Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563

วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563

Description: เรื่อง ความต้องการและความกังวลต่อรูปแบบและเนื้อหาด้านสุขภาวะที่โพสต์บนสื่อสังคมออนไลน์สำหรับสตรีวัยทำงาน
โดย สมิทธิ์ บุญชุติมาและคณะ

Search

Read the Text Version

วารสารการประชาสมั พันธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับท่ี 2 2563 …53 ความตอ้ งการและความกงั วลตอ่ รปู แบบและเนอ้ื หาด้านสขุ ภาวะ ท่ีโพสต์บนสื่อสงั คมออนไลน์สาหรบั สตรีวัยทางาน The Requirement and Concern towards Health Form and Content Posted on Social Media for Working Age Women Received: December 23, 2019 / Received in revised form: February 25, 2020 / Accepted: March 2, 2020 สมิทธิ์ บุญชตุ ิมา Smith Boonchutima* ปาริชาต สถาปติ านนท์ Parichart Sthapitanonda** ธรี ดา จงกลรัตนาภรณ์ Teerada Chongkolrattanaporn*** กริ ติ คเชนทวา Kirati Kachentawa**** บทคดั ย่อ อัจฉรา บุญชุม Achara Bunchum***** การวิจยั นม้ี วี ัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาความต้องการและความกังวลต่อรูปแบบและเน้ือหาด้านสุขภาวะ ที่โพสต์บนสื่อสังคมออนไลน์สาหรับสตรีวัยทางาน และ 2) เปรียบเทียบความต้องการและความกังวลต่อรูปแบบและ เนื้อหาด้านสุขภาวะท่ีโพสต์บนสื่อสังคมออนไลน์ของสตรีวัยทางานที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานท่ีแตกต่างกัน โดยใช้ ระเบียบวิธีวิจยั เชงิ ปริมาณ และวิธีวิจัยเชิงสารวจกับกลุ่มสารวจสตรีวัยทางานท่ีมีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จากหน่วยงาน ราชการ หน่วยงานเอกชน และสถานประกอบการ/โรงงาน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จานวน 1,074 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพบว่า 1) สตรีท่ีทางานในหน่วยงานเอกชนมีความต้องการรูปแบบเน้ือหาด้านสุขภาวะแบบวิดีโอ อะนิเมช่นั ภาพสรปุ ข้อมลู แบบอนิ โฟกราฟกิ และภาพถ่าย ในขณะท่ีสตรีท่ีทางานในหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และ โรงงาน/สถานประกอบการมีความต้องการรูปแบบเนื้อหาแบบข้อความล้วนมากกว่าสตรีที่ทางานในหน่วยงานเอกชน 2) สตรีท่ที างานในหน่วยงานเอกชนมคี วามต้องการขอ้ มูลดา้ นสุขภาวะท่ีแสดงการเปรียบเทียบก่อนและหลัง และการให้ ขอ้ มูลทางการแพทยป์ ระกอบมากกวา่ สตรที ่ที างานในหน่วยงานภาคภาครฐั /รัฐวิสาหกจิ และโรงงาน/สถานประกอบการ 3) สตรีที่ทางานในหน่วยงานเอกชนมีความต้องการเนื้อหาด้านสุขภาวะประเภทให้ความรู้ และการให้คาแนะนาในการ ปฏิบตั มิ ากกวา่ สตรที ่ที างานในหนว่ ยงานภาคภาครัฐ/รัฐวสิ าหกิจ และโรงงาน/สถานประกอบการ และ 4) สตรีที่ทางาน ในหน่วยงานเอกชนมีความกังวลว่าข้อมูลด้านสุขภาวะท่ีโพสต์บนส่ือสังคมออนไลน์ไม่ถูกต้อง ไม่น่าเชื่อถือ ส่วนสตรีท่ี ทางานในหน่วยงานภาครัฐมีความกังวลว่าข้อมลู มปี ริมาณน้อยเกินไปและการอาจจะนาไปสกู่ ารละเมิดสทิ ธผิ อู้ ่ืน คาสาคัญ : ความต้องการ, ความกงั วล, รูปแบบและเนื้อหาดา้ นสขุ ภาวะ, สตรวี ยั ทางาน *สมิทธ์ิ บุญชุติมา (วท.ด. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561) ปัจจุบันดารงตาแหน่ง รองศาสตราจารยป์ ระจาภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั **ปาริชาต สถาปิตานนท์ (Ph.D. International & Intercultural Development Communication, Ohio State University, USA, 1995) ปจั จุบันดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ประจาภาควชิ าการประชาสัมพนั ธ์ คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ***ธีรดา จงกลรัตนาภรณ์ (นศ.ด. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555) ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารยป์ ระจาภาควิชาการประชาสัมพนั ธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ****กิรติ คเชนทวา (ปร.ด. สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์และนวัตกรรม คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560) ปัจจุบันดารงตาแหน่งอาจารยป์ ระจาคณะส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง *****อจั ฉรา บุญชุม (วท.ด. สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารกฬี า คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557) ปัจจุบันดารงตาแหน่ง นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพิเศษ กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง “ความต้องการ และความกังวลต่อรูปแบบและเน้ือหาด้านสุขภาวะท่ีโพสต์บนแฟนเพจ เฟซบุ๊ก สาหรบั สตรวี ัยทางาน” ซึ่งไดร้ ับงบประมาณสนบั สนุนจากสานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) Corresponding Author Email: [email protected]

54… Journal of Public Relations and Advertising Vol. 13 No. 2 2020 Abstract และ รัตติกาล เจนจัด, 2556) ได้แบ่งกลุ่มความหมายของ “สขุ ภาพทด่ี ี” ออกเปน็ 5 ชดุ คือ (1) การไม่มีความเจ็บป่วย This research aimed to 1) study the (2) ความแข็งแรง (3) ความสามารถของบุคคลในการทาตาม requirement and concern towards health form and บทบาทหน้าที่ (4) การมีดุลยภาพระหว่างองค์ประกอบและ content posted on social media for working age ปจั จยั ตา่ ง ๆ และ (5) การมีความสัมพันธ์ทางสังคมท่ีดี ซ่ึงมี women and 2) compare the requirement and ความสอดคล้องกับนิยามของคาว่า “สุขภาวะในการ concern towards health form and content posted ทางาน” ที่เป็นการดูแลสุขภาพในมิติใหม่ที่มีองค์ประกอบ on social media for working age women who มากกว่า 2 อยา่ งคือ ไมใ่ ช่เพียงเร่อื งของการดูแลสุขภาพทาง worked in different sectors. The quantitative กายและใจเท่าน้ัน แต่จะต้องมีเร่ืองสังคมหรือส่ิงแวดล้อม research methodology was conducted, as well as เข้ามาเก่ียวข้อง ตลอดจนการส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง utilized survey research method to collect data พนักงานกับองค์กรและความสัมพันธ์ระหว่างเพ่ือนร่วมงาน from those who aged 15 years old from ด้วยกัน (สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ government sector, private sector and factory/ (สสส.), 2555) enterprise sector in Bangkok and its vicinity which amount to 1,074 samples factory/enterprise sector ดังน้ัน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม reflected that they required message in form of สขุ ภาพ หรือ สสส. จึงไดส้ งั เคราะห์คู่มอื ความสขุ 8 ประการ plain text more than working age women in private ในที่ทางาน (HAPPY WORKPLACE) หรือความสุขทั้งแปด sector. 2) Working age women in private sector (Happy 8) ข้ึนมาบนพ้ืนฐานของความต้องการให้เกิด required health information regarding before and ความสุขท่สี มดลุ ซ่งึ หากบุคลากรวยั ทางานเขา้ ใจหลักการใน after comparison display and providing medical เบื้องต้นก็จะเป็นการสรา้ งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรเหลา่ น้ีเป็นคนที่มี information more than working age women in สุขภาพท่ีดีและมีความสุข โดยความสุข 8 ประการในที่ government sector and factory/enterprise sector. ทางาน หรือความสุขท้ังแปด ประกอบด้วย 1) Happy 3) Working age women in private sector required Body คือ การมสี ขุ ภาพแข็งแรงทั้งกายและจิตใจ 2) Happy health information regarding message in terms of Heart คือ ความมีน้าใจเอื้ออาทรต่อกันและกัน เน่ืองจากมี providing knowledge and guiding to practice more ความเชื่อว่าความสุขท่ีแท้จริงคือการเป็นผู้ให้ 3) Happy than working age women in government sector Society คือ การมีความรักสามัคคีเอื้อเฟื้อต่อชุมชนที่ตน and factory/enterprise sector. While 4) Working age ทางานและพักอาศัย มีสังคมและสภาพแวดล้อมท่ีดี women in private sector were concerned about 4) Happy Relax คือ การรู้จักผ่อนคลายต่อสิ่งต่าง ๆ ใน health information posted on social media was การดาเนนิ ชีวติ เพราะเชอ่ื วา่ การที่คนทางานหากไม่รู้จักสรร incorrect and unreliable; however, working age หาการผ่อนคลายให้กับตนเอง จะทาให้ร่างกายและจิตใจ women in government sector were concerned เกิดความเครียด 5) Happy Brain คือ การศึกษาหาความรู้ towards little message volume and message might พัฒนาตนเองตลอดเวลา 6) Happy Soul คือ ความศรัทธา lead to abuse others. ในศาสนาและมีศีลธรรมในการดาเนินชีวิต เพราะเชื่อว่า หลักธรรมคาสอนของศาสนา เป็นส่ิงที่จะช่วยการดาเนิน Keywords: Requirement, Concern, Health form ชีวิตของทุกคนให้ดาเนินไปในเส้นทางที่ดีได้ 7) Happy and Content, Working Age Women Money คือ การรู้จักเก็บรู้จักใช้ ไม่เป็นหน้ี ปลูกฝังนิสัย อดออม ยึดหลักคาสอนการดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ บทนา พอเพียง และ 8) Happy Family คือ การมีครอบครัวที่ อบอนุ่ และมน่ั คง (สสส., 2554) “สุขภาพท่ีดี” เป็นท่ีปรารถนาของคนทุกเพศทุก วัย คาว่า \"สุขภาพ\" ได้มีผู้กล่าวถึง และให้คานิยามไว้ อน่ึง กรอบเนอ้ื หาดา้ นสุขภาพความสุข 8 ประการใน แตกต่าง หรือใกล้เคียงกันบ้าง ทั้งน้ี เทพินทร์ พัชรานุรักษ์ ท่ีทางาน หรือความสุขทั้งแปด (Happy 8) นั้นมุ่งให้องค์กร (2546, อ้างถึงใน กาญจนา แก้วเทพ, ขนิษฐา นิลผ้ึง ต่าง ๆ สร้างเสริมสุขภาวะองค์กร (Happy Workplace) ให้

