (Regression Coefficient) ระหวา่ งตัวแปรปัจจัยสว่ นบุคคล ตวั แปร การเพ่มิ คุณคา่ ในงาน ตัวแปรความพึงพอใจในการปฏิบัติงานกบั ความภกั ดตี ่อองค์การ ตวั พยากรณ์ B S.E.b Beta t p-value คา่ คงท่ี .727 .207 .388 3.508* .001 การเพ่มิ คณุ คา่ ในงาน .437 .067 6.548* .000 ความพึงพอใจในการปฏิบตั งิ าน .401 .055 .438 7.319* .000 อายุ .005 .001 .144 3.498* .001 r =0.78 r2=0.60 S.E.=0.28 F=12.23 p-value=0.000 * มนี ยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05 จากตารางที่ 1 พบว่า ตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ตัวแปรการเพ่ิมคุณค่าในงาน ตัวแปรความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การ โดยตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธ์ิการถดถอย (B) จากสูงสุดไปหาต่าสุด ดังน้ี ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน จากผลการวิเคราะห์ข้างต้นตัวแปรทุกตัวสามารถ ใชพ้ ยากรณต์ ัวแปรตาม คือ ความภักดตี ่อองค์การได้ ดังนี้ Y=0.438X2+0.388X1+0.144X3 R2=0.60 เมื่อ Y =ความภกั ดตี อ่ องคก์ าร X1=การเพม่ิ คณุ ค่าในงาน X2=ความพงึ พอใจในการปฏบิ ตั ิงาน X3=อายุ จากสมการการถดถอยเชิงพหุคูณอธิบายได้ว่า ตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ตัวแปรการเพิ่ม คณุ ค่าในงาน ตวั แปรความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การ สามารถทานายความภักดี ต่อองคก์ ารไดร้ อ้ ยละ 60.0 อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.05 โดยเรยี งลาดับดังน้ี ตัวแปรความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีความสาคัญเป็นอันดับที่หน่ึงเน่ืองจากมีค่าสัมประสิทธ์ิการ ถถอยสูงท่ีสุด (Beta = 0.438) ค่า Beta =0.438 หมายความว่า จานวนความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน เพมิ่ ขนึ้ 1 หน่วย ความภักดตี อ่ องคก์ ารจะเพมิ่ ขนึ้ 0.438 ตัวแปรการเพ่ิมคุณค่าในงานมีความสาคัญเป็นอันดับที่สองเนื่องจากมีค่าสัมประสิทธิ์การถถอย รองลงมา (Beta = 0.388) ค่า Beta =0.388 หมายความว่า จานวนการเพ่ิมคุณค่าในงานเพิ่มขึ้น 1 หน่วย ความภักดตี ่อองค์การจะเพ่ิมขน้ึ 0.388 ตัวแปรอายุมีความสาคัญเป็นอันดับท่ีสามเน่ืองจากมีค่าสัมประสิทธิ์การถถอยต่าที่สุด (Beta = 0.144) คา่ Beta =0.144 หมายความว่า จานวนการเพิ่มคุณค่าในงานเพิ่มขน้ึ 1 หน่วย ความภักดีต่อองค์การ จะเพมิ่ ขึ้น 0.144 อภปิ รายผล จากผลการวิจัย สามารถอภิปรายได้ดงั น้ี 1. จากผลการวิจัยพบว่า ผู้ตัดสินกีฬาสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยมีความคิดเห็นต่อ ความภักดีต่อองค์การ โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ท้ังนี้เนื่องจาก ผู้ตัดสินกีฬาเป็นตาแหน่งท่ีมี ความสาคัญมากในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย มีหน้าท่ีตัดสินความถูกต้องในการแข่งขันกีฬา วอลเล่ยห์บอล สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยให้ความสาคัญตอ่ พนกั งานในตาแหน่งน้มี าก ผูต้ ัดสิน
จงึ มีความภักดีตอ่ องค์การมากทัง้ ภาพรวมและรายด้าน ไดแ้ ก่ พฤติกรรมทแ่ี สดงออก การแสดงความภาคภูมิใจ ในองค์การต่อสาธารณชน การไม่วิพากษ์วิจารณ์องค์การในที่สาธารณะ การปกป้ององค์การจากการ วิพากษ์วิจารณ์ของบุคคลภายในและภายนอกองค์การ และการให้ข้อมูลทางบวกขององค์การ ผลการวิจัย ดังกล่าว สอดคล้องกับพิชิต ขัตติเรือง (Pichit Khutruang, 2007) ซ่ึงศึกษาเรื่องความพึงพอใจโดยรวมและ ความภักดีต่อองค์การ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการทางานของพนักงานบริษัท สุพรีม พรีซิช่ัน แมนูแฟคเจอริ่ง จากัดท่พี บวา่ ความภกั ดตี อ่ องคก์ ารของพนักงานบริษัทโดยรวมอยู่ในระดบั สูง 2. จากผลการวิจัยที่พบว่า