วารสารการประชาสมั พนั ธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 2563 …55 ประสบผลสาเร็จ มีผลการดาเนินการท่ีพัฒนามามากกว่า 10 al., 2015; Tennant, Stellefson, Dodd, Chaney, ปี มีช่องทางในการแลกเปล่ียนข้อมูลผ่านส่ือสังคมออนไลน์ Chaney, Paige, & Alber, 2015) เพราะฉะน้ัน การเสริม เช่น เว็บไซต์ http://www.happy-workplace.com/ พลังอานาจให้กับสตรีวัยทางานในประเทศกาลังพัฒนา และเฟซบุ๊กแฟนเพจ thaihappy workplace ของสานักงาน ไม่ว่าจะเป็นการให้ศึกษาที่ดี หรือระบบสงั คมและวัฒนธรรม กองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. ตลอดจน ท่ใี หค้ วามเท่าเทียมทางเพศ จะส่งผลให้สตรีวัยทางานมีการ ส่ือสังคมออนไลน์ของภาคีเครือข่ายของ สสส. ทั้งภาครัฐ ค้นหาข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการดูแลสุขภาพผ่านส่ือต่าง ๆ และเอกชนเป็นพ้ืนท่ีสาธารณะแห่งการเรียนรู้ เพ่ือเชื่อมโยง และทาให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมต่อไป ซึ่งนับว่า ไปสู่สุขภาวะของบุคลากร ครอบครัว สังคม และชุมชน เป็นจุดเร่ิมต้นท่ี จะทาให้สังคมมีสุขภาวะที่ดีด้วย ที่เกี่ยวข้องให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไป นอกจากน้ี แนวทาง (Mainuddin, Begum, Rawal, Islam, & Islam, 2015) ความสุข 8 ประการในที่ทางาน ยังมีความเก่ียวข้องกับการ นอกจากนั้น จากข้อค้นพบของทัณฑกานต์ ดวงรัตน์ และ ดาเนินชีวิตในทุกด้านของประชาชน มุ่งทาให้ประชาชนมี กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ (2553) ยังระบุว่า หน่วยงานภาครัฐ สุขภาวะแบบองค์รวม กล่าวคือ ให้กับความสาคัญกับการ และภาคเอกชนมีรูปแบบและเทคนิคการถ่ายทอดเน้ือหาท่ี ดูแลสุขภาพกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณไปพร้อม ๆ แตกตา่ งกัน โดยหนว่ ยงานภาครฐั มกั เน้นการเผยแพร่เน้ือหา กนั ดังนั้น นอกจากการใช้ส่ือมวลชนเพ่ือการประชาสัมพันธ์ ประเภทข้อมูลข่าวสาร ผลงาน ความรู้ในเชิงวิชาการเพื่อ แนวทางความสุข 8 ประการในท่ีทางาน ส่ือสังคมออนไลน์ การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธม์ ากกว่ามุ่งหวังผลด้านการตลาด นบั เป็นชอ่ งทางทีม่ ศี กั ยภาพสูงในการเผยแพร่ สามารถสร้าง นอกจากน้ี แหลง่ ข้อมลู ยงั ตอ้ งมาจากนักวิชาการในภาครัฐท่ี การมีส่วนร่วมจากประชาชนได้ อีกท้ังประชาชนยังสามารถ ทางานในหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับเร่ืองที่เผยแพร่ ในขณะที่ แบ่งปนั ขอ้ มูลจากช่องทางเหลา่ นั้นให้กับบุคคลท่ีรู้จัก อันจะ ภาคเอกชนเน้นการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิตส่ือ นาไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีในการทางานต่อไป (Happy 8 และใช้เทคนิคการออกแบบต่าง ๆ ในการเผยแพร่ข่าวสาร Menu, 2012) เพื่อดงึ ดูดความสนใจจากผรู้ ับชม เน่ืองจากภาคเอกชนมีการ แข่งขนั กนั สงู แต่อย่างไรก็ตาม พบว่า ในปัจจุบันมีการแบ่งปัน (Share) ข้อมูลข่าวสารที่เป็นข่าวปลอม (Fake news) ดังนั้น ผู้วิจัยจึงตั้งข้อสงสัยว่า รูปแบบเน้ือหา เกี่ยวกับ “อาหารและการดูแลสุขภาพ” ในส่ือสังคม เทคนิคการถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความกังวลต่อ ออนไลนม์ ากเปน็ อันดบั หน่งึ ซ่งึ ถอื ว่าเป็นเร่ืองที่หน่วยงานท่ี รู ป แ บ บ แ ล ะ เ นื้ อ ห า ด้ า น สุ ข ภ า ว ะ ที่ โ พ ส ต์ บ น สื่ อ สั ง ค ม เกี่ยวข้องต้องเรง่ ให้ความสาคัญ เนื่องจากความเสียหายท่ีจะ ออนไลน์ ในกลุ่มสตรีวัยทางานเป็นอย่างไร รวมทั้งต้องการ เกิดขึ้นต่อผู้ท่ีเช่ือและปฏิบัติตามข้อมูลดังกล่าวน้ันอาจถึง เปรียบเทียบว่า สตรีวัยทางานที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ แก่ชีวิต ในส่วนของประเด็นด้านผู้รับสาร พบว่า ผู้รับสาร แตกต่างกัน มีความต้องการรูปแบบเนื้อหา เทคนิคการ ชาวไทยมักเช่ือข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะ ถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความกังวลต่อรูปแบบและ ข้อมูลท่ีถูกส่งต่อมาจากบุคคลท่ีตนเองให้ความเชื่อถือและ เน้อื หาด้านสุขภาวะท่ีโพสต์บนส่ือสังคมออนไลน์ ท่ีแตกต่าง ไว้วางใจ แม้ว่าจะมีคนอื่น ๆ เตือนว่าข้อความเหล่าน้ันเป็น กันหรือไม่ อย่างไร ท้ังนี้ เพื่อนาผลการวิจัยท่ีได้ไปพัฒนา เท็จและไมส่ อดคลอ้ งกับหลกั ฐานและข้อมูลทางการแพทย์ก็ รูปแบบและเนื้อหาตามแนวทางความสุข 8 ประการในที่ ตาม (ประวีณา พลเขตต์ และเจษฎา ศาลาทอง, 2561) ทางาน (Happy 8) ในสอื่ สังคมออนไลนต์ ่อไป ทั้งนี้ จากผลการวิจัยของนักวิชาการหลายท่าน วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั พบว่า สตรีมีการค้นหาข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพในส่ือ สังคมออนไลน์มากกว่าบุรุษ มากกว่าน้ัน สตรีวัยทางานยัง 1. เพื่อศึกษาความต้องการรูปแบบเนื้อหา เทคนิค เป็นผู้ท่ีมีศักยภาพสูงในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ท่ีทันสมัย การถ่ายทอด ประเภทเน้ือหา และความกังวลต่อรูปแบบ และยังมีพลังในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของ และเนื้อหาด้านสุขภาวะที่โพสต์บนสื่อสังคมออนไลน์ของ ตนเองและสามารถส่งตอ่ ความรู้สาหรับการดูแลสุขภาพของ สตรวี ัยทางาน ไม่ใช่แค่ตนเองเท่าน้ัน แต่สตรีวัยทางานยังค้นหาและส่งต่อ ความรู้สาหรับการดูแลสุขภาพไปยังคนที่ตนรัก เช่น คนใน 2. เพื่อเปรียบเทียบความต้องการรูปแบบเน้ือหา ครอบครัว และเพ่ือนร่วมงานในองค์กร เป็นต้น (Langer et เทคนิคการถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความกังวลต่อ รูปแบบและเนื้อหาด้านสุขภาวะที่โพสต์บนสื่อสังคม

56… Journal of Public Relations and Advertising Vol. 13 No. 2 2020 ออนไลน์ที่แตกต่างกัน ของสตรีวัยทางานที่ปฏิบัติงานใน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการรู้เท่าทนั สอื่ สังคมออนไลน์ หน่วยงานท่แี ตกตา่ งกัน การ รู้ เท่ าทั นส่ื อสั งคม ออนไลน์ หม ายถึ ง แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง ความสามารถในการเข้าถงึ การวเิ คราะห์ ประเมิน และส่ือสาร ข้อความได้หลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะในยุคที่เทคโนโลยี 1. แนวคดิ เกี่ยวกบั สตรีกบั ความต้องการข้อมลู ข่าวสาร สื่อใหม่มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดย้ัง ส่งผลให้ผู้คนในยุค ดา้ นสขุ ภาวะ ปจั จบุ ันหลีกเลย่ี งไม่ไดท้ ่ีจะต้องสื่อสารกับผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา (Wilson, Grizzle, Tuazon, Akyempong & Cheung, สตรีวัยทางานเป็นผู้ท่ีบทบาทสาคัญในการดูแล 2015) ดังน้ัน ผู้ใช้ส่ือสังคมออนไลน์จาเป็นต้องรู้จักที่มาท่ีไป สุขภาพของบุคคลอืน่ ๆ ซงึ่ จาเป็นตอ้ งมีความรู้ด้านสุขภาวะ ของกลไกการทางานของส่ือสังคมออนไลน์ ประโยชน์ และ ท่ีถูกต้องและรอบด้าน โดยภาพรวมพบว่า สตรีมีการค้นหา โทษของสื่อ ลักษณะการแพร่กระจาย ความรวดเร็ว ความ ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพในส่ือสังคมออนไลน์ประเภท เที่ยงตรง ซึ่งจะทาให้เราใช้ส่ืออย่างระมัดระวัง และมีสติมาก เฟซบุ๊กและทวิตเตอร์มากกว่าบุรุษ มากกว่านั้น สตรีวัย ขึ้น เช่น รู้ว่าเว็บไซต์วิกิพีเดียเป็นพื้นที่ท่ีใครก็ได้สามารถเข้า ทางานยังเป็นผู้ที่มีศักยภาพสูงในการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่ ไปบันทึก แก้ไขเร่ืองราวต่าง ๆ ได้ นั่นหมายถึงว่า ข้อมูลที่ ทันสมัย ทั้งยังมีพลังในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ ปรากฏอาจไมถ่ กู ตอ้ งทั้งหมด หรือเข้าใจว่า ข้อความ/รูปภาพ ของตนเองและสามารถสง่ ต่อความรู้สาหรับการดูแลสุขภาพ ในเฟซบุ๊กหรืออินสตาแกรมสามารถ “แก้ไขได้/ลบได้/โพสต์ ไปยังคนที่ตนรัก เช่น คนในครอบครัวและเพื่อนร่วมงานใน ใหม่ได้” หรือต้องการนาเสนอภาพให้สวยงาม ปราศจากรอย องค์กร เป็นต้น (Langer et al., 2015; Tennant, ตาหนกิ ส็ ามารถใชแ้ อปพลเิ คชนั ในสมาร์ตโฟนตกแต่งได้อย่าง Stellefson, Dodd, Chaney, Chaney, Paige, & Alber, งา่ ยดาย ซึ่งสง่ิ ที่ปรากฏไมใ่ ช่ความจริงแท้ แต่เป็น “ความจริง 2015) อีกทั้งยังพบว่า สตรีให้ความสาคัญกับกับการดูแล เทียม” (Pseudo-image/events) ที่คนติดตามบางส่วน สร้างเสริมสุขภาพมากกว่าบุรุษ ท้ังในแง่ของการให้ ทึกทักเอาว่า สิ่งที่ตนเองเห็นคือ “ความจริงแท้” (Real- ความสาคัญกับการดูแลสุขภาพทางกาย การค้นหาข้อมูล image/events) (สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล, ข่าวสารท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลสุขภาพ ตลอดจนการให้ 2553) นอกจากน้ัน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสาร ความสาคัญต่อผลกระทบท่ีมีต่อสุขภาพในระยะยาว เช่น ทาใหผ้ ูใ้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จานวนมากต้องเผชิญกับความกังวลใน สตรีจะให้ความสาคัญกับโฆษณาท่ีบ่งบอกถึงผลกระทบ การถูกเจาะข้อมูลส่วนตัว หรือข้อมูลท่ีไม่ต้องการให้ผู้อ่ืน ระยะยาวท่ีเกิดจากการสูบบุหร่ี ในขณะที่บุรุษจะให้ ทราบ โดยนักการตลาด หรือบริษัทโฆษณาออนไลน์ แม้แต่ ความสาคัญกับโฆษณาที่บ่งบอกถึงผลกระทบระยะส้ัน แฮ็กเกอร์ (Hacker) หรือผู้ที่ชอบเข้ามาค้นหาข้อมูลส่วนตัว มากกว่า นอกจากน้ี ยังพบว่า ข้อความด้านการดูแลสุขภาพ ของบุคคลในโลกออนไลน์ (Abuser) นอกจากนั้น ผู้ท่ีชอบ ที่สตรีให้ความสนใจ มักเป็นข้อความท่ีเน้นด้านอารมณ์ นาเสนอตัวตนผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ยังเส่ียงต่อการเส่ือม ความรู้สึก บ่งบอกถึงผลกระทบที่มีต่อสุขภาพในระยะยาว เสียภาพลักษณ์และช่ือเสียงของตนเอง เนื่องจากการกล่ัน ท้ังต่อตนเอง รวมถึงบุคคลที่ตนรัก ในขณะท่ีบุรุษมักสนใจ แกลง้ กันบนโลกออนไลน์ (Cyber bullying) เช่น การให้ร้าย ข้อความในเชิงเหตุผล โดยเน้นผลกระทบระยะสั้นท่ีจะเกิด การเข้ามาแสดงความเห็นในทางลบของคนจานวนมาก การ ขึ้นกับสุขภาพกายเป็นหลัก (Keller & Lehmann, 2008; หาเรื่องเพ่ือชวนทะเลาะ หรือการให้ข้อมูลที่เป็นเท็จแก่ Smith & Stutts, 2003) ท้ังนี้ ในประเทศกาลังพัฒนา สาธารณชนจากบุคคลท่ีเป็นฝ่ายตรงกันข้าม หรือแม้แต่การ พบว่า การเสริมพลังอานาจให้กับสตรีวัยทางาน ไม่ว่าจะ นาเสนอข้อมูลที่เป็นเท็จเก่ียวกับบุคคลนั้น ๆ ดังน้ัน ผู้ดูแล เป็นการให้การศึกษาท่ีดี หรือระบบสังคมและวัฒนธรรมที่ สื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภทควรจะมีจริยธรรมในการ เอ้ือต่อความเท่าเทียมทางเพศ ส่งผลให้สตรีวัยทางานมีการ ปกป้องขอ้ มลู สว่ นบุคคลของผู้ใช้งาน เชน่ การเปิดเผยข้อมูล ค้นหาข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการดูแลสุขภาพผ่านส่ือต่าง ๆ สว่ นตัวของแต่ละบคุ คลเท่าทีบ่ คุ คลน้นั ๆ ยนิ ยอมให้เปิดเผย และทาให้มีพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสมในท้ายท่ีสุด ซึ่ง และเปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถท่ีจะตรวจสอบ หรือ นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่จะทาให้สังคมมีสุขภาวะที่ดีตามไป เปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนตัวของตนได้ตลอดเวลา พร้อมทั้งมี ด้วย (Mainuddin, Begum, Rawal, Islam, & Islam, สิทธิท่ีจะปฏิเสธในสิ่งท่ีตนเองไม่ต้องการจะเปิดเผย 2015)

วารสารการประชาสมั พันธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบบั ท่ี 2 2563 …57 (Turner, 2003) มากไปกว่าน้ัน ผู้ใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ นอกจากนั้น กระบวนการถ่ายทอดข่าวสารด้านสุขภาพ ยังต้องเผชิญหน้ากับข้อมูลเท็จ (Fake news) จานวนมาก ระหว่างผู้ทีม่ สี ว่ นเกยี่ วข้องในการให้บริการด้านสุขภาพ ควร โดยพบว่า มีการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารที่เป็นข่าวปลอม เป็นข้อมูลท่ีนาเสนอมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเช่ือถือ เช่น เกี่ยวกับ “อาหารและการดูแลสุขภาพ” ในสื่อสังคม แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทันสมัย และ ออนไลน์มากเป็นอันดับหน่ึง (ประวีณา พลเขตต์ และ สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ของชุมชน มีความหลากหลาย แต่ เจษฎา ศาลาทอง, 2561) อีกท้ังข่าวท่ีปรากฏซ้า ๆ ในหน้า ต้องสื่อสารไปในทิศทางเดียวกัน ต้องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย นิวส์ฟีดของเฟซบุ๊กมักเป็นข่าวปลอมท่ีจูงใจให้คนเช่ือ ได้มาก โดยเนื้อหาจะต้องเป็นเน้ือหาท่ีไม่กากวม ชัดเจน ตลอดจนกดถูกใจ (Like) และแบ่งปันข่าวดังกล่าว ส่งผลให้ และไม่ยุ่งยากในการตีความ (วิรัช ลภิรัตนกุล, 2552; ข่าวปลอมปรากฏบนนิวส์ฟีดของเฟซบุ๊กมากกว่าข่าวจริง Ratzan, 1998) สอดคล้องกับข้อค้นพบของ ประวีณา พล และผู้คนที่ไม่ได้ตรวจสอบความถูกต้องและน่าเชื่อถือของ เขตต์ และเจษฎา ศาลาทอง (2561) ที่พบว่า ข้อมูลเกี่ยวกับ ข้อมูลหลงเชื่อข่าวดังกล่าวว่าเป็นข่าวจริง (Mena, 2017; การสร้างเสริมสุขภาพที่ผู้รับสารให้ความเชื่อถือ มักเป็น Ofcom, 2017) ในส่วนของประเด็นด้านผู้รับสาร พบว่า ข้อมูลที่ได้รับจากแพทย์ และผู้เชี่ยวชาญในด้านน้ัน ๆ ผรู้ ับสารส่วนหน่ึงยังแบ่งปนั ข้อมลู เท็จดงั กลา่ วไปให้ผู้รับสาร ข้อมูลผ่านการตรวจสอบ และมีหลักฐานการทดลองหรือ คนอื่น ๆ อีกด้วย ท้ังน้ี เน่ืองมาจากการขาดทักษะในการ วิจัยที่พิสูจน์ได้ ตรวจสอบความถูกต้องและน่าเชื่อถือของข้อมูล ตลอดจน ผู้รับสารกลุ่มดังกล่าวให้ความไว้วางใจกับข้อมูลที่ตนเอง นอกจากนี้ แนวทางการส่ือสารออกแบบเนื้อหา ได้รับในสื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะข้อมูลที่ถูกส่งต่อ สารด้านสุขภาวะเพ่ือการปรับเปล่ียนทัศนคติ และ (Forward) มาจากบุคคลท่ีตนเองให้ความเช่ือถือและ พฤติกรรมสุขภาพ ควรเป็นการสื่อสารเน้ือหาท่ีให้ความรู้ ไวว้ างใจ แม้ว่าจะมีคนอื่น ๆ เตือนว่า ข้อความเหล่านั้นเป็น ควบคู่กับการให้สาระความบันเทิง (Edutainment) เพ่ือให้ เทจ็ และไม่สอดคล้องกบั หลักฐานและข้อมูลทางการแพทย์ก็ ประชาชนท่ัวไปรสู้ ึกว่าการเรยี นร้ใู นประเดน็ ท่ีดูเปน็ เร่ืองไกล ตาม ซ่ึงถือว่าเป็นเร่ืองที่หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งให้ ตัว และน่ารังเกียจ เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับการสังเกต ความสาคัญ เน่ืองจากความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึนต่อผู้ที่เช่ือ อาการของผู้ป่วยวัณโรค ตลอดจนเน้นย้าการสื่อสาร และปฏิบัติตามข้อมูลดังกล่าวนั้นอาจถึงแก่ชีวิต (นันทิกา ขอ้ ความทท่ี าให้คนในครอบครัวและคนในชุมนรู้สึกว่า คนที่ หนูสม และวิโรจน์ สุทธิสมี า, 2562) เป็นวัณโรคสามารถใช้ชีวิตร่วมกับคนปกติได้ (อนุพงค์ สุจริยากุล, สมิทธ์ิ บุญชุตมิ า และ กิรติ คเชนทวา, 2559) 3. แนวคดิ เก่ยี วกบั การออกแบบเนื้อหาสารด้านสุขภาวะ การออกแบบเน้ือหาสารด้านสุขภาวะเป็นสิ่งท่ี ในขณะท่ีการสร้างการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมใน การสื่อสารสุขภาพนนั้ ผูท้ ่มี สี ่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะ สาคญั ที่ทาใหผ้ ูร้ บั สารเกิดความเชื่อถือ ไว้วางใจ ปฏิบัติตาม เป็นแพทย์ พยาบาล คนไข้ ญาติคนไข้ต้องเข้ามามีส่วนร่วม และลดความกังวลใจเกี่ยวกับปัญหาด้านสุขภาวะที่ตนเอง ในการตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน เช่น การปรึกษาหารือ หรอื คนท่ตี นรักกาลังประสบอยู่ ภาควิชาการส่ือสารสุขภาพ ระหว่างฝา่ ยผู้ทาการรักษาและฝ่ายคนไข้พรอ้ มกบั ครอบครัว ของมหาวิทยาลัยโตรอนโต ได้เสนอเทคนิคในการออกแบบ นอกจากนี้ เนื้อหาข่าวสารข้อมลู ท่ถี า่ ยทอดจากฝ่ายบุคลากร เนื้อหาสารด้านสุขภาพวะ ดังนี้ 1) ใช้ภาพท่ีดึงดูด โดดเด่น ทางการแพทย์ต้องเกี่ยวขอ้ งหรอื เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ และเร้าอารมณ์ของผู้รับสารกลุ่มเป้าหมาย 2) ใช้ข้อความที่ ส่วนเสียทุกกลุ่ ม เช่ น ข้อมูลเกี่ยวกับการทานยา ชัดเจนเข้าใจง่าย แสดงตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม ข้อดีข้อเสีย กระบวนการรักษา หรือข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย (กาญจนา และประโยชน์ที่จะได้รับหากผ้รู บั สารปฏิบัติตาม 3) เลือกใช้ แก้วเทพ, ขนิษฐา นิลผ้งึ และรัตตกิ าล เจนจัด, 2556) ข้อความที่เป็นไปได้และดูน่าเชื่อถือ 4) แสดงให้เห็นว่า พฤตกิ รรมสุขภาพเป็นส่งิ ท่เี ปลี่ยนแปลงไดง้ ่าย และ 5) เลือก ส่วนความต้องการใช้ส่ือสังคมออนไลน์ในการ ผู้ที่ทาหน้าท่ีในการส่ือสารท่ีผู้รับสารให้ความรู้สึกไว้วางใจ สือ่ สารดา้ นสุขภาวะน้นั พบว่า ผู้รับสารต้องการข้อมูลที่ช่วย โดยความไวว้ างใจจะเกิดข้ึนได้ก็เน่ืองจากการที่ผู้รับสารรู้สึก ส นั บ ส นุ น ด้ า น อ า ร ม ณ์ ค ว า ม รู้ สึ ก ค ว บ คู่ ไ ป กั บ ก า ร ใ ห้ ว่าผู้ท่ีทาหน้าท่ีในการส่ือสารเป็นผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญ คาแนะนาและข้อปฏิบัติเมื่อต้องเผชิญกับความเส่ียงด้าน ด้านสุขภาวะ มีความซื่อสัตย์ และแบ่งปันข้อมูลท่ีเช่ือถือ สุขภาพ (สมิทธ์ิ บุญชุติมา และเกริดา โคตรชารี, 2559) และส่งตอ่ ได้ (สมทิ ธิ์ บุญชตุ มิ า และเกริดา โคตรชารี, 2559) ทัง้ นี้ เทคนิคการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่น ข้อความที่นาเสนอในเฟซบุ๊กแฟนเพจ ควรเป็นเนื้อหาท่ี