ผู้ตัดสินกีฬาสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยมีความพึงพอใจใน การปฏิบัติงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากท่ีสุด ท้ังนี้ เน่ืองจากสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศ ไทยเน้นการสร้างองค์ประกอบต่างๆ ที่เอ้ือต่อการปฏิบัติงานแก่ผู้ตัดสิน ได้แก่ลักษณะของงานที่ดี การสร้าง การยอมรับ การให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม การมีผู้บังคับบัญชา และการมีเพ่ือนร่วมงานท่ีดี ผลการวจิ ัยดังกล่าวสอดคลอ้ งกับทฤษฎีของลธู านส์ (Luthans, 2008) ได้กล่าววา่ ความพึงพอใจในงานเป็นผล จากการรับรู้ท่ีมีต่องาน โดยได้แบ่งมิติความพึงพอใจในงานแบ่งออกได้เป็น 3 มิติ คือ มิติที่ 1 ความพึงพอใจ เป็นการตอบสนองทางอารมณ์ของบุคคลต่องานที่ทา มิติที่ 2 ความพึงพอใจในงานหรือทัศนคตเิ ชงิ บวกต่องาน เกิดเมื่อพนักงานได้รับผลตอบแทนที่ยุติธรรมเม่ือเทียบกับงานท่ีทา และมิติท่ี 3 ความพึงพอใจในงานมี ความสมั พันธก์ ับทัศนคติในเรอื่ งงานคา่ ตอบแทน โอกาสความกา้ วหนา้ การบังคบั บัญชา และเพอื่ นรว่ มงาน 3. จากผลการวิจัยพบว่า ผู้ตัดสินกีฬาสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยมีความคิดเห็นต่อการ เพ่ิมคุณค่าในงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ทั้งนี้ เน่ืองจากสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง ประเทศไทยมีมาตรฐานการดาเนินงานอยู่ในมาตรฐานสากล มีการนาระบบการตรวจสอบคุณภาพมาใช้ ผู้ตัดสินกีฬาจึงต้องเพ่ิมคุณต่าในงานชองตนเองด้วย ผลการวิจัยดังกล่าว สอดคล้องกับธัญธิภา แก้วแสง (Tunitipha Kaewsang, 2015) ซ่ึงศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์กรกับความจงรักภักดี ตอ่ องค์กรของบุคลากรสหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จากัด (ในพระบรมราชูปถัมภ์) ที่พบว่า การเพิ่มคุณคา่ ใน งานมีผลตอ่ ความภกั ดีของบุคลากรโดยภาพรวมอยใู่ นระดับสูง 4. จากผลการทดสอบสมมติฐานที่พบว่า ตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ อายุ ตัวแปรการเพิ่มคุณค่าใน งาน ตัวแปรความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานมีผลต่อความภักดีตอ่ องคก์ าร ทัง้ น้ี เนื่องจากกว่า ท้งั น้ผี ู้ตดั สนิ ส่วน ใหญ่มีอายุระหว่าง 40-50 ปี ซึ่งนับว่าเป็นช่วงอายุท่ีเพ่ิมมากข้ึน ประกอบกับผู้ตัดสินกีฬาสมาคมกีฬา วอลเลยบ์ อลแห่งประเทศไทยมีความคิดเห็นตอ่ การเพิ่มคุณค่าในงานโดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด และมคี วามพงึ พอใจในการปฏิบตั ิงานโดยภาพรวมอยู่ในระดบั พงึ พอใจมากท่ีสดุ จงึ มีความภักดีต่อองค์การมาก ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยของ Niehoff, Moorman, Blakely and Fuller (2001) ท่ีได้ ทาการศึกษาถึงอิทธิพลของการเสริมสร้างพลังอานาจและการเพ่ิมคุณค่าในงานกับความ ภักดีต่อองค์การของ ลูกจา้ งในบรษิ ทั แห่งหนง่ึ พบว่าการเพ่มิ คุณคา่ ในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความภักดตี ่อองค์การ สรปุ ผลการวิจัย ผลการวิจัยเร่ืองปัจจัยที่มีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่ง ประเทศไทย พบว่า ผู้ตัดสินกีฬาส่วนใหญ่มีอายุ 40-50 ปี มีระยะเวลาท่ีร่วมงานกับสมาคมกีฬาวอลเลย์บอล แห่งประเทศไทยมากกว่า 15 ปี และมีประสบการณ์ในการทางานในฐานะผู้ตัดสินกีฬาวอลเลย์บอลมากกว่า 15 ปี ผู้ตัดสินกีฬามีความคิดเห็นต่อการเพิ่มคุณค่าในงานโดยภาพรวมและความภักดีต่อองค์การโดยภาพ รวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด ผู้ตัดสินกีฬามีระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยภาพรวม ในระดับ