58… Journal of Public Relations and Advertising Vol. 13 No. 2 2020 กระตุ้นให้ผู้รับชมเกิดความสงสัย และอยากติดตาม ข้ันตอนที่ 2 การสุ่มตัวอย่างแบบกาหนดจานวน ตลอดจนเนน้ การแบ่งปันประสบการณ์ของตนเองในเรื่องนั้น (Quota sampling) จากทั้ง 13 หน่วยงาน (ในข้ันตอนท่ี ๆ และกระตุ้นให้เกิดปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างผู้เล่ากับ 1) หน่วยงานละ 100 คน (ยกเว้นหน่วยงานที่ 3.3 บริษัท ผรู้ บั ชม รวมถึงปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างผู้รับชมด้วยกัน เพื่อสร้าง ขายยาเพ็ญภาค จากัด และ 3.4 บริษัท เวนอินดัสเตรียล การสื่อสารสองทางแบบมีส่วนร่วม (ศลิษา วงศ์ไพรินทร์ ของหน่วยงานภาคเอกชนท่ีเป็นสถานประกอบการ/ และบหุ งา ชยั สวุ รรณ, 2562; Lambert, 2007) ท่กี าหนดจานวนตวั อย่างหน่วยงานละ 50 คน เนื่องจากเป็น โรงงานขนาดใหญ่ จึงมีกลุ่มตัวอย่างที่หลากหลายและ ระเบียบวิธีวจิ ัย กระจายครอบคลุมกวา่ หน่วยงานอน่ื ) รวมทั้งสนิ้ 1,200 คน ก า ร ส า ร ว จ ใ ช้ ร ะ เ บี ย บ วิ ธี วิ จั ย เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ขั้นตอนท่ี 3 การสุ่มแบบสะดวก (Accidental (Quantitative research methodology) และใช้วิธีวิจัย sampling) เมื่อถึงพ้ืนที่เป้าหมาย คณะผู้วิจัยได้ใช้วิธีการ เชิงสารวจ (Survey research method) ในส่วนของ สุ่มตัวอย่างแบบสะดวกจนได้ครบจานวน ทั้งน้ี มีกลุ่ม เคร่อื งมือในการเก็บขอ้ มูล คณะผูว้ ิจัยใช้แบบสอบถามปลาย ตวั อยา่ งทสี่ ่งแบบสอบถามกลับมา รวมทั้งสนิ้ จานวน 1,074 ปิด (Close-ended questionnaire) เป็นเคร่ืองมือในการ ตัวอย่าง เก็บข้อมูล เพื่อสารวจสตรีวัยทางานท่ีมีอายุต้ังแต่ 15 ปีขึ้น ไป ทางานอยู่ในหน่วยงานเครือข่ายของสานักงานกองทุน การออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลและ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. ในเขต การทดสอบความเทีย่ งของเครอื่ งมือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมท้ังส้ิน 1,074 ตัวอย่าง จากหน่วยงาน 3 ประเภท ดังน้ี 1) ประเภทหน่วยงาน คณะผู้วิจัยได้แบ่งข้อคาถามในแบบสอบถาม ราชการ 2) ประเภทหน่วยงานภาคเอกชน (บริษัท) และ 3) ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนตัว และ 2) ความ ประเภทหน่วยงานภาคเอกชน (สถานประกอบการ/โรงงาน) ต้องการด้านรูปแบบเนื้อหา เทคนิคการถ่ายทอด ประเภท ที่เปิดรับเน้ือหาด้านสุขภาวะจากส่ือสังคมออนไลน์ เช่น เนอ้ื หา และความกังวลต่อรูปแบบและเนื้อหาด้าน สุขภาวะ เฟซบุ๊ก ไลน์ ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม ยูทูบ และกระทู้บน ที่โพสต์บนสื่อสังคมออนไลน์ จากน้ันมูลนิธิสถาบัน เวบ็ บอรด์ พัฒนาการเรียนรู้ ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา จากน้ัน ผู้วิจัยนาแบบสอบถามท่ีได้รับอนุมัติจากมูลนิธิสถาบัน การสุม่ ตัวอย่าง พัฒนาการเรียนรู้ ไปทดสอบความเท่ียงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 40 คน ที่มาร่วมกิจกรรมฝึกอบรมกับทางมูลนิธิฯ ขั้นตอนท่ี 1 การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ได้ค่าความเที่ยง (Reliability) มากกว่า 0.70 ทุกตัวแปรจึง (Purposive sampling) สถานท่ีทางานที่อยู่ในหน่วยงาน ถือว่ายอมรับได้ โดยค่าความเที่ยงของแต่ละตัวแปรปรากฏ เครือข่ายของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม ดังต่อไปน้ี 1) ความต้องการด้านรูปแบบเน้ือหา = 0.76 2) สุขภาพ หรือ สสส. ซ่ึงมีหน่วยงาน 3 ประเภท รวมทั้งสิ้น เทคนิคการถ่ายทอด = 0.91 3) ประเภทเน้ือหา = 0.88 13 หน่วยงาน ดังน้ี 1) ประเภทหน่วยงานราชการ ได้แก่ และ 4) ความกังวลตอ่ รปู แบบและเน้อื หา = 0.95 1.1) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1.2) กรมกิจการเด็กและเยาวชน 1.3) สานักงานเลขาธิการ การวิเคราะหข์ อ้ มลู สภาผแู้ ทนราษฎร 1.4) กรมชลประทาน 1.5) กรมสวัสดิการ และคุม้ ครองแรงงาน และ 1.6) กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม 2) ในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ใช้สถิติ ประเภทหน่วยงานภาคเอกชน (บริษัท) ได้แก่ 2.1) บริษัท เชิงบรรยาย ได้แก่ จานวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วน เซปเป้ 2.2) บริษัทแอล.พี.เอ็น และ 2.3) บริษัท โอเอซีส เบ่ียงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอ้างอิง การ์เม้นท์ จากัด และ 3) ประเภทหน่วยงานภาคเอกชน ใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าแตกต่างของ (สถานประกอบการ/โรงงาน) ได้แก่ 3.1) บริษัท ยูนิเวอแซล ค่าเฉลย่ี โดยใชส้ ถิติ One-way ANOVA แอพพาเรล จากัด (สมุทรสาคร) 3.2) โรงแรมศิวาเทล 3.3) บริษัท ขายยาเพ็ญภาค จากัด และ 3.4) บริษัท เวนอนิ ดสั เตรยี ล

วารสารการประชาสมั พนั ธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 2563 …59 ผลการวิจยั สว่ นใหญม่ ีรายไดเ้ ฉล่ียตอ่ เดือน 15,000 - 24,999 บาท มาก ท่ีสุด จานวน 425 คน คิดเป็นร้อยละ 39.57 รองลงมาคือ 1. ข้อมูลลักษณะทางประชากรของกลุ่ม มรี ายได้เฉล่ยี ตอ่ เดอื นต่ากวา่ 15,000 บาท จานวน 348 คน ตวั อย่าง คิดเป็นรอ้ ยละ 32.40 ลาดับตอ่ มาคอื มรี ายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน 25,000 - 34,999 บาท จานวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ กล่มุ ตวั อย่างสว่ นใหญ่อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 15 - 14.53 ในส่วนของประเภทหน่วยงานในการปฏิบัติงาน 30 ปี มากที่สุด จานวน 522 คน คิดเป็นร้อยละ 49.00 พบว่า กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ปฏิบัตงิ านในหน่วยงานของรัฐ/ รองลงมาคือ ช่วงอายุระหว่าง 41 - 50 ปี จานวน 246 คน รัฐวิสาหกิจ มากท่ีสุด จานวน 527 คน คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 23.00 ในส่วนของระดับการศึกษา พบว่า 49.00 รองลงมาคือ ปฏิบัติงานในโรงงาน/สถานประกอบ กลุ่มตัวอย่างอย่างส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับ จานวน 413 คน คิดเป็นร้อยละ 38.00 และลาดับต่อมาคือ ปรญิ ญาตรีมากท่ีสุด จานวน 478 คน คิดเป็นร้อยละ 44.50 ปฏิบัติงานในหน่วยงานเอกชน จานวน 134 คน คิดเป็น รองลงมาคือ มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาโท จานวน รอ้ ยละ 12.00 ตามลาดบั 175 คน คิดเป็นร้อยละ 16.29 และลาดับต่อมาคือ มีระดับ การศกึ ษาอยใู่ นระดับ ปวส. จานวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 9.78 ในส่วนของรายได้เฉลี่ยต่อเดือน พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความต้องการรูปแบบเน้ือหา เทคนิคการถ่ายทอด ประเภทเน้ือหา และความกังวลต่อรูปแบบและเน้ือหา ด้านสขุ ภาวะทโี่ พสตบ์ นสอื่ สงั คมออนไลน์ทแี่ ตกตา่ งกัน ของสตรีวยั ทางานที่ปฏิบตั ิงานในหน่วยงานท่ีแตกต่างกัน ลักษณะหนว่ ยงาน (1) (2) (3) F รายคู่ หน่วยงานของ หนว่ ยงาน โรงงาน / เอกชน สถาน รฐั / ประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ รูปแบบเน้อื หา ข้อความล้วน 3.02 2.47 3.01 14.539** 1-2, 2-3 แบ่งปันบทความมาจากแหลง่ ที่น่าเชื่อถือ 3.89 4.02 3.54 17.024** 1-3, 2-3 ภาพถ่าย 3.83 4.16 3.43 35.120** 1-2-3 ภาพสรปุ ขอ้ มูลแบบอินโฟกราฟกิ 3.73 4.17 3.31 39.192** 1-2-3 วดิ ีโอ 3.80 4.12 3.56 15.484** 1-2-3 วิดโี ออะนเิ มช่นั 3.75 4.20 3.53 20.416** 1-2-3 เทคนิคการถ่ายทอดเน้อื หา การใหข้ อ้ มูลทางการแพทยป์ ระกอบ 3.99 4.11 3.51 34.534** 1-3,2-3 การใหข้ ้อมูลเก่ียวกับค่าใช้จ่าย 3.87 4.08 3.47 29.953** 1-3,2-3 การเล่าประสบการณ์ 3.80 3.92 3.42 23.697** 1-3,2-3 การแสดงอารมณค์ วามรสู้ ึก 3.59 3.60 3.45 2.872 การให้คาแนะนา 3.96 4.02 3.68 13.005** 1-3,2-3 แสดงการเปรยี บเทยี บก่อนและหลัง 3.86 4.21 3.60 23.564** 1-2-3 ประเภทเนือ้ หา การให้ความรู้ 4.18 4.34 3.83 22.573** 1-3,2-3 การให้ความบนั เทิง 4.04 4.31 3.66 32.841** 1-2-3 การเกาะแสเหตกุ ารณท์ ่ีเปน็ ขา่ วในปัจจบุ นั 4.01 4.23 3.73 17.064** 1-3,2-3 การใหแ้ รงบันดาลใจ 4.04 4.27 3.79 16.117** 1-2-3 การให้คาแนะนาในการปฏบิ ตั ิ 4.06 4.33 3.70 28.973** 1-2-3

60… Journal of Public Relations and Advertising Vol. 13 No. 2 2020 ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบความต้องการรูปแบบเน้ือหา เทคนิคการถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความกังวลต่อรูปแบบและเน้ือหา ดา้ นสขุ ภาวะทโ่ี พสต์บนส่อื สังคมออนไลนท์ แ่ี ตกตา่ งกัน ของสตรีวัยทางานท่ีปฏิบัติงานในหน่วยงานท่ีแตกต่างกัน (ต่อ) ลกั ษณะหน่วยงาน (1) (2) (3) F รายคู่ หนว่ ยงานของ หน่วยงาน โรงงาน / เอกชน สถาน 1-3,2-3 รฐั / ประกอบการ 1-3,2-3 รัฐวิสาหกจิ 1-3,2-3 ความกงั วล 4.13 4.29 3.62 32.305** 1-3 ข้อมูลไมน่ ่าเชอื่ ถอื 4.13 4.30 3.56 38.761** ข้อมูลไมถ่ ูกต้อง 3.81 3.89 3.39 21.530** 1-3,2-3 ข้อมลู ลา้ สมัย 3.62 3.45 3.40 5.270** ขอ้ มูลมปี รมิ าณนอ้ ยเกนิ ไป 3.53 3.48 3.38 2.501 1-3,2-3 ขอ้ มลู มปี ริมาณมากเกินไป 3.72 3.81 3.50 6.679** 1-3,2-3 ข้อมูลไม่เกี่ยวข้อง นอกเรื่อง 3.61 3.62 3.50 1.666 มกี ารใชค้ าศัพทเ์ ฉพาะทาง 4.12 4.13 3.74 16.583** อาจะนาไปสู่การละเมดิ ความเป็นสว่ นตวั 4.20 4.18 3.81 17.043** อาจจะนาไปสกู่ ารละเมิดสทิ ธิผ้อู ื่น **p-value = 0.01 2. ข้อมูลเก่ียวกับความต้องการรูปแบบเนื้อหา 4.11) ในสว่ นของโรงงาน/ สถานประกอบการมีความต้องการ เทคนิคการถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความกังวลต่อ เทคนิคการให้คาแนะนา (̅ = 3.68) มากท่ีสุด รองลงมาคือ รูปแบบและเน้ือหาด้านสุขภาวะที่โพสต์บนเฟซบุ๊ก แสดงการเปรยี บเทียบกอ่ นและหลัง (̅ = 3.60) ในขณะที่ท้ัง แฟนเพจของสตรีวัยทางาน 3 หน่วยงานมีความต้องการเทคนิคการถ่ายทอดเน้ือหาด้าน การแสดงอารมณ์ความรู้สึกไม่แตกต่างกัน 3) ด้านประเภท จากตารางที่ 1 1) ด้านรูปแบบเนื้อหา พบว่า สตรี เนื้อหา พบว่า สตรีวัยทางานของหน่วยงานของรัฐ/ วัยทางานของหน่วยงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจมีความต้องการ รัฐวิสาหกิจมีความต้องการเนื้อหาประเภทให้ความรู้ (̅ = รูปแบบเน้ือหาจากการแบ่งปันบทความมาจากแหล่งที่ 4.18) มากที่สุด รองลงมาคือ การให้คาแนะนาในการปฏิบัติ น่าเชื่อถือ (̅ = 3.89) มากที่สุด รองลงมาคือ ภาพถ่าย (̅ (̅ = 4.06) ในขณะที่หนว่ ยงานเอกชนมีความต้องการเนื้อหา = 3.83) ในขณะท่ีหน่วยงานเอกชนมีความต้องการรูปแบบ ประเภทให้ความรู้ (̅ = 4.34) มากท่ีสุด รองลงมาคือ การให้ เน้ือหาแบบวิดีโออะนิเมช่ัน (̅ = 4.20) มากท่ีสุด รองลงมา คาแนะนาในการปฏิบัติ (̅ = 4.33) เช่นกัน ในส่วนของ คือ ภาพสรุปข้อมูลแบบอินโฟกราฟิก (̅ = 4.17) ในส่วน โรงงาน/ สถานประกอบการมีความต้องการเน้ือหาประเภท ของโรงงาน/ สถานประกอบการต้องการเนื้อหาแบบวิดีโอ (̅ การให้ความรู้ (̅ = 3.83) รองลงมาคือ การให้แรงบันดาลใจ = 3.56) มากท่ีสุด รองลงมาคือ การแบ่งปันบทความมาจาก (̅ = 3.79) และ 4) ด้านความกังวล พบว่า สตรีวัยทางาน แหล่งท่ีน่าเช่ือถือ (̅ = 3.54) 2) เทคนิคการถ่ายทอด ของหน่วยงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจมีความกังวลเก่ียวกับ เน้ือหา พบว่า สตรีวัยทางานของหน่วยงานของรัฐ/ อาจจะนาไปสู่การละเมิดสิทธิผู้อื่น (̅ = 4.20) มากท่ีสุด รฐั วสิ าหกจิ มคี วามต้องการเทคนิคการถ่ายทอดเน้ือหาการให้ รองลงมาคือ ข้อมูลไม่น่าเช่ือถือและไม่ถูกต้อง (̅ = 4.13) ข้อมูลทางการแพทย์ประกอบ (̅ = 3.99) มากที่สุด ในขณะท่ีหน่วยงานเอกชนมีความกังวลเก่ียวกับข้อมูลไม่ รองลงมาคือ การให้คาแนะนา (̅ = 3.96) ในขณะที่ ถูกต้อง (̅ = 4.30) มากที่สุด รองลงมาคือ ข้อมูลไม่ หน่วยงานเอกชนมีความต้องการเทคนิคการถ่ายทอดเน้ือหา น่าเชื่อถือ (̅ = 4.29) ในส่วนของโรงงาน/ สถาน แสดงการเปรียบเทียบก่อนและหลัง (̅ = 4.21) มากท่ีสุด ประกอบการมีความกังวลเก่ียวกับอาจจะนาไปสู่การละเมิด รองลงมาคือ การให้ข้อมูลทางการแพทย์ประกอบ (̅ =