พึงพอใจมากที่สดุ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ อายุ ตัวแปร การเพิ่มคุณค่า ในงาน ตัวแปรความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การ สามารถทานายความภักดีต่อ องคก์ ารไดร้ อ้ ยละ 60.0 อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานท่ี1ปัจจัยส่วนบุคคลมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ตัวแปรปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย (t-value= 3.498 p-value= 0.001) มีสัมประสิทธิ์การถถอยเท่ากับ0.144 ยอมรับสมมติฐาน สมมติฐานที่ 2 การเพ่ิม คุณค่าในงานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย ผลการ ทดสอบสมมติฐานพบว่า ตัวแปรการเพมิ่ คุณค่าในงานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬา วอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย (t-value=6.548 p-value= 0.000) มีสัมประสิทธิ์การถถอยเท่ากับ 0.388 ยอมรับสมมติฐาน สมมติฐานที่ 3 ความพึงพอใจในการทางานมีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินใน สมาคมกฬี าวอลเลยบ์ อลแห่งประเทศไทย ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ตัวแปรความพึงพอใจในการทางาน มีผลต่อความภักดีต่อองค์การของผู้ตัดสินในสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย (t-value=7.319 p- value= 0.000) มสี ัมประสทิ ธ์กิ ารถถอยเท่ากับ0.438 ยอมรบั สมมติฐาน ข้อเสนอแนะในการวจิ ัย 1.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1) สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยควรมีการพิจารณาปรับเบ้ียเล้ียง ค่าตอบแทน และ สวัสดกิ ารต่างๆ ให้เหมาะสมกับการปฏิบัตหิ น้าทแ่ี ละมใี ห้เพยี งพอกบั สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบนั 2) สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย ควรจัดให้มีการทากิจกรรมร่วมกันระหว่าง ผู้บังคับบัญชา และเพื่อนร่วมงานเพื่อเป็นการกระชับและสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี ระหว่างผู้บังคับบัญชา และ เพ่ือนรว่ มงาน ควรสนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นในการปฏิบัติงาน เพ่ือกอ่ ให้เกิดความร่วมมือในการ ปฏิบตั ิงาน และส่งเสรมิ ให้มกี ารทางานร่วมกัน จะส่งผลให้การทางานทม่ี ีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล อย่างมี ความสุข มีความภกั ดตี อ่ องคก์ าร 3) สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทยควรให้ความสาคัญกับการอบรมเพ่ือพัฒนาความรู้อยู่ เสมอเพราะในปัจจุบันเป็นยุคของโลกาภิวัฒน์ วิวฒั นาการ และนวัตกรรมใหม่ๆ มใี หเ้ ห็นอยู่เสมอ ผู้ตดั สินกีฬา จึงควรได้รับการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาความรู้อยู่อย่างต่อต่อเน่ือง เพื่อนามาประยุกต์และปรับปรุงในการทางาน ใหม้ ีประสิทธิภาพมากย่งิ ข้ึน เพื่อสรา้ งแรงจูงใจที่ดีต่อความภักดตี อ่ องคก์ ารพฤติกรรมการทางาน 2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยครัง้ ต่อไป 1) ควรมีการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพหรือการวิจัยเชิงผสานศึกษาเรื่องความภักดีต่อ องค์การเพื่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจในเนื้อหาของความภักดตี ่อองค์การเพ่ิมขน้ึ 2) ควรมกี ารวิจยั ตัวแปรอ่นื ทม่ี ผี ลต่อความภักดตี ่อองค์การ References Damrong Phetploynin. (2009). Female vollyeball team management in 37th Sport Authority of Thailand. (Master’s thesis). Naresuan University. Dwyer, D.J., and Fox, M.L. (2000). The moderating role of hostility in the relationship between enriched jobs and health. Academy of Management Journal, 43(6), 1086–1096.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312