สิทธิผู้อ่ืน (̅ = 3.81) มากที่สุด รองลงมาคือ การอาจะ วารสารการประชาสมั พันธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 2563 …61 นาไปสกู่ ารละเมิดความเป็นส่วนตัว (̅ = 3.74) แต่อย่างไรก็ ตาม พบว่า ทั้ง 3 หน่วยงานมีความกังวลต่อประเด็นข้อมูลมี ผู้อ่ืน มากกว่าสตรีวัยทางานในหน่วยงานเอกชน และ ปริมาณมากเกินไป และมีการใช้คาศัพท์เฉพาะทางไม่ โรงงาน/สถานประกอบการ แตกตา่ งกนั อภิปรายผลการวิจัย 2. ข้อมูลการเปรียบเทียบความต้องการรูปแบบ เน้ือหา เทคนิคการถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความ ในส่วนน้ี ผู้วิจัยเน้นการอภิปรายผลการวิจัยตาม กังวลต่อรูปแบบและเนื้อหาด้านสุขภาวะที่โพสต์บนส่ือ วัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 กล่าวคือ โดยเน้นการอภิปรายข้อ สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ ข อ ง ส ต รี วั ย ท า ง า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ค้นพบของความต้องการรูปแบบเนื้อหา เทคนิคการ หนว่ ยงานท่ีแตกต่างกนั ถ่ายทอด ประเภทเนื้อหา และความกังวลต่อรูปแบบและ เนื้อหาท่ีแตกต่างกัน ของสตรีวัยทางานที่ปฏิบัติงานใน จากตารางที่ 1 1) ด้านรูปแบบเนื้อหา พบว่า หนว่ ยงานท่แี ตกตา่ งกัน ดงั ตอ่ ไปนี้ สตรีวัยทางานในหน่วยงานเอกชนมีความต้องการเน้ือหา ด้านสุขภาวะประเภทวิดีโออะนิเมชั่น ภาพสรุปข้อมูลแบบ 1) ด้านรปู แบบเน้ือหา อินโฟกราฟิก ภาพถ่าย และการแบ่งปันบทความมาจาก สตรีวัยทางานในหน่วยงานเอกชนมีความต้องการ แหล่งที่น่าเชื่อถือ มากกว่าสตรีวัยทางานในหน่วยงาน เน้อื หาดา้ นสขุ ภาวะประเภทวิดโี ออะนเิ มชั่น ภาพสรุปข้อมูล ภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และโรงงาน/สถานประกอบการ แต่ แบบอินโฟกราฟิก ภาพถ่าย และการแบ่งปันบทความมา อย่างไรก็ดี สตรีวัยทางานในหน่วยงานภาคภาครัฐ/ จากแหล่งท่ีน่าเช่ือถือ มากกว่าหน่วยงานภาครัฐ/ รฐั วิสาหกิจ และโรงงาน/สถานประกอบการมีความต้องการ รัฐวิสาหกิจ และโรงงาน/สถานประกอบการ แต่อย่างไรก็ รูปแบบเนื้อหาแบบข้อความล้วนมากกว่าหน่วยงานเอกชน ตาม สตรีวัยทางานในหน่วยงานภาคภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ 2) ด้านเทคนิคการถ่ายทอดเนื้อหา สตรีวัยทางานใน และโรงงาน/สถานประกอบการมีความต้องการรูปแบบ หนว่ ยงานเอกชนมีความต้องการเทคนิคการถ่ายทอดเนื้อหา เนอ้ื หาแบบข้อความล้วนมากกว่าสตรีวัยทางานในหน่วยงาน ด้านสุขภาวะ ได้แก่ การแสดงเปรียบเทียบก่อนและหลัง เอกชน สามารถเทียบเคียงได้กับข้อค้นพบของทัณฑกานต์ การให้ข้อมูลทางการแพทย์ประกอบ การให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ดวงรัตน์ และกุลทิพย์ ศาสตระรุจิ (2553) ท่ีพบว่า การ ค่าใช้จ่าย การให้คาแนะนา และการเล่าประสบการณ์ ประชาสัมพันธ์ในหน่วยงานภาครัฐมักเน้นการนาเสนอ มากกว่าสตรวี ยั ทางานในหนว่ ยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และ ข้อมลู ขา่ วสาร ผลงาน ความรู้ในเชิงวชิ าการเพ่ือการเผยแพร่ โรงงาน/สถานประกอบการ 3) ด้านประเภทเนื้อหา พบว่า ประชาสัมพันธ์มากกว่ามุ่งหวังผลด้านการตลาด นอกจากน้ี สตรีวัยทางานในหน่วยงานเอกชนมีความต้องการเนื้อหา แหล่งข้อมูลยังต้องมาจากนักวิชาการในภาครัฐท่ีทางานใน ด้านสุขภาวะประเภทให้ความรู้ การให้คาแนะนาในการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องท่ีเผยแพร่ ในขณะท่ี ปฏิบัติ การให้ความบันเทิง การให้แรงบันดาลใจ และการ ภาคเอกชนเน้นการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิตส่ือ เกาะแสเหตุการณ์ท่ีเป็นข่าวในปัจจุบันมากกว่าสตรีวัย และใช้เทคนิคการออกแบบต่าง ๆ ในการเผยแพร่ข่าวสาร ทางานในหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และโรงงาน/สถาน เพอ่ื ดงึ ดูดความสนใจจากผูร้ ับชม เน่ืองจากภาคเอกชนมีการ ประกอบการ และ 4) ด้านความกังวล พบว่า สตรีวัย แข่งขันกันสูง นอกจากน้ัน ยังตรงกับที่สมิทธิ์ บุญชุติมา ทางานในหน่วยงานเอกชนมีความกังวลมากกว่าสตรีวัย และ เกริดา โคตรชารี (2559) พบว่า การออกแบบเน้ือหา ทางานในหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และโรงงาน/สถาน สารด้านสุขภาวะควรใช้ภาพท่ีดึงดูด โดดเด่น และเร้า ประกอบการในประเด็นเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหาด้าน อารมณ์ของผู้รับสารกลุ่มเป้าหมาย ใช้ข้อความที่ชัดเจน สุขภาวะท่ีโพสต์บนเฟซบุ๊กแฟนเพจไม่ถูกต้อง ไม่น่าเช่ือถือ เข้าใจง่าย แสดงตัวอย่างท่ีเป็นรูปธรรม บ่งบอกถึงข้อดี อาจจะนาไปส่กู ารละเมดิ ความเปน็ ส่วนตัว ข้อมูลล้าสมัย ไม่ ขอ้ เสีย และประโยชนท์ ่ีจะได้รับหากผู้รับสารปฏิบัติตาม อีก เก่ียวข้อง และนอกเรื่อง แต่อย่างไรก็ดี สตรีวัยทางานใน ท้ังยังเป็นไปตามข้อค้นพบของณัฐกร สงคราม (2557) ที่ หน่วยงานภาครัฐมีความกังวลต่อประเด็นเรื่องข้อมูลมี ปริมาณน้อยเกินไป และการอาจจะนาไปสู่การละเมิดสิทธิ เสนอแนะว่า การใช้หลักนิเทศศิลป์ (Visual communication) ในการออกแบบสารเพ่ือการเรียนรู้ มีความสาคัญอย่างมาก ในการโน้มน้าวความสนใจจากผู้รับสารกลุ่มเป้าหมาย โดย การใช้รูปภาพควบคู่กับการถ่ายทอดความรู้นั้นจะทาให้

62… Journal of Public Relations and Advertising Vol. 13 No. 2 2020 กลมุ่ เป้าหมายสามารถจดจา และมคี วามทรงจาต่อเนื้อหาได้ นั้น ๆ และกระตุ้นให้เกิดปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างผู้เล่า ดกี วา่ การถา่ ยทอดผ่านตัวอักษรแต่เพยี งอย่างเดียว กับผู้รับชม รวมถึงผู้รับชมด้วยกัน เพ่ือสร้างการส่ือสารสอง ทางแบบมสี ว่ นร่วม อีกทั้งยังเปน็ การสร้างความสมั พันธ์อันดี 2) ด้านเทคนคิ การถา่ ยทอดเน้อื หา ระหว่างผถู้ า่ ยทอดเนือ้ หา และผรู้ ับชมอีกด้วย สตรีวยั ทางานในหน่วยงานเอกชนมีความต้องการ เทคนิคการถ่ายทอดเนื้อหา ได้แก่ การแสดงเปรียบเทียบ นอกจากนั้น ผลการวิจัยยังตรงกับข้อค้นพบ ก่อนและหลัง การให้ข้อมูลทางการแพทย์ประกอบ การให้ ของวิรัช ลภิรัตนกุล (2552); Ratzan (1998) ท่ีพบว่า ข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย การให้คาแนะนา และการเล่า กระบวนการถ่ายทอดข่าวสารด้านสุขภาพระหว่างผู้ท่ีมีส่วน ประสบการณ์มากกว่าสตรีวัยทางานในหน่วยงานภาครัฐ/ เก่ียวข้องในการให้บริการด้านสุขภาพ ควรเป็นข้อมูลที่ รัฐวิสาหกจิ และโรงงาน/สถานประกอบการ โดยผลการวิจัย นาเสนอมาจากแหล่งข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือ เช่น แพทย์ ยืนยันแนวคิดของกาญจนา แก้วเทพ และคณะ (2556) ที่ พยาบาล หรอื เจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข ทันสมัย และสอดคล้อง พบว่า การสร้างการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการส่ือสาร กับสถานการณ์ของชุมชน มีความหลากหลาย แต่ต้อง สุขภาพนนั้ ผ้ทู ม่ี ีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นแพทย์ สือ่ สารไปในทศิ ทางเดยี วกัน ต้องเขา้ ถึงกลมุ่ เป้าหมายได้มาก พยาบาล คนไข้ ญาติคนไข้ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการ โดยเน้ือหาจะต้องเป็นเน้ือหาที่ไม่กากวม ชัดเจน และไม่ ตัดสินใจอย่างเท่าเทียมกัน เช่น การปรึกษาหารือระหว่าง ยุ่งยากในการตีความ นอกจากน้ี ยังตรงกับข้อค้นพบของ ฝ่ า ย ผู้ ท า กา ร รั ก ษ าแ ล ะฝ่ า ย คน ไ ข้ พ ร้ อม กั บค ร อบ ค รั ว ประวีณา พลเขตต์ และเจษฎา ศาลาทอง (2561) ที่พบว่า นอกจากน้ี เน้ือหาข่าวสารขอ้ มูลทถี่ า่ ยทอดจากฝา่ ยบุคลากร ข้อมลู เก่ียวกบั การสรา้ งเสริมสุขภาพในรายการชัวร์ก่อนแชร์ ทางการแพทยต์ ้องเกย่ี วข้องหรอื เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ มีความน่าเชื่อถือ เน่ืองจากเป็นข้อมูลที่ได้รับจากแพทย์ ส่วนเสียทุกกลุ่ ม เช่ น ข้อมูลเก่ียวกับการทานยา และผู้เชยี่ วชาญในด้านน้ัน ๆ ข้อมูลผ่านการตรวจสอบ และ กระบวนการรักษา หรือข้อมูลเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย มีหลักฐานการทดลองหรือวิจัยที่พิสูจน์ได้ ประกอบกับใน นอกจากนน้ั ยังเป็นไปในแนวทางเดียวกับแนวคิดของสมิทธิ์ บางตอนมีการใช้ผู้เช่ียวชาญหลายคน มีการตอบแบบ บุญชุติมา และเกริดา โคตรชารี (2559) ที่พบว่า การ ตรงไปตรงมาด้วยคาพูดและกิริยาที่น่าเชื่อถือ ส่งผลให้ผู้ ออกแบบเนือ้ หาสารดา้ นสุขภาวะเป็นส่ิงที่สาคญั ท่ที าให้ผู้รับ รับชมกล้าแบง่ ปัน หรอื ส่งต่อขอ้ มูลเหลา่ น้นั ไปสู่บคุ คลอน่ื ๆ สารเกิดความเชื่อถือ ไว้วางใจ ปฏิบัติตาม และลดความ กงั วลใจเกยี่ วกับปัญหาด้านสุขภาวะที่ตนเองหรือคนท่ีตนรัก 3) ด้านประเภทเนื้อหา กาลังประสบอยู่ นอกจากนี้ เทคนิคในการออกแบบเน้ือหา สตรีวัยทางานในหน่วยงานภาคเอกชนมีความ สารด้านสุขภาวะยังควรใช้ภาพที่ดึงดูด โดดเด่น และเร้า ต้องการเน้ือหาประเภทให้ความรู้ การให้คาแนะนาในการ อารมณ์ของผู้รับสารกลุ่มเป้าหมาย ใช้ข้อความที่ชัดเจน ปฏิบัติ การให้ความบันเทิง การให้แรงบันดาลใจ และการ เข้าใจง่าย แสดงตัวอย่างท่ีเป็นรูปธรรม บ่งบอกถึงข้อดี เกาะแสเหตุการณ์ที่เป็นข่าวในปัจจุบัน มากกว่าสตรีวัย ข้อเสีย และประโยชน์ที่จะได้รับหากผู้รับสารปฏิบัติตาม ทางานในหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และโรงงาน/สถาน เลือกใช้ข้อความที่เป็นไปไดแ้ ละดนู ่าเชือ่ ถอื ตลอดจนเลือกผู้ ประกอบการ สอดคล้องกับข้อค้นพบของ อนุพงค์ สุจริยากุล ท่ีทาหน้าท่ีในการสื่อสารที่ผู้รับสารให้ความรู้สึกไว้วางใจ และคณะ (2559) ท่ีพบว่า แนวทางการส่ือสารออกแบบ โดยความไว้วางใจจะเกิดข้ึนได้ก็เนื่องจากการที่ผู้รับสาร เน้ือหาสารด้านสุขภาวะเพื่อการปรับเปล่ียนทัศนคติ และ รู้สึกว่าผู้ท่ีทาหน้าที่ในการสื่อสารเป็นผู้มีความรู้ความ พฤติกรรมสุขภาพ ควรเป็นการส่ือสารเนื้อหาท่ีให้ความรู้ เชี่ยวชาญด้านสุขภาวะ มีความซื่อสัตย์ และแบ่งปันข้อมูลท่ี ควบคู่กับการให้สาระความบันเทิง (Edutainment) เพื่อให้ เชือ่ ถือและสง่ ต่อได้ ประชาชนท่วั ไปร้สู กึ ว่าการเรียนรู้ในประเดน็ ทด่ี เู ปน็ เร่อื งไกล มากไปกว่าน้ัน ผลการวิจัยยังสามารถเทียบเคียง ตัว และน่ารังเกียจ เช่น การให้ความรู้เก่ียวกับการสังเกต ได้กับข้อค้นพบของศลิษา วงศ์ไพรินทร์ และบุหงา อาการของผู้ป่วยวัณโรค ตลอดจนเน้นย้าการสื่อสาร ชัยสุวรรณ (2562); Lambert (2007) ที่พบว่า เทคนิคการ ข้อความที่ทาให้คนในครอบครัวและคนในชุมชนรู้สึกว่า ถ่ายทอดเน้ือหาผ่านส่ือใหม่ เช่น เฟซบุ๊กแฟนเพจ ควรเป็น คนทเ่ี ป็นวัณโรคสามารถใชช้ วี ติ รว่ มกับคนปกติได้ เนือ้ หาทก่ี ระตุน้ ใหผ้ รู้ ับชมเกดิ ความสงสัย และอยากติดตาม อีกท้ังผลการวิจัยยังสามารถเทียบเคียงได้กับข้อ ตลอดจนเน้นการแบ่งปันประสบการณ์ของตนเองในเร่ือง ค้นพบของ Keller และ Lehmann (2008); Langer และ

วารสารการประชาสมั พนั ธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 2563 …63 คณะ (2015); Smith และ Stutts (2003); Tennant และ FoMO) และผู้ท่ีไม่ได้ตรวจสอบความถูกต้องและน่าเชื่อถือ คณะ (2015) ท่ีพบว่า สตรีมีการค้นหาข้อมูลข่าวสารด้าน ของข้อมูลท่ีหลงเช่ือข่าวดังกล่าวว่าเป็นข่าวจริง อีกท้ัง สุขภาพในสื่อสังคมออนไลน์ประเภทเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์ ผลการวิจัยในประเด็นการนาไปสู่การละเมิดความเป็น มากกว่าบุรุษ อีกท้ังยังมีพลังในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ส่วนตัว และสิทธิของผู้อื่นในโลกออนไลน์ ยังเป็นไป สุขภาพของตนเองและสามารถส่งต่อความรู้สาหรับการดูแล ในทิศทางเดียวกับที่ Turner (2003) ได้กล่าวเอาไว้ว่า สุขภาพไปยังคนท่ีตนรัก เช่น คนในครอบครัวและเพ่ือน เทคโนโลยกี ารส่อื สาร ทาใหผ้ ู้ใช้อินเทอรเ์ น็ตจานวนมากต้อง ร่วมงานในองค์กร เป็นต้น นอกจากน้ัน สตรียังให้ เผชญิ กับความกังวลในการถูกเจาะข้อมูลส่วนตัว หรือข้อมูล ความสาคัญกับกับการดูแลสร้างเสริมสุขภาพในระยะยาว ที่ไม่ต้องการให้ผู้อื่นทราบ โดยนักการตลาด หรือบริษัท โดยเนื้อหาด้านการดูแลสุขภาพท่ีสตรีให้ความสนใจ มักเป็น โฆษณาออนไลน์ แมแ้ ต่แฮ็กเกอร์ (Hacker) หรือผู้ที่ชอบเข้า เนอ้ื หาทเี่ นน้ ด้านอารมณค์ วามรสู้ ึก บ่งบอกถึงผลกระทบที่มี มาค้นหาข้อมูลส่วนตัวของบุคคลในโลกออนไลน์ (Abuser) ต่อสขุ ภาพในระยะยาวท้ังตอ่ ตนเอง รวมถงึ บคุ คลท่ีตนรกั นอกจากน้ัน ผู้ท่ีชอบนาเสนอตัวตนผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ยังเส่ียงต่อการเสื่อมเสียภาพลักษณ์และช่ือเสียงของตนเอง 4) ความกงั วลต่อรปู แบบและเนื้อหา เนื่องจากการกลั่นแกล้งกันบนโลกออนไลน์ (Cyber สตรีวัยทางานในหน่วยงานเอกชนมีความกังวล bullying) เช่น การให้ร้าย การเข้ามาแสดงความเห็นในทาง มากกว่าหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ และโรงงาน/สถาน ลบของคนจานวนมาก การหาเรือ่ งเพื่อชวนทะเลาะ หรือการ ประกอบการในประเด็นเกี่ยวกับรูปแบบและเนื้อหาด้านสุข ให้ข้อมูลที่เป็นเท็จแก่สาธารณชนจากบุคคลที่เป็นฝ่าย ภาวะที่โพสต์บนสื่อสังคมออนไลน์ไม่ถูกต้อง ไม่น่าเชื่อถือ ตรงกันข้าม หรือแม้แตก่ ารนาเสนอข้อมูลที่เป็นเท็จเกี่ยวกับ อาจจะนาไปสู่การละเมดิ ความเปน็ ส่วนตัว ข้อมูลล้าสมัย ไม่ บุคคลน้ัน ๆ ส่วนในประเด็นท่ี หน่วยงานภาครัฐมีความ เกี่ยวข้อง และนอกเรื่อง แต่อย่างไรก็ดี สตรีวัยทางานใน กังวลคือ ข้อมูลมีปริมาณน้อยเกินไป สามารถเทียบเคียงได้ หน่วยงานภาครัฐมีความกังวลต่อประเด็นเรื่องข้อมูลมี กับข้อค้นพบของทัณฑกานต์ ดวงรัตน์ และกุลทิพย์ ปริมาณน้อยเกินไป และการอาจจะนาไปสู่การละเมิดสิทธิ ศาสตระรจุ ิ (2553) ทพ่ี บวา่ การประชาสมั พันธ์ในหน่วยงาน ผู้อื่น มากกว่าสตรีวัยทางานในหน่วยงานเอกชน และ ภาครัฐมักเน้นการนาเสนอข้อมูลข่าวสาร ผลงาน และ โรงงาน/สถานประกอบการ ผลการวิจัยดังกล่าวสอดคล้อง ความรู้ในเชิงวิชาการเพื่อการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การ กับข้อค้นพบของนันทิกา หนูสม และวิโรจน์ สุทธิสีมา มากกว่าการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิตสื่อและใช้ (2562) ที่พบว่า มีข้อมูลเท็จ (Fake news) เก่ียวกับการ เทคนิคการออกแบบต่าง ๆ ในการเผยแพร่ข่าวสารเพ่ือ ดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะวิธีการรักษาโรคติดต่อเรื้อรัง เช่น ดึงดดู ความสนใจจากผู้รบั ชมแบบหน่วยงานภาคเอกชน โรคมะเร็ง เป็นจานวนมากในสื่อสังคมออนไลน์ นอกจากนี้ ยังพบว่า ผู้รับสารส่วนหน่ึงยังแบ่งปัน (Share) ข้อมูลเท็จ ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ัติการ ดังกล่าวไปให้ผู้รับสารคนอ่ืน ๆ อีกด้วย ท้ังน้ี เน่ืองมาจาก ขาดทักษะในการตรวจสอบความถูกต้องและน่าเช่ือถือของ จากผลการวจิ ัย พบว่า การพัฒนารูปแบบและเนื้อหา ข้อมูล ตลอดจนผู้รับสารกลุ่มดังกล่าวให้ความไว้วางใจกับ ตามแนวทางความสุข 8 ประการในท่ีทางาน (Happy 8) ใน ขอ้ มูลทตี่ นเองไดร้ ับในสื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะข้อมูลที่ สอ่ื สังคมออนไลนค์ วรคานึงถึง 4 ประเดน็ หลัก ดังตอ่ ไปน้ี ถูกส่งต่อ (Forward) มาจากบุคคลที่ตนเองให้ความเช่ือถือ และไวว้ างใจ แม้ว่าจะมีคนอื่น ๆ เตือนว่า ข้อความเหล่านั้น 1) ด้านรูปแบบเนื้อหา ผู้ที่ให้ข้อมูลข่าวสารด้าน เป็ น เ ท็ จ แ ล ะ ไ ม่ สอ ด ค ล้ อ ง กั บ ห ลั ก ฐา น แ ล ะ ข้ อ มู ล ท า ง สุขภาวะบนสื่อสังคมออนไลน์ตามแนวทางความสุข การแพทย์ก็ตาม นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังตรงกับข้อค้นพบ 8 ประการในที่ทางาน (Happy 8) ควรใช้เทคนิคการเล่า ของ Mena (2017); Ofcom (2017) ที่พบว่า ข่าวท่ีปรากฏ เร่ืองด้วยภาพผ่านวิดีโออะนิเมช่ัน อินโฟกราฟิก และ ซ้า ๆ ในหน้านิวส์ฟีดของเฟซบุ๊กมักเป็นข่าวปลอมที่จูงใจให้ ภาพถ่ายมากขึ้น รวมทั้งบทความที่ปรากฏบนหน้าเฟซบุ๊ก คนเช่ือ ตลอดจนกดถูกใจ (Like) และแบ่งปันข่าวดังกล่าว แฟนเพจควรแบง่ ปนั มาจากแหลง่ ท่ีน่าเช่ือถือ ส่งผลให้ข่าวปลอมปรากฏบนนิวส์ฟีดของเฟซบุ๊กมากกว่า ข่าวจริง โดยเฉพาะการกดถูกใจและแบ่งปันจากผู้ท่ีกลัวว่า 2) ด้านเทคนิคการถ่ายทอดเนื้อหา ผู้ท่ีให้ข้อมูล ตนเองจะพลาดการรับรู้ข่าวสาร (Fear of missing out: ข่าวสารด้านสุขภาวะบนสื่อสังคมออนไลน์ตามแนวทาง ความสุข 8 ประการในท่ที างาน (Happy 8) ควรแสดงข้อมูล เปรียบเทียบก่อนและหลังการรักษา การให้ข้อมูลทาง

64… Journal of Public Relations and Advertising Vol. 13 No. 2 2020 การแพทย์ประกอบ เช่น สรรพคุณของยา ส่วนผสม การให้ ในทางทีผ่ ิดกฎหมาย เชน่ การเจาะข้อมูลเฟซบุ๊กส่วนตัวของ ข้อมูลเก่ียวกับค่าใช้จ่าย และการให้คาแนะนาในคราว ผู้เข้าชม หรือสมาชิกแฟนเพจเพื่อนาไปขายให้กับทาง เดยี วกนั แฮก็ เกอร์ หรอื บริษทั โฆษณา เป็นตน้ 3) ด้านประเภทเน้ือหา ผู้ท่ีให้ข้อมูลข่าวสารด้าน ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจยั ในอนาคต สุขภาวะบนสื่อสังคมออนไลน์ตามแนวทางความสุข 8 ประการในท่ีทางาน (Happy 8) ควรนาเสนอเนื้อหา ควรเพ่ิมการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ ประเภทการให้ความรู้ การให้คาแนะนาในการปฏิบัติ และ เจาะลึก (In-depth interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus การใหแ้ รงบนั ดาลใจในคราวเดยี วกนั group discussion) โดยอาศัยข้อคาถามในแบบสอบถาม จะ ช่วยทาให้ทราบถึงความต้องการและความกังวลต่อรูปแบบ 4) ด้านความกังวล พบว่า หน่วยงานท้ัง และเน้ือหาด้านสุขภาวะในเชิงลึกในประเด็นที่กลุ่มตัวอย่าง 3 ประเภทมีความกังวลในประเด็นเก่ียวกับความไม่ถูกต้อง ให้ความสาคัญจากผลการวิจัยเชิงปริมาณมากยิ่งขึ้น และน่าเชื่อถือของข้อมูลด้านสุขภาวะ ตลอดจนการอาจจะ นอกจากนี้ ยังควรศึกษาความต้องการและความกังวลต่อ นาไปสู่การละเมิดสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน ดังน้ัน ผู้ที่ให้ ประเด็นเนื้อหาด้านสุขภาวะในส่ือสังคมออนไลน์ประเภท ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาวะบนส่ือสังคมออนไลน์ตาม อ่ืน ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาด้านสุขภาวะที่ปรากฏใน แนวทางความสุข 8 ประการในท่ีทางาน (Happy 8) ควรให้ แอปพลิเคชันไลน์ อินสตาแกรม ทวิตเตอร์ หรือที่หน้า ความรเู้ กยี่ วกบั “การรูเ้ ท่าทนั สอ่ื สงั คมออนไลน”์ กับสตรีวัย นิวสฟ์ ีดของเฟซบุ๊กส่วนตัว เน่ืองจากเป็นช่องทางที่มีเน้ือหา ทางาน เช่น การค้นคว้าข้อมูลด้านสุขภาพจากแหล่งท่ี เก่ียวกับการดูแลสุขภาพปรากฏอยู่เช่นกัน ซ่ึงมีท้ังข้อมูลที่ นา่ เชอ่ื ถือ วิธีการสังเกตข้อมูลเท็จ/ข่าวปลอม (Fake news) น่าเชอ่ื ถือและไม่นา่ เช่อื ถือปะปนกัน ตลอดจนเป็นช่องทางที่ บนโลกออนไลน์ และการไม่โพสต์ข้อมูลส่วนตัวบนโลก ผู้คนวยั ทางานเขา้ ถึงและใช้ในชีวิตประจาวัน เพ่ือที่จะได้นา ออนไลน์ เพ่ือป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิของตนเองและ ข้อมูลท่ีได้รับมาพัฒนารูปแบบและเนื้อหาตามแนวทาง ผู้อ่นื ในโลกออนไลน์ รวมทง้ั ผู้ทใี่ หข้ อ้ มูลขา่ วสารด้านสุขภาพ ความสุข 8 ประการในท่ีทางาน (Happy 8) ในส่ือสังคม บนสือ่ สงั คมออนไลนก์ ค็ วรมีจริยธรรมทางการส่ือสาร โดยไม่ ออนไลน์ท่ีตรงกับความต้องการของกล่มุ เปา้ หมายตอ่ ไป นาข้อมลู สว่ นตวั ของผูเ้ ข้าชมไปใช้ทางการตลาด หรือกระทา รายการอ้างอิง ภาษาไทย กาญจนา แก้วเทพ, ขนิษฐา นิลผ้ึง และรัตติกาล เจนจัด. (2556). สื่อสาร อาหาร สุขภาพ. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั (สกว.). ทัณฑกานต์ ดวงรัตน์ และกุลทิพย์ ศาสตระรุจิ. (2553). การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทในการปฏิบัติงานและบุคลิกภาพของนัก ประชาสัมพันธ์ระหว่างองคก์ รภาครัฐและภาคเอกชน. วารสารสุทธปิ รทิ ัศน์, 24(73), 101-127. ณัฐกร สงคราม. (2557). การถ่ายภาพ เทคนิคและการนาไปใช้เพ่ือการส่ือสาร (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . นันทิกา หนูสม และวิโรจน์ สุทธิสีมา. (2562). ลักษณะของข่าวปลอมในประเทศไทยและระดับการรู้เท่าทันข่าวปลอมบนเฟซบุ๊ก ของผรู้ บั สารในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนเิ ทศศาสตร์, 37(1), 37-45. ประวีณา พลเขตต์ และเจษฎา ศาลาทอง. (2561). การรับรู้และการรู้เท่าทันสื่อของผู้ชมรายการชัวร์ก่อนแชร์. วารสารการสื่อสาร และการจดั การ นดิ ้า, 4(3), 47-61. วิรัช ลภิรัตนกุล. (2552). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤตและการบริหารภาวะวิกฤต (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ศลิษา วงศ์ไพรินทร์ และบุหงา ชัยสุวรรณ. (2562). กระบวนการคิดเชิงออกแบบผ่านวิดีโอคอนเทนต์ โดยใช้เทคนิคการเล่าเร่ือง ของเฟซบุ๊กแฟนเพจ Minutevideos Thailand. วารสารนเิ ทศศาสตร์, 37(2), 86-98. สมทิ ธิ์ บญุ ชุติมา และเกรดิ า โคตรชารี. (2559). การสื่อสารความเส่ียง (พิมพ์ครงั้ ที่ 1). นนทบรุ ี: 21 เซน็ จรู ่ี.

วารสารการประชาสมั พันธแ์ ละการโฆษณา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 2563 …65 สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2554). คู่มือความสุข 8 ประการในท่ีทางาน HAPPY WORK PLACE. วันที่เข้าถึงข้อมูล 15 กันยายน 2562 แหล่งที่มา https://www.thaihealth.or.th/Content/20757คู่มือ ความสขุ %208%20ประการในที่ทางาน%20PLACE.html __________________(2555). สุขภาวะองค์กรคืออะไร. วันที่เข้าถึงข้อมูล 15 กันยายน 2562 แหล่งท่ีมา https://www. thaihealth.or.th/Content/16872-สุขภาวะองค์กรคอื อะไร.html สุดารัตน์ ดิษยวรรธนะ จันทราวัฒนากุล. (2553). รู้เท่าทัน โซเชียลมีเดีย. ใน ธาม เช้ือสถาปนศิริ (บ.ก.), รู้ทันสื่อ (น. 234-247). กรุงเทพฯ: แผนงานสอ่ื สร้างสขุ ภาวะเด็กและเยาวชน (สสย.). อนุพงค์ สจุ รยิ ากลุ , สมทิ ธ์ิ บญุ ชตุ ิมา และกริ ติ คเชนทวา. (2559). การพัฒนารปู แบบสื่อสารความเสีย่ งจากวณั โรคในพ้ืนท่ีเสี่ยงวัณโรคด้ือยาหลายขนาน: กรณีศึกษา จังหวัดชายแดนไทย-เมียนมาร์ ปี พ.ศ. 2558. วารสารวิชาการ สาธารณสุข, 25(4), 571-582. Happy 8 Menu. (2012). วนั ทเ่ี ข้าถึงข้อมูล 15 กันยายน 2562 แหล่งที่มา http://www.happyworkplace.com/index.php/ เก่ียวกบั เรา.html ภาษาองั กฤษ Keller, P. A., & Lehmann, D. R. (2008). Designing effective health communications: A meta-analysis. Journal of Policy and Marketing, 27(2), 117-130. Lambert, J. (2007). Digital storytelling: How digital media help preserve cultures. The Futurist, 41(2), 25. Langer, A., Meleis, A., Knaul, F. M., Atun, R., Aran, M., Arreola-Ornelas, H., . . . Caglia, J. M. (2015). Women and health: the key for sustainable development. The Lancet, 386(9999), 1165-1210. Mainuddin, A., Begum, H. A., Rawal, L. B., Islam, A., & Islam, S. S. (2015). Women empowerment and its relation with health seeking behavior in Bangladesh. Journal of family & reproductive health, 9(2), 65-73. Mena, P. (2017). Why people share fake news. Retrieved September 15, 2019, from https://www.jou.ufl.edu/ insights/people-share-fake-news/ Ofcom. (2017). Children and parents: Media use and attitudes report 2017. Retrieved September 15, 2019, from https://www.ofcom.org.uk/about-ofcom/latest/media/media-releases/2017/children-social-media-fake- news Ratzan, S. C. (1998). Health communication goals. In A. Franklin (Ed.), The WHO European Health Communication Network Consultation on Health and Environment Communication Policy (pp. 35-39). Moscow, Russia. Smith, K. H., & Syutts, M. A. (2003). Effects of short-term cosmetic versus long-term health fear appeals in anti- smoking advertisements on the smoking behaviour of adolescents. Journal of Consumer Behaviour, 3(2), 157-177. Tennant, B., Stellefson, M., Dodd, V., Chaney, B., Chaney, D., Paige, S., & Alber, J. (2015). eHealth literacy and Web 2.0 health information seeking behaviors among baby boomers and older adults. Journal of Medical Internet Research, 17(3). doi: 10.2196/jmir.3992. Turner, J. W. (2003). Telemedicine: Expanding health care into virtual environments. In T. L. Thompson, A. Dorsey, K. I. Miller & R. Parrot (Eds.), Handbook of health communication (pp. 515-535). New York- London: Lawrence Erlbaum Associates. Wilson, C., Grizzle, A., Tuazon, R., Akyempong, K., & Cheung, C. (2011). Unifying notions of media and information literacy. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO).