Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข่าวในยุคสื่อดิจิทัล News in Digital Media Era

ข่าวในยุคสื่อดิจิทัล News in Digital Media Era

Description: วารสารปาริชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)
โดย ชนิดา รอดหยู่

Keywords: ข่าว

Search

Read the Text Version

ขา่ วในยุคสอื่ ดจิ ิทัล News in Digital Media Era ชนดิ า รอดหย1ู่ * Chanida Rodyoo1* 1 ผศ., คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 80280 1 Asst. Prof., Faculty of Management Sciences, Nakhon Sri Thammarat Rajabhat University, Nakhon Sri Thammarat, 80280, Thailand * Corresponding author: E-mail address: [email protected] (Received: September 6, 2019; Revised: November 21, 2019; Accepted: November 28, 2019)

บทคดั ย่อ ขา่ ว คอื เนอ้ื หาหลกั ของสอื่ มวลชน หมายถงึ เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และมอี งคป์ ระกอบ ของเหตกุ ารณท์ สี่ ามารถพจิ ารณาไดว้ า่ มคี ณุ คา่ มคี วามสำ� คญั และผลกระทบทปี่ ระชาชนควรจะไดร้ บั ทราบขอ้ มลู แตด่ ว้ ยเทคโนโลยที เี่ ปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ สอื่ อนิ เทอรเ์ นต็ ไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทตอ่ สงั คมมากขน้ึ ประชาชน หรือผู้รับสารนิยมบริโภคข่าวสารบนส่ือประเภทน้ีมากข้ึนด้วยเช่นกัน และคุณสมบัติของสื่ออินเทอร์เน็ต หรือส่ือใหม่ ที่มีความเป็นดิจิทัล (digitalization) สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้หลายมิติ (many to many) ซึ่งเป็นการผสมผสานรูปแบบของการสื่อสารระหว่างบุคคลและการสื่อสารมวลชนเข้าไว้ด้วยกัน ดังน้ัน จึงมี ข้อได้เปรียบส่ือมวลชนประเภทดั้งเดิมในเร่ืองการปฏิสัมพันธ์ (Interactivity) ระหว่างผู้ส่งสารกบั ผู้รับสาร มากขน้ึ ทง้ั น้ี สอื่ ดิจทิ ลั ได้สร้างความเปลยี่ นแปลงให้แกก่ ระบวนทศั น์การสอ่ื สารมวลชนในทุก ๆ ด้าน รวมถงึ กระบวนการท�ำงานเพ่ือผลิตเนื้อหาประเภทข่าว ท�ำให้นิยามความหมายของค�ำว่า “ข่าว” ในปัจจุบันได้ เปลีย่ นแปลงไป การพิจารณาองคป์ ระกอบของเหตกุ ารณท์ จี่ ะนำ� เสนอเปน็ ข่าว กม็ ีความแตกต่างไปจากหลัก วารสารศาสตรใ์ นยคุ ดง้ั เดมิ องคป์ ระกอบในการนำ� เสนอรายงานขา่ ว กม็ คี วามหลากหลายและซบั ซอ้ นขนึ้ และ รูปแบบในการน�ำเสนอข่าวมีความทันสมัยและน่าสนใจขึ้น การน�ำเสนอข่าวในยุคสื่อดิจิทัลจงึ ควรใชเ้ ทคนคิ และหลกั การทเ่ี หมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องสอื่ ตลอดจนธรรมชาตขิ องผรู้ บั สารทเี่ ปลยี่ นแปลงไปตามเทคโนโลยี ค�ำสำ� คัญ: ขา่ ว สือ่ ดจิ ทิ ัล Abstract News is the main content of mass media, meaning of the occurred events are facts and have elements of events which can be considered as having valuableness, importance and impact that people should be informed. However, with rapidly changing technology, internet media has become greater role to the society. People or recipients prefer consuming news on this type of media as well, and the qualifications of internet or new media is digitalization, able to send information and data in various dimensions (many to many), becoming the combination of interpersonal and mass media communications. Therefore, there are more advantages over traditional mass media in interactivity between messenger and receiver. Plus, digital media has created changes for mass communication paradigm in all aspects, including the work process to produce news content. This changed the definition of the word “news” which has been currently using. Considering elements of the event, which will be presenting as news, is different from traditional journalism scheme. The main elements in presenting news reports is more diverse and complex, and style of presenting news is more modern and interesting. Presenting news in digital media era should use appropriate techniques and principle for media nature, as well as recipients’ nature which changing according to technologies. Keywords: News, Media, Digital ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปาริชาต มหาวิทยาลยั ทักษิณ 17 ปีท่ี 33 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

บทนำ� ในยุคสมัยของดิจิทัลมีเดีย หรือดิจิทัลบรอดแคทติ้ง เป็นยุคของการใช้ส่ืออินเทอร์เน็ตหรือส่ือใหม่ เป็นส่ือกลางในการส่ือสารของคนในสังคม ผ่านเคร่ืองมือส่ือสารท่ีใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างคอมพิวเตอร์ ท้ังแบบตั้งโต๊ะและแบบพกพา รวมถึงโทรศัพท์เคล่ือนท่ีแบบสมาร์ทโฟน ปรากฏการณ์ดังกล่าวสร้างความ เปลี่ยนแปลงให้แก่กระบวนทัศน์เดิมของการส่ือสารมวลชนในเกือบทุก ๆ แง่มุม ส่ิงสะท้อนลักษณะความ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร และสงั คมมนษุ ยไ์ ดอ้ ยา่ งชดั เจน การเปลยี่ นแปลงกระบวนการการส่ือสาร มวลชนทเี่ หน็ ไดช้ ดั เจนอยา่ งหนงึ่ คอื ในแงเ่ นอื้ หาของสอื่ มวลชน เนอื้ หาสอื่ ทเี่ ดมิ มลี กั ษณะตายตวั ไดเ้ ปลย่ี นแปลง ไปตามเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทำ� ใหเ้ นอ้ื หามคี วามยดื หยนุ่ ปรบั เปลยี่ นไดต้ ลอดเวลา โดยการมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งและ ผลติ เนือ้ หาของผรู้ ับสาร (co-creators) แม้ว่าเทคโนโลยีได้ช่วยให้การผลิตเนื้อหาของส่ือมวลชนมีความสะดวก แปลกใหม่และน่าสนใจขึ้น แตข่ ณะเดยี วกนั ผผู้ ลติ เนอื้ หาบนสอ่ื ดจิ ทิ ลั กต็ อ้ งเผชญิ กบั ภาวการณแ์ ขง่ ขนั และความกดดนั จากความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยนี ด้ี ว้ ย เพราะเมอื่ ผรู้ บั สารสามารถผลติ เนอื้ หาและเผยแพรท่ างสอื่ สงั คมของตนเองได้ ก็ท�ำให้มีนัก ขา่ วพลเมอื ง (citizen journalism) เกดิ ขน้ึ จำ� นวนมาก และเนอ้ื หาของสอื่ ภาคพลเมอื งก็เปน็ เนอื้ หาทน่ี า่ สนใจ และสามารถรายงานขา่ วไดร้ วดเรว็ กวา่ ผสู้ อื่ ขา่ วมอื อาชพี อกี ทง้ั ปรมิ าณของขอ้ มลู ขา่ วสารจำ� นวนมากทไี่ หลเวยี น อยใู่ นสอื่ ดจิ ทิ ลั กเ็ ปน็ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลายและปะปนกนั ทง้ั เรอื่ งจรงิ เรอื่ งเทจ็ และความคดิ เหน็ สว่ นตวั ของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ต เม่ือกระบวนการคัดกรองขา่ วสารหรือ Gatekeeper ถกู ใหค้ วามสำ� คญั น้อยลงในกระบวนการ สื่อข่าวทางสื่อดิจิทัล จึงเป็นเรื่องท้าทายส�ำหรับผู้ส่ือข่าวมืออาชีพพอสมควรในการแยกแยะขอ้ มลู ทม่ี ากลน้ และกลน่ั กรองใหถ้ ถ่ี ว้ นกอ่ นทจี่ ะนำ� เสนอสสู่ าธารณะ ดงั นน้ั การทำ� งานของผสู้ อื่ ขา่ วหรอื ผผู้ ลติ เนอ้ื หาในปจั จบุ นั จงึ จำ� เปน็ ต้องมีทัง้ ความรแู้ ละทักษะท่ีทันสมัย สามารถผลติ เนื้อหาทีน่ ่าเชอ่ื ถอื และเป็นประโยชน์ และปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณก์ ารสอื่ สารมวลชนและบรบิ ทวารสารศาสตรใ์ นปจั จบุ นั ไดต้ ลอดเวลา ในบทความนผ้ี เู้ ขยี น ได้พยายามวเิ คราะห์สังเคราะหอ์ งค์ความรูเ้ พ่อื ชีใ้ ห้เหน็ ถึงภาพรวมของเนอ้ื หาประเภทข่าวในยคุ ส่อื ดิจิทลั แต่ อยา่ งไรกด็ ว้ ยความรวดเรว็ ของเทคโนโลยนี น้ั ความเปลยี่ นแปลงของเนอื้ หาขา่ วในยคุ สอื่ ดจิ ทิ ลั กอ็ าจจะมคี วาม เปลีย่ นแปลงไปได้ตลอดเวลาเชน่ เดยี วกัน ความหมายของขา่ ว และความเปล่ียนแปลงของการน�ำเสนอขา่ วในยุคดจิ ทิ ลั ข่าว (news) หมายถึง เรื่องราวหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น เป็นข้อเท็จจริง (fact) เหตุการณ์ใด เหตกุ ารณห์ นง่ึ เมอื่ ไดร้ บั การพจิ ารณานำ� เสนอเปน็ “ขา่ ว” ทางสอ่ื มวลชนแลว้ กน็ บั ไดว้ า่ เหตกุ ารณน์ นั้ มคี ณุ คา่ มคี วามส�ำคัญ ตลอดจนจำ� เป็นแก่ผรู้ บั สารในระดับหนึง่ ท้ังน้ี เพอ่ื นำ� ไปสูก่ ารแสดงความคิดเหน็ และพจิ ารณา ตดั สนิ ใจอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ซง่ึ ตามหลกั วารสารศาสตร์ ในการนำ� เสนอขา่ วของสอ่ื มวลชนนนั้ จำ� เปน็ ตอ้ งมหี ลกั การ ในการพจิ ารณาหรอื ประเมนิ ความสำ� คญั ของเหตกุ ารณ์ เนอ่ื งดว้ ยขอ้ จำ� กดั ในดา้ นพนื้ ทแ่ี ละเวลาของสอ่ื มวลชน ดังน้นั การรายงานข่าวจึงตอ้ งมกี ระบวนการคดั เลือกเร่อื งราว โดยค�ำนึงถงึ องค์ประกอบของเหตกุ ารณ์นั้นใน ดา้ นตา่ ง ๆ ทีเ่ รียกว่า องค์ประกอบของเหตกุ ารณ์ หรอื คุณคา่ ขา่ ว (news values) อย่างไรกต็ าม ในปัจจบุ นั นกั วชิ าการดา้ นวารสารศาสตรแ์ ละส่อื สารมวลชนบางกลุม่ ไดเ้ สนอให้มีการพิจารณานยิ ามของข่าวให้มคี วาม สอดคลอ้ งกบั วชิ าชพี สอ่ื สารมวลชน ในยคุ ของการไหลเวยี นขอ้ มลู ขา่ วสารโดยไรข้ อ้ จำ� กดั เรอ่ื งเวลา และสถานท่ี ตามคณุ ลกั ษณะของสือ่ ดจิ ิทัลท่ถี ือก�ำเนดิ ขน้ึ และทำ� ใหก้ ระบวนการข่าวได้เปลยี่ นแปลงไป 18 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

ข่าวในยุคสื่อดิจิทัล จึงไม่ได้เป็นเพียงข้อเท็จจิรงเท่าน้ัน แต่เป็นข้อมูลสารสนเทศ (information) จ�ำนวนมหาศาลท่ีเผยแพร่อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย มีแง่มุมความคิด ทแ่ี ตกตา่ ง ข้อมลู มีความรอบด้านและมคี วามลึกมากขึน้ ดว้ ย นยิ ามของขา่ ว เนอื้ หา และลลี าการน�ำเสนอใน ส่อื ดจิ ทิ ลั จึงมีความหมายทีก่ ว้างกวา่ ข่าวในสือ่ ด้งั เดมิ ขณะเดียวกัน ผู้บริโภคในปัจจุบันก็สามารถรับข่าวสาร ไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา จากหลากหลายชอ่ งทาง และสามารถในการเลอื กรบั เนอื้ หาทตี่ นตอ้ งการในเวลาใดกไ็ ด้ มลี กั ษณะ เปน็ ผรู้ บั สารท่มี คี วามกระตือรือรน้ (active audience หรือ active seeker) เช่น หากเรานอนไมห่ ลบั ในช่วง กลางดกึ เราจะลกุ ขึน้ มาอ่านข่าว หรอื ดูหนงั ในเวลานั้นจากสอ่ื ดิจิทลั ก็ท�ำได้ การนำ� เสนอขา่ วของสอื่ มวลชน ในยคุ นจี้ งึ ตอ้ งปรบั ตวั ดว้ ย โดยข่าวในยุคนี้ตอ้ ง สนั้ กระชับ อ่านงา่ ย ตรงประเด็น เน้นวิเคราะห์ และมีคณุ ภาพ มากขน้ึ อย่างไรก็ตาม ไม่เพียงแต่ในส่วนของเน้ือหาเท่านั้นท่ีท�ำให้ข่าวในยุคดิจิทัลมีความเปลี่ยนแปลงไป จากข่าวในสื่อด้ังเดิม กระบวนการท�ำงานหรือการส่ือข่าวก็ต้องปรับตัวไปตามความทันสมัยของเทคโนโลยี เชน่ เดียวกัน ดังท่พี าฟลกิ [1] ได้วิเคราะหถ์ ึงบทบาทของส่ือดจิ ทิ ัลทมี่ ตี อ่ กระบวนการทำ� งานข่าวไว้ ดงั นี้ 1. ในการเก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารจะท�ำได้หลากหลายวิธีมากขึ้น ท�ำให้การรายงานข่าวท่ีส�ำคัญ มเี นอ้ื หาทดี่ ขี นึ้ ถกู ตอ้ งมากขนึ้ รอบดา้ นและมาจากหลายมมุ มองมากขน้ึ รวมถงึ สามารถตรวจสอบเหตกุ ารณน์ น้ั หรอื ระบสุ ง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ได้เรว็ 2. ในแง่ของเน้ือหาข่าว (content) สื่อใหม่ท�ำให้เน้ือหาข่าวมีอยู่ท่ัวไป การเลือกรับสาร การมี ปฏิสัมพันธ์ และมัลติมีเดียเป็นเร่ืองส�ำคัญในการผลิตเน้ือหาข่าว ส่งผลให้ข่าวท่ีน�ำเสนอมีความหลากหลาย มมี มุ มอง ความลกึ และเขา้ ใจไดง้ า่ ยมากขน้ึ แตส่ ง่ิ ทตี่ อ้ งระวงั ในการใชส้ อ่ื ออนไลน์ คอื การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ และปญั หาในเร่ืองความเร็วทอ่ี าจทำ� ให้เกดิ ข้อผิดพลาดในการรายงานขา่ ว 3. การเปลีย่ นแปลงการทำ� งานของห้องขา่ วหรือกองบรรณาธกิ าร online news ที่มาจากองคก์ ร ขา่ วทเ่ี รม่ิ ตน้ จากการทำ� ขา่ วออนไลนเ์ ลยจะมคี วามยดื หยนุ่ ในการปรบั องคก์ รมากกวา่ สอ่ื ดง้ั เดมิ ปรบั องคก์ รรบั สอื่ ใหม่ ยกตวั อยา่ ง TheStreet.com ซง่ึ เปน็ เวบ็ ไซตข์ า่ วออนไลนท์ รี่ ายงานเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ การเงนิ การลงทนุ และหนุ้ จาก Wall Street มรี ปู แบบของกองบรรณาธกิ ารขา่ วทที่ ำ� งานคลอ่ งตวั มรี ะดบั ขน้ั ตอนของการทำ� งาน น้อยกวา่ สื่อดัง้ เดมิ มกี ารรวมข้อมูลการท�ำงานไว้ ท่ศี นู ยก์ ลางแตก่ ็มกี ารบูรณาการ (Integrated) การทำ� งาน มากกวา่ มีการส่อื สารที่ดีระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรและระหว่างผสู้ ื่อข่าว ส่งผลใหเ้ วบ็ ไซต์ The Street. com สามารถผลติ ขา่ วทมี่ คี วามสรา้ งสรรค์ มปี ระเดน็ มมุ มองใหม่ ๆ ทน่ี า่ สนใจ และมกี ารรายงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และสามารถรายงานการเปลย่ี นแปลงของหนุ้ นาทตี อ่ นาที่ได้อยา่ งแม่นย�ำหนกั แนน่ นอกจากนัน้ การเปล่ยี นแปลงลกั ษณะการทำ� งานของหอ้ งข่าวหรอื กองบรรณาธกิ ารอกี ประการ คือ จะมีนกั ข่าวท่ีเปน็ freelance หรือ stringers มากขึ้น เพอ่ื ท�ำงานในพื้นท่ีทีห่ า่ งไกลออกไป แล้วสง่ ขา่ วเขา้ มา ให้โต๊ะข่าว สามารถรายงานข่าวได้จากทุกที่ ท�ำให้ค่าใช้จ่ายของกองบรรณาธิการลดลง แต่นักข่าวมีความ คลอ่ งตวั ในการทำ� งานมากขนึ้ ดงั นนั้ โดยสรปุ แลว้ สอื่ ดจิ ทิ ลั จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลงกบั ขา่ ว ทงั้ ในแงข่ อง คำ� นยิ าม กระบวนการท�ำงาน ผู้สอ่ื ขา่ ว ช่องทาง ตลอดจนผู้รับสารดว้ ย องค์ประกอบของเหตุการณท์ ีก่ ำ� หนดเปน็ ข่าว เรื่องราวหรือเหตุการณ์ท่ีจะสามารถน�ำเสนอเป็น “ข่าว” ทางส่ือมวลชนได้น้ันจะต้องได้รับการ ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปาริชาต มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ 19 ปีท่ี 33 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

พิจารณาหรอื ประเมนิ ความส�ำคัญในองคป์ ระกอบของเหตุการณเ์ ปน็ เบื้องตน้ ดังน้นั การรายงานขา่ วจงึ ต้องมี กระบวนการคัดเลือกข่าวสารเพื่อน�ำเสนอเช่นกัน โดยค�ำนึงถึงเหตุการณ์หรือเร่ืองราวท่ีมีคุณค่าข่าวสูง มอี งคป์ ระกอบเดน่ ชดั เพอ่ื ใหข้ า่ วทน่ี ำ� เสนอผา่ นสอื่ ไดร้ บั การตดิ ตามจากผอู้ า่ น โดยในการประเมนิ องคป์ ระกอบ ของเหตกุ ารณ์ตามหลักวารสารศาสตร์มปี ระเด็นทตี่ อ้ งพจิ ารณา ดงั ตอ่ ไปน้ี [2-3] 1. ความรวดเร็ว (immediacy) หมายถึง ช่วงเวลานับต้ังแต่การเกิดข้ึนของเหตุการณ์หนึ่ง ๆ จนกระทง่ั เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วนน้ั ถกู นำ� มาเขยี นเปน็ รายงานขา่ วเสนอตอ่ สาธารณะ ชว่ งเวลาดงั กลา่ วยงิ่ นอ้ ยเทา่ ใด กถ็ อื วา่ มีคุณคา่ ทางดา้ นความรวดเรว็ มากข้ึนเท่านัน้ ความรวดเรว็ ถอื ว่า เป็นหัวใจสำ� คญั ของการน�ำเสนอขา่ ว เพราะคุณค่าของเหตุการณห์ นึง่ ๆ จะลดลงหากเวลาไดล้ ว่ งเลยไปแลว้ ความรวดเรว็ ในที่น้ี หมายถึง 1.1. ความรวดเร็วของเวลาท่ีเหตุการณ์เกิดขึ้น (time of occurrence) หมายถึง ทันทีที่ เกดิ เหตุการณ์น้ัน ๆ ข้ึนแล้วผูส้ ื่อข่าวไดร้ ายงานข่าวดังกล่าวไปยังต้นสงั กัด ซง่ึ หมายถงึ หนงั สือพมิ พ์ได้อยา่ ง รวดเรว็ ทีส่ ุด หรอื ใช้เวลาน้อยทีส่ ดุ ในการรายงานข่าวดังกล่าวต่อสาธารณะ 1.2. ความรวดเรว็ ของเวลาทเ่ี หตกุ ารณถ์ กู คน้ พบ (time of disclosure) หมายถงึ เหตกุ ารณน์ นั้ ได้เกิดขึ้นมาช่วงระยะหน่ึงแล้วแต่ยังไม่มีผู้ใดทราบ เช่น การขุดพบทองค�ำในสวนปาล์ม จังหวัดพัทลุง โดยสันนิษฐานว่าเป็นทองขนาดเดียวกับทองที่ใช้หุ้มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งจาก เปรยี บเทยี บพบวา่ มคี วามหนาเทา่ กบั คมั ภรี ใ์ บลาน สอดคลอ้ งกบั ตำ� นานการสรา้ งพระบรมธาตุ เมอื่ ค.ศ.1093 ดงั นน้ั เมอ่ื มกี ารขดุ คน้ พบหากมกี ารรายงานขา่ วดงั กลา่ วไปยงั หนงั สอื พมิ พไ์ ดเ้ รว็ เทา่ ใด กถ็ อื วา่ มคี ณุ คา่ มากเทา่ นน้ั 2. ความใกล้ชิด (proximity or nearness) หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างเหตกุ ารณ์ท่ีเกดิ ข้ึนกบั ผูอ้ า่ น อาจเปน็ ได้ความใกล้ชดิ ทางรา่ งกาย หรอื ใกลช้ ิดในแง่ของภมู ิศาสตร์ เชน่ อยู่ในพนื้ ท่ใี กลเ้ คยี งกับสถาน ที่เกิดเหตุ เช่น กรณภี ัยแล้งน้�ำในเขอ่ื นเจ้าพระยาลดระดับลงอยา่ งต่อเน่อื ง ส่งผลให้เกษตรกรในเขตพน้ื ทภี่ าค กลาง ไดแ้ ก่ จ. ชัยนาท อา่ งทอง อยุธยาและจังหวดั ใกลเ้ คยี งไดร้ ับความเดือดรอ้ น ขาดแคลนน�ำ้ ในการท�ำการ เกษตร ตลอดจนอุปโภคบริโภค ส่วนความใกล้ชิดทางด้านจิตใจ หมายถึง ความรู้สึกท่ีผู้อ่านมคี วามผูกพัน กบั สง่ิ ใดสงิ่ หนงึ่ ไมว่ า่ จะเปน็ สง่ิ ของ บคุ คล หรอื สถานท่ี เปน็ ความรสู้ กึ รว่ มกนั เชน่ ความรสู้ กึ ทเ่ี ปน็ คนไทยดว้ ยกนั ความรักและศรัทธาในตัวบุคคลใด ๆ เช่น กรณีข่าวคนไทยถูกจับ และถูกลงโทษจ�ำคุกหรือประหารชีวิตใน ต่างแดน ในฐานะท่ีเราเป็นคนไทยก็จะเกิดความรู้สึกเห็นใจ และสงสารเพราะเป็นคนไทยเหมือนกัน 3. ความสำ� คญั หรอื ความเดน่ (prominence) หมายถงึ ความสำ� คญั ของบคุ คล สถานที่ หรอื ประเดน็ ทเี่ ปน็ ขา่ วนั้นมีความเด่นของบุคคล หรือตำ� แหนง่ หน้าทีก่ ารงาน สถานภาพของบคุ คล เชน่ นายกรฐั มนตรเี ปน็ บุคคลส�ำคัญที่ส่ือมวลชนให้ความส�ำคัญ เม่ือนายกรัฐมนตรีเดินทางไปปฏิบัติภารกิจใด ๆ ย่อมถือว่าภารกิจ เหลา่ นั้นยอ่ มมคี วามส�ำคญั ไปด้วยแต่หากบุคคลธรรมดาทวั่ ไปกระท�ำภารกิจเช่นเดยี วกนั น้ันก็จะไมเ่ ป็นขา่ ว 4. ผลกระทบ (consequence) หมายถงึ เหตกุ ารณ์ท่ีมคี วามส�ำคญั (important) เมอ่ื พิจารณาแล้ว เปน็ เร่ืองราวท่ีประชาชนต้องทราบ หรือตอ้ งการคำ� ชีแ้ นะสำ� หรบั การด�ำเนนิ ชวี ิต มีต่อการผลตัดสินใจ หรือกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ความรสู้ กึ สาธารณะ ยง่ิ เหตกุ ารณใ์ ดไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบในวงกวา้ งมากเทา่ ใด กจ็ ะไดร้ บั ความสนใจมากขึ้นเทา่ นนั้ 5. ความลึกลับซ่อนเง่อื น (mystery) หมายถงึ เหตุการณท์ ี่มลี ักษณะปดิ บงั หรือมเี ง่ือนง�ำบางอย่าง ถูกปิดบังเอาไว้ ท�ำให้เกิดความอยากรู้ติดตาม เพ่ือให้ทราบสิ่งที่ถูกปิดบังซ่อนเร้นนั้น เช่น การเกิดไฟไหม้ 20 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

อย่างไม่ทราบสาเหตุที่บ้านหลังหน่ึงในจังหวัดพัทลุง ซ่ึงเจ้าของบ้านอ้างว่ามีไฟลุกไหม้ในบ้านวันละหลายจุด และไมท่ ราบวา่ เกิดจากฝมี อื มนษุ ย์หรอื ไม่ 6. ความผดิ ปกติ (unusual) หมายถงึ ความไมเ่ ปน็ ไปตามธรรมชาติ ผดิ ไปจากทเ่ี คยเปน็ มากอ่ นหนา้ นี้ เหตุการณ์หรือเร่ืองราวท่ีเป็นความผิดปกติจากท่ีเคยเป็น ซ่ึงรวมท้ังเหตุการณ์ที่เป็นอุบัติการณ์ทางธรรมชาติ หรอื เหตกุ ารณท์ างสงั คมทเี่ กดิ ขน้ึ เชน่ ทารกคลอดออกมาไมม่ แี ขนไมม่ ขี า ทารกแฝดลำ� ตวั ตดิ กนั ปลาไหลเผอื ก หมูมงี วง 7. ความขดั แย้ง (conflict) หมายถงึ ความขัดแยง้ ทางด้านความคิด หรือความขัดแยง้ เก่ียวกบั เรอื่ ง ของผลประโยชน์ทุกระดับ ทั้งระดับครอบครัว ระดับองค์กร หรือระดับชาติ ที่น�ำไปสู่การตัดสินเพื่อหา ข้อยุติในประเด็นของความขัดแย้งดังกล่าว เช่น ความขัดแย้งระหว่างสามีกับภรรยา ความขัดแย้งระหว่าง พรรคการเมอื งฝ่ายรฐั บาลและฝ่ายคา้ น 8. องคป์ ระกอบทางเพศ (sex) หมายถงึ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ อนั เนอ่ื งมาจากเรอ่ื งเกย่ี วกบั ความผดิ ปกติ ทางเพศของมนษุ ย์ ทง้ั บคุ คลทม่ี ชี อ่ื เสยี ง หรอื บคุ คลทวั่ ไป ทอี่ ยใู่ นความสนใจของประชาชน เชน่ ความผดิ ปกติ ในเร่ืองการมีภรรยาหรือมีสามีหลายคนของผู้มีช่ือเสียง ความรักของบุคคลเพศเดียวกัน กฎหมายอนุญาตให้ เพศเดยี วกันแต่งงานกนั ได้ 9. อารมณ์ (emotion) หมายถึง ความรู้สึก หรอื สภาพทางดา้ นจิตใจของบุคคล ท่ีมีตอ่ เหตกุ ารณท์ ี่ เกิดข้ึนไม่ว่าจะเป็นเรื่องใด หรือก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมกันอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น กรณีข่าวแม่กรอกยาพิษ ลกู สามคนเสยี ชวี ิต และฆา่ ตวั เองตายตามไปดว้ ยเพือ่ หนีปญั หาหนส้ี นิ ครอบครัว และตอ้ งการประชดสามี 10. ความก้าวหน้า (progress) หมายถึง ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ วงการศึกษา วงการแพทย์ ท่เี ป็นการคดิ ค้นผลงานใหม่ ๆ ของวงการเหลา่ น้ัน อนั จะส่งผลดีตอ่ การพัฒนาประสทิ ธิภาพใน การท�ำงานการแก้ปัญหา หรือด้านความทันสมัยอื่น ๆ เช่น การน�ำยานอวกาศไปส�ำรวจบนดาวอังคาร การคน้ พบยารักษาโรคมะเร็งตวั ใหม่ การผลติ วคั ซนี ป้องกันไขห้ วดั ใหญ่สายพันธ์ใหม่ หลกั การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของเหตกุ ารณ์ หรอื คณุ คา่ ขา่ วทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ นน้ั เปน็ แนวทางการ เรยี นการสอนดา้ นวารสารศาสตรแ์ ละสอ่ื สารมวลชนมาอยา่ งยาวนาน อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ ภมู ทิ ศั นใ์ นการสอื่ สาร มวลชนมีลักษณะที่เปล่ียนไปตามเทคโนโลยีส่ือใหม่ท่ีเข้ามา ซ่ึงส่งผลให้องค์ประกอบในกระบวนการสื่อสาร มวลชน รวมถึง เนอื้ หาประเภทขา่ วมคี วามเปล่ยี นแปลงตามไปดว้ ย เนื่องจากมีช่องทางในการเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารมากขึ้น เร็วข้ึน และเข้าถึงได้ง่ายข้ึน ท�ำให้เน้ือหาข่าวสารที่ไหลเวียนอยู่ในสังคมปัจจุบันมีจ�ำนวน มหาศาล และส่งผลกระทบทั้งในด้านบวกและลบเช่นเดียวกัน ซ่ึงนักวารสารศาสตร์ในยุคสื่อดิจิทัลก็ควร ปรับตวั และพฒั นาองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ อย่เู สมอ ในยคุ ของสอ่ื ดจิ ทิ ลั องคป์ ระกอบของเหตกุ ารณท์ ถ่ี กู ใหค้ วามสำ� คญั และนำ� มาเสนอผา่ นสอื่ มวลชนก็ มีรายละเอียดบางประเด็นท่ีไม่ได้ถูกให้ความส�ำคัญมากนัก และบางประเด็นท่ีจะถูกน�ำมาพิจารณาประกอบ ในการตัดสินใจเพ่ือการน�ำเสนอข่าวมากข้ึน โดย The Center for News Literacy at Stony Brook University (n.d.) [4] ใหค้ ำ� นยิ ามขององคป์ ระกอบดงั กลา่ ววา่ “Universal News Drivers” หรอื สงิ่ ทข่ี บั เคลอ่ื น ขา่ วอยา่ งสากล เนอื่ งจากเปน็ สงิ่ ทท่ี ำ� ใหเ้ รอื่ งราวตา่ ง ๆ ไดร้ บั การนำ� เสนอเปน็ ขา่ วนนั่ เอง โดยประเดน็ พจิ ารณา องคป์ ระกอบของเหตกุ ารณต์ ามภูมทิ ัศน์ส่ือในปัจจบุ ัน ได้แก่ ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปารชิ าต มหาวิทยาลยั ทักษิณ 21 ปีท่ี 33 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

1. ความเด่นหรือความส�ำคัญ เป็นหลักการพิจารณาองค์ประกอบของเหตุการณ์การตามหลักการ พจิ ารณาองคป์ ระกอบของขา่ วในสอื่ ดง้ั เดมิ ตา่ งกนั ทมี่ งุ่ ใหค้ วามสนใจความสำ� คญั ของตวั บคุ คลเปน็ หลกั ทงั้ ดารา นักร้อง เซเลปบิตี้ หรือนักการเมืองท่ีประชาชนให้ความสนใจหรือเป็นที่รู้จักของสังคม ซ่ึงการพิจารณา องคป์ ระกอบดา้ นความเดน่ หรอื ความสำ� คญั ในบรบิ ทสอ่ื ดจิ ทิ ลั พบวา่ ขา่ วในสอ่ื ออนไลนม์ พี นื้ ทใี่ นการนำ� เสนอ ประเดน็ เหลา่ นจ้ี ำ� นวนมาก แมว้ า่ บคุ คลเหลา่ นจี้ ะใชช้ วี ติ ตามปกตกิ จ็ ะมปี ระเดน็ ขา่ วเกย่ี วกบั ไลฟส์ ไตลข์ องดารา หรอื เซเลปบิตป้ี รากฏอยู่บนสือ่ ออนไลน์จ�ำนวนมาก นอกจากนี้ การจดั อนั ดับในดา้ นตา่ ง ๆ ของคนดงั กเ็ ป็น เทคนคิ ท่ผี ้สู อื่ ขา่ วนำ� มาใช้เป็นเนือ้ หาข่าว เช่น 10 ดาราผู้สบื เชือ้ สายจากราชสกุล 8 คนดังทเี่ ปน็ คณุ แมเ่ ลย้ี ง เด่ียวที่ประสบความสำ� เร็จ หรือ 5 ดาราชายทายาทนกั ธรุ กจิ พันลา้ น เปน็ ต้น ซึง่ หากติดตามขา่ วทางสอ่ื สงั คม เชน่ ไลน์ เฟซบกุ๊ และทวติ เตอร์ จะพบวา่ มขี า่ วในลกั ษณะดงั กลา่ วเกอื บทกุ วนั และหากวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาลกั ษณะ ดงั กลา่ วทสี่ ามารถนำ� มาเสนอทางสอื่ มวลชนไดก้ จ็ ะมเี พยี งแคอ่ งคป์ ระกอบดา้ นความเดน่ หรอื ความสำ� คญั เพยี ง อยา่ งเดียวเท่าน้ัน และคงจะมคี ำ� ถามเกดิ ขึน้ กบั ผู้อ่านจ�ำนวนมากเกีย่ วกบั สาระ ประโยชนข์ องขา่ วลกั ษณะน้ี 2. ความแปลกหรือความผิดปกติ เชน่ เดียวกับองคป์ ระกอบของข่าวตามหลกั วารสารศาสตรข์ องสื่อ ด้งั เดิมท่ใี ห้ความส�ำคัญกบั เรอ่ื งแปลก ๆ เกิดขึ้นโดยไม่ปกติ เนื่องจากโดยธรรมชาตแิ ล้วมนษุ ย์มกั จะสนใจใคร่ รเู้ รอื่ งท่ีไม่เคยพบเหน็ หรือไดย้ ินมาก่อน ประกอบกบั เรื่องราวผิดธรรมชาตติ า่ ง ๆ ถูกนำ� เสนอโดยผใู้ ช้สือ่ สงั คม มากข้ึน และเปน็ โอกาสที่สอ่ื มวลชนหยิบยกมานำ� เสนอต่อให้กวา้ งขวางมากข้ึน ซง่ึ โดยสว่ นใหญก่ ารน�ำเสนอ ขา่ วจากแหล่งขา่ วท่ีเป็นสือ่ สงั คมของผูใ้ ชท้ ่ัว ๆ ไป จะมคี วามผิดปกตเิ ปน็ องค์ประกอบสำ� คญั ของเหตุการณ์ที่ ส่ือมวลชนจะมองว่าเป็นคุณค่าที่สามารถยกระดับเป็นรายงานข่าวทางส่ือได้ นอกจากน้ี หากมีการเผยแพร่ คลิปวิดีโอของเหตุการณ์ด้วยก็สามารถเพิ่มความสนใจในการติดตามประเด็นข่าวแปลกได้มากย่ิงขึ้นด้วย แต่ หากจะพจิ ารณาถงึ สารประโยชนข์ องประเดน็ ขา่ วลกั ษณะดงั กลา่ ว กส็ ามารถระบใุ หอ้ ยใู่ นกลมุ่ ของขา่ วเบา คอื ขา่ วทไี่ มไ่ ดม้ เี นอื้ หาสาระทเี่ ปน็ ประโยชนห์ รอื มผี ลกระทบตอ่ สงั คมมากนะ ในขณะทยี่ อดของการดแู ละการแชร์ เร่ืองราวหรอื เหตกุ ารณแ์ ปลก ๆ กลบั มจี ำ� นวนมากกว่าข่าวทมี่ อี งค์ประกอบในเร่อื งอนื่ ๆ 3. โศกนาฏกรรม ความขัดแยง้ ความผิดหวงั ทง้ั ในเรื่องของอบุ ัติเหตุ การสูญเสยี อาชญากรรม การ ประท้วง และสงความ อันจะท�ำให้เกิดการปะทะกันของผู้คน สถาบันหรือความคิดเห็นมีแนวโน้มท่ีจะท�ำให้ เกดิ ความสนใจต่อสาธารณชน จะเหน็ ได้ว่า องคป์ ระกอบในด้านน้ีเปน็ การรวบคุณคา่ ขา่ วของสื่อดงั้ เดมิ ท้งั ใน แงอ่ ารมณแ์ ละความขดั แยง้ เขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งไรกต็ าม องคป์ ระกอบของเหตกุ ารณใ์ นขอ้ นคี้ อ่ นขา้ งมคี วามสำ� คญั และผลกระทบตอ่ สงั คม โดยเฉพาะ เหตุการณ์ทีม่ ีผลกระทบในระบบสาธารณะ การนำ� เสนอเรื่องราวต่าง ๆ ผ่านสือ่ ดิจทิ ัล สามารถสร้างการรบั รู้ในวงกวา้ งอย่างรวดเร็ว ด้วยการแบ่งปันขอ้ มูล (share) ขา่ วผา่ นสื่อสังคม จึงสามารถปลกุ กระแสสงั คมให้เกิดความตระหนัก กระตุ้นใหห้ น่วยงานทร่ี บั ผิดชอบแกไ้ ขปัญหา ซง่ึ เคยทำ� ให้ เกดิ ปรากฏการณร์ ะดบั โลกมาแล้ว เช่นในเหตุการณอ์ าหรับสปรงิ เปน็ ต้น 4. ผลกระทบทางเศรษฐกจิ การเมอื ง นโยบายสาธารณะ สาธารณสขุ และประเดน็ อน่ื ๆ ทม่ี ผี ลกระทบ อย่างจริงจังต่อสังคม ข่าวประเภทนี้จัดเป็นข่าวหนัก ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจทั้งของผู้ส่ือข่าวและผู้อ่าน ประเด็นเหล่านี้ในส่ือดิจิทัลท่ีน�ำเสนอส่วนใหญ่ จึงเป็นแค่การรายงานเหตุการณ์อย่างผิวเผิน การน�ำเสนอใน ลกั ษณะของขา่ วสบื สวนสอบสวนยงั มใี หเ้ หน็ ไมม่ ากนกั เนอื่ งดว้ ยตอ้ งใชต้ น้ ทนุ สงู และใชเ้ วลาในการทำ� งานมาก แม้ว่าจะดูขัดแย้งกับธรรมชาติของสื่อดิจิทัล ท่ีเน้นความสะดวกรวดเร็ว็ว แต่ในปัจจุบันจะสังเกตเห็นมีความ 22 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

พยายามทจ่ี ะรายงานขา่ วในเชงิ นโยบายมากขน้ึ จากสำ� นกั ขา่ วออนไลน์ ทง้ั น้ี ขา่ วทมี่ อี งคป์ ระกอบในดา้ นนเี้ ปน็ ขา่ วท่ีมีคณุ คา่ และมปี ระโยชน์ตอ่ สังคมมากกวา่ การเขียนข่าวดารา หรอื เซเลปบิต้ี 5. ความใกล้ชิด ทั้งเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนบนท้องถิ่นและเหตุการณ์ระดับนานาชาติที่มองจากมุมมอง ของท้องถ่ิน ข่าวเก่ียวกับประชากรท่ีอาศัยอยู่ต่างแดน ซึ่งประชาชนมักจะให้ความส�ำคัญกับความใกล้ชิดกับ ขอ้ มลู ทางกายภาพและจติ ใจ อกี ทงั้ ในปจั จบุ นั ทอ่ี นิ เทอรเ์ นต็ สามารถเชอ่ื มโยงคนทวั่ โลกใหส้ ามารถตดิ ตอ่ สอื่ สาร กนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ นนั้ ยงั เออื้ ใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยขา่ วและนกั ขา่ วมอื อาชพี ทวั่ โลกในนามของ Newsmotion.org การรวมกลมุ่ ลกั ษณะนส้ี ง่ เสรมิ องคป์ ระกอบของเหตกุ ารณด์ า้ นความใกลช้ ดิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก เพราะประเดน็ ที่ นักขา่ วกลุม่ นใี้ ห้ความสำ� คัญเป็นปัญหาระดบั สากล และมีประโยชนก์ บั ประชาชนทุกประเทศ เชน่ ปญั หาสทิ ธิ มนุษยชน การก่ออาชญากรรมหรือก่อการร้าย ธุรกิจผิดกฎหมายข้ามชาติ และปัญหาคุณภาพชีวิตของ ประชากรโลก เปน็ ตน้ การรว่ มมอื กนั นำ� เสนอเนอื้ หาในประเดน็ ดงั กลา่ วจากนกั ขา่ วทกุ มมุ โลก สะทอ้ นใหเ้ หน็ ประเดน็ ดา้ นความใกล้ชิดท่ีเกดิ จากการเชือ่ มโยงจากสอ่ื ดจิ ิทลั 6. ความรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ เทรนด์ ในรูปแบบของข่าวด่วน ข่าวต้นชั่วโมง ประเด็นร้อนท่ี ประชาชนจะไดพ้ ูดคยุ ถกเถียงกัน เช่น แฟชน่ั สิ่งประดษิ ฐ์ยอดนยิ ม และหนังสือขายดี เป็นตน้ แนวคดิ เรื่อง เวลาเปน็ ปัจจัยท่ีทำ� ใหส้ าธารณะเกดิ ความสนใจ จึงเปน็ ประเด็นท่ีนยิ มพูดถงึ กนั อกี ทง้ั สอดคล้องกบั ธรรมชาติ ของสอ่ื ดจิ ทิ ลั และธรรมชาตขิ องผรู้ บั สาร ทำ� ใหก้ ารนำ� เสนอขา่ วในลกั ษณะของขา่ วดว่ นเปน็ รปู แบบทสี่ ำ� นกั ขา่ ว ทุกสำ� นักนยิ มใช้กนั โดยเฉพาะ การน�ำเสนอผา่ นสอื่ ดิจทิ ลั ปจั จัยที่สง่ ผลต่อองคป์ ระกอบของเนือ้ หาขา่ วบนสือ่ ดจิ ิทลั โดยปกตเิ นอื้ หาทางสอ่ื มวลชนจะนำ� เสนอโดยใชก้ ลวธิ กี ารเลา่ เรอื่ ง (storytelling) ดว้ ยองคป์ ระกอบ ท่ีหลากหลาย ตามธรรมชาติของส่ือแตล่ ะประเภท การน�ำเสนอขา่ วแบบเลา่ เรอื่ งบนส่อื ดิจทิ ัล มีองคป์ ระกอบ ของเน้อื หาทห่ี ลากหลาย ทัง้ ในรูปแบบของข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพกราฟกิ และแอนนเิ มชน่ั อกี ทง้ั ยงั มอี งคป์ ระกอบทม่ี าจากมมุ มองดา้ นความคดิ และการตดั สนิ ใจ การปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ า่ น และการเชอ่ื ม โยงขอ้ มลู ในหลากหลายมติ ิ ผเู้ ขยี นไดว้ เิ คราะหถ์ งึ ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ องคป์ ระกอบของเนอื้ หาขา่ วบนสอ่ื ดจิ ทิ ลั ดงั นี้ 1. คุณสมบัติของส่ือใหม่ ท่ีมีความรวดเร็วและกว้างไกลข้ึน มีลักษณะของความเป็นดิจิทัล (digitalization) ที่สามารถน�ำเสนอเน้ือหาในรูปแบบท่ีหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ภาพ เสียง และ ภาพเคลอ่ื นไหว อกี ทงั้ เขา้ ถงึ ผรู้ บั สารไดม้ ากขนึ้ และเฉพาะกลมุ่ ขนึ้ ตลอดจนมลี กั ษณะของการสอ่ื สารสองทาง (two way communication) มากกวา่ สอ่ื ด้ังเดมิ หรือสอื่ กระแสหลัก ท�ำให้ในเนอื้ หาของขา่ วทน่ี �ำเสนอผา่ น สื่อดจิ ิทัลมกั จะมีส่วนผสมของความคดิ และการตัดสินใจ สามารถสร้างปฏิสัมพนั ธก์ ับประชามชนไดม้ ากขึน้ 2. ลักษณะของผู้รับสารในปัจจุบัน ที่มีความการด�ำเนินชีวิตเร่งรีบขึ้น ท�ำให้มักชอบบริโภคสื่อที่ ย่อยงา่ ย ไมต่ ้องใช้เวลาอ่านมาก และนิยมรบั ขา่ วสารผ่านสือ่ ออนไลนบ์ นสมาร์ทโพน หรอื คอมพิวเตอรพ์ กพา มากกวา่ การอา่ นหนงั สอื พมิ พ์ ฟงั วทิ ยุ หรอื ดโู ทรทศั น์ นอกจากนี้ ผรู้ บั ขา่ วสารออนไลนย์ งั สามารถเลอื กรบั สาร เฉพาะทต่ี นสนใจ และรบั สารไดท้ กุ เวลาทต่ี อ้ งการ โดยไมไ่ ดข้ นึ้ อยกู่ บั ตารางเวลาของสอ่ื เชน่ การพมิ พข์ า่ วใหม่ ของหนังสือพมิ พ์ท่ตี ้องรออา่ นในวนั ถัดไป หรอื ตารางการออกอากาศข่าวโทรทศั นช์ อ่ งตา่ ง ๆ ที่มกี ารก�ำหนด เวลาไว้อย่างชัดเจน แต่ข่าวสารออนไลน์ท่ีมีการเผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตนั้นมีความรวดเร็วแบบทันทีทันใด (real time) และสามารถทำ� การสบื คน้ ไดต้ ลอดเวลา ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปารชิ าต มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 23 ปีท่ี 33 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

3. การปรบั ตวั ขององคก์ รสอื่ แมข้ า่ วบนสอ่ื ดจิ ทิ ลั จะเรม่ิ ตน้ มาจากการปรบั ตวั ขององคก์ รหนงั สอื พมิ พ์ ท่ีเพ่ิมช่องทางการเผยแพร่ข่าวสารผ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์ แต่เมื่อเทคโนโลยีการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต พัฒนาการขึน้ โดยตลอด กท็ ำ� ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารถูกเผยแพร่ออกมาในรูปแบบอน่ื ๆ ดว้ ย โดยเฉพาะ ส่งข้อมูล ข่าวสารผ่านสื่อสังคม ซึ่งข่าวสารออนไลน์จะมีลักษณะที่ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นของปัจเจกบุคคล มากขนึ้ มกี ารปรบั รปู แบบการนำ� เสนอใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผรู้ บั สารในปจั จบุ นั เชน่ การสรปุ ขา่ ว ทม่ี เี นอื้ หายาก ๆ ยาว ๆ เปน็ คลปิ วดี โิ อสน้ั ๆ ใชเ้ วลารบั สารประมาณ 2 – 3 นาที และการใชเ้ ทคนคิ คอมพวิ เตอร์ ออกแบบและตกแต่งภาพกราฟกิ ที่ชว่ ยส่งเสริมและสรา้ งความเขา้ ใจเน้ือหาของขา่ วไดง้ า่ ยและเร็วขึน้ 4. มีแหล่งข้อมูลสารสนเทศ “ข่าว” ในส่ือดิจิทัลมีลักษณะเป็น “ข้อมูลข่าวสาร” (information) ทม่ี าจากการรวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกีย่ วข้องกบั เหตุการณจ์ ากแหล่งข้อมูลจ�ำนวนมหาศาล สามารถเชอื่ มโยงใหเ้ กิด การขบคิด แตกประเด็นด้วยมุมมองที่ลึกและกว้างขึ้น บางคร้ังการถกเถียงหรือแสดงความคิดคิดของผู้ใช้ สอื่ ดจิ ทิ ลั กท็ ำ� ใหเ้ กดิ เปน็ ประเดน็ ทางสงั คม นำ� ไปสกู่ ารพดู ถงึ ในวงกวา้ งและเปน็ วาระแหง่ ชาตทิ ที่ กุ คนตระหนกั และให้ความส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม ข่าวสารที่เผยแพร่อยู่บนสื่อออนไลน์ในปัจจุบันมีจ�ำนวนมากมายมหาศาล ขา่ วสารจำ� นวนมากมาจากแหลง่ ทมี่ าทหี่ ลากหลาย ทง้ั คนทว่ั ไปทเี่ ปน็ ผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ และสอ่ื มวลชนมอื อาชพี ซงึ่ เปน็ ทง้ั ขอ้ มลู ทเี่ ชอื่ ถอื ได้ ขณะเดยี วกนั ขอ้ มลู จำ� นวนมากทเ่ี ผยแพรอ่ อกมาเพอ่ื ผลประโยชนบ์ างอยา่ งของคน บางกลุ่ม และข่าวสารท่ีขาดความน่าเช่ือถือน้ีบางส่วนมากจากเว็บไซต์ประเภท click bait ซึ่งใช้เทคนิค การพาดหวั ขา่ วทกี่ ระตนุ้ ความอยากรอู้ ยากเหน็ ของผอู้ า่ น ทำ� ใหต้ อ้ งคลกิ เขา้ ไปอา่ นเนอ้ื หาขา่ ว แตพ่ ออา่ นแลว้ อาจจะพบว่า เป็นเรื่องไร้สาระหรือเรื่องท่ีไม่เกี่ยวข้องกับท่ีพาดหัวเลยก็ได้ ข่าวประเภทนี้ต้องการใช้ยอด การกดถกู ใจ (like) และแบง่ ปัน (share) ของผใู้ ชส้ ่อื สงั คมเพอ่ื เปา้ หมายในการขายพน้ื ทโี่ ฆษณา ดงั นน้ั ผูเ้ ขียน คิดว่าทักษะท่ีเกี่ยวข้องกับข่าวในยุคสื่อดิจิทัลนี้จำ� เป็นต้องมีอยู่ทั้งในตัวของผู้ส่ือข่าว (ผู้ส่งสาร) และผู้ใช้ส่ือ (ผ้รู ับสาร) ดว้ ย รูปแบบการนำ� เสนอข่าวบนสื่อดิจทิ ัล เนอื่ งจากธรรมชาตขิ องสอื่ ดจิ ทิ ลั นน้ั คอ่ ยขา้ งมคี วามยดื หยนุ่ และไมม่ แี บบแผนทต่ี ายตวั ทำ� ใหก้ ารนำ� เสนอ ขา่ วในปจั จบุ นั จงึ มคี วามหลากหลาย อยา่ งไรกต็ าม ผเู้ ขยี นไดพ้ ยายามสงั เคราะหแ์ ละสรปุ รปู แบบการนำ� เสนอ ขา่ วท่สี อื่ ดจิ ทิ ัลและส�ำนกั ข่าวออนไลน์นยิ มนำ� เสนอในปจั จบุ นั ซึ่งประกอบด้วย 5 รูปแบบหลกั ๆ ได้แก่ 1. หนงั สอื พมิ พอ์ อนไลน์ (online newspaper) เปน็ การนำ� ขา่ วจากสอ่ื หลกั มานำ� เสนอบนสอ่ื ออนไลน์ โดยใชร้ ปู แบบการเขยี นขา่ วเหมอื นกบั ขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ ซงึ่ นยิ มใชก้ ารเขยี นขา่ วแบบปริ ะมดิ หวั กลบั คอื เรยี งลำ� ดบั เนื้อหาส่วนท่ีส�ำคัญท่สี ุดมากอ่ น และตามดว้ ยเนื้อหาที่มีความส�ำคัญรองลงมา โดยโครงสร้างของรายงานข่าว จะประกอบไปด้วย พาดหัวข่าว (headline) วรรคน�ำหรือโปรย (lead) ส่วนเชื่อม (neck) และเนื้อหาข่าว (content) การนำ� เสนอขา่ วในลกั ษณะนส้ี ามารถทำ� ไดบ้ นสอ่ื ดจิ ทิ ลั ซงึ่ อยใู่ นรปู แบบของหนงั สอื พมิ พอ์ อนไลน์ เนือ่ งจากสอ่ื ดิจทิ ลั มีพืน้ ทม่ี ากพอที่จะใหร้ ายละเอียดของขา่ วได้เช่นเดยี วกับหนังสอื พมิ พ์ 24 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

ภาพที่ 1 หนงั สือพิมพอ์ อนไลน์ ทมี่ า: http://www.thairath.co.th/ จากภาพท่ี 1 จะเหน็ ไดว้ า่ การนำ� เสนอขา่ วในลกั ษณะนี้ ปรากฏเปน็ ขา่ วตามหนา้ 1 ของหนงั สอื พมิ พ์ ที่มีลักษณะเดียวกับหนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษ โดยใช้เน้ือหาข่าวและภาพข่าวเดียวกัน ส่วนการอ่านข่าว หน้าในนั้นผู้อ่านก็สามารถเปิดอ่านได้เช่นเดียวกัน การน�ำเสนอข่าวลักษณะนี้เกิดข้ึนในช่วงแรก ๆ ที่องค์กร หนังสือพิมพ์เริ่มปรับตัวมาใช้ส่ือดิจิทัลเป็นสื่อเสริมหนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษ แต่ในปัจจุบันหน้าเว็บไซต์ ของหนังสือพมิ พ์กอ็ าจจะมกี ารออกแบบที่แตกต่างออกไป 2. การน�ำเสนอแบบข่าวด่วน (breaking news) การน�ำเสนอข่าวในรูปแบบน้ี คือ การใช้ คุณลักษณะด้านความรวดเร็วของสื่อดิจิทัลได้เป็นประโยชน์มาก ซ่ึงส�ำนักข่าวออนไลน์ส่วนใหญ่ก็นิยมใช้ การน�ำเสนอข่าวในลกั ษณะเปน็ การสรปุ ขา่ วสน้ั ๆ ใหผ้ รู้ บั สารไดท้ ราบเปน็ เบอ้ื งตน้ กอ่ นวา่ มเี หตกุ ารณอ์ ะไรเกดิ ขน้ึ แลว้ หลงั จากนนั้ เม่ือสามารถรวบรวมรายละเอียดได้ก็จะนำ� เสนอเปน็ รายงานข่าวในฉบับเตม็ อกี ครงั้ หนึง่ ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปาริชาต มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ 25 ปีท่ี 33 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

ภาพที่ 2 การนำ� เสนอแบบขา่ วดว่ น ที่มา: Line Today การนำ� เสนอขา่ วดว่ นนสี้ ำ� นกั ขา่ วมกั จะใชช้ อ่ งทางสอ่ื สงั คม (social media) ขององคก์ รในการนำ� เสนอ เพราะมีคุณลักษณะท่ีเอ้ือให้สามารถน�ำเสนอเน้ือหาและภาพข่าวได้แบบทันทีทันใด บางครั้งอาจจะน�ำเสนอ แคเ่ พียงพาดหวั ข่าว และโปรยข่าวไปกอ่ น แลว้ จึงมานำ� เสนอรายละเอยี ดอีกครัง้ อย่างไรก็ตาม การน�ำเสนอ ขา่ วในลกั ษณะนก้ี ม็ กั มคี วามผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ ไดง้ า่ ย เพราะผสู้ อื่ ขา่ วมกั จะเนน้ ในเรอื่ งความรวดเรว็ แตข่ าดการ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ทำ� ใหข้ ่าวขาดความนา่ เชื่อถือได้ 3. การน�ำเสนอข่าวแบบย่ังยืน (evergreen journalism) ข่าวประเภทนี้ค่อนข้างท�ำยาก แต่ มคี ณุ คา่ มคี วามยง่ั ยนื และเปน็ ประเดน็ ทม่ี นี ยั สำ� คญั ทางสงั คม สทุ ธชิ ยั หยนุ่ [5] กลา่ ววา่ evergreen journalism หมายถงึ การท่นี ักข่าวเจาะขา่ วท่มี เี นื้อหาลมุ่ ลึก และสามารถดึงดูดความสนใจและความเห็นหลากหลายจาก ผคู้ นท่ีติดตาม ยง่ิ เมือ่ อยูใ่ นรูปแบบดจิ ทิ ลั แลว้ รายงานข่าวชิน้ นัน้ ๆ กย็ งั ปรากฏอยู่ในรูปแบบรายงานสดต่อไป ไดอ้ ยา่ งยาวนาน และเพม่ิ พนู เนอ้ื หาสาระไปไดต้ ลอดเวลาตามสถานการณ์ และรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ หรอื ขอ้ มลู เสริมจากประชาชนท่ัวไปทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเรอ่ื งนนั้ ๆ 26 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

ภาพท่ี 3 การน�ำเสนอข่าวข่าวแบบยั่งยนื (evergreen journalism) ท่มี า: https://www.facebook.com/thestandardth/ การนำ� เสนอขา่ วรปู แบบนอ้ี าจจำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ผสู้ อ่ื ขา่ วและองคก์ รขา่ วมอื อาชพี เพราะตอ้ งใชค้ วาม สามารถในการวเิ คราะหแ์ ละนำ� เสนอเนอื้ หาขา่ วทถี่ กู ตอ้ ง ครบถว้ น มขี อ้ มลู หลกั ฐานทเ่ี พยี งพอตอ่ ความนา่ เชอื่ ถอื ตลอดจนศกั ยภาพในการเข้าถึงแหลง่ ข่าวได้ การใชส้ ่ือดิจิทลั ในการนำ� เสนอจะสามารถชว่ ยสนับสนุนข้อมลู ให้ สื่อสารเนื้อหาข่าวออกไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถส่งเสริมให้เกิดการขยายข้อมูลและให้รายละเอียด ของขา่ วไดจ้ ากผอู้ ่านที่เข้ามาอ่านและแสดงความคิดเหน็ อกี ดว้ ย 4. การน�ำเสนอขา่ วแบบอธบิ ายความ (explanatory journalism) คือ รปู แบบการรายงานข่าว ที่เน้นการอธิบายเรื่องท่ีสลับซับซ้อนหรือมีหลายมิติ ซึ่งอาจจะมีส่วนที่คล้ายกับการน�ำเสนอข่าวแบบย่ังยืน อยู่มาก แต่ประเด็นข่าวที่น�ำเสนอในลักษณะอธิบายความอาจจะไม่ใช่เร่ืองฮือฮาท่ีสร้างความเกรียวกราวใน พาดหวั ข่าว แตเ่ ปน็ ประเดน็ ทมี่ ีผลกระทบต่อผู้คนท้ังในระยะสัน้ และระยะยาว ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปารชิ าต มหาวิทยาลยั ทักษิณ 27 ปีท่ี 33 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

ภาพที่ 4 การน�ำเสนอขา่ วแบบอธิบายความ (explanatory journalism) ทม่ี า: https://www.bbc.com/news/ การนำ� เสนอขา่ วแบบอธบิ ายความมจี ดุ เดน่ ทก่ี ารใหร้ ายละเอยี ดของขา่ วอยา่ งรอบดา้ น ดงั นน้ั ผสู้ อ่ื ขา่ ว จงึ ตอ้ งอาศยั แหลง่ ขอ้ มลู และแหลง่ ขา่ วทห่ี ลากหลาย พรอ้ มทงั้ ตอ้ งใชค้ วามสามารถในสกดั และวเิ คราะหข์ อ้ มลู มาประกอบในรายงานข่าวให้เกิดคุณค่า และมีประโยชน์กับผู้อ่านให้มากท่ีสุด ท้ังน้ี รายงานข่าวลักษณะน้ี สามารถใช้เป็นข้อมูลอา้ งองิ ทางวิชาการไดอ้ ีกด้วย 5. การนำ� เสนอขา่ วแบบใหต้ ดิ ตามตอ่ จากลงิ คข์ า่ วตน้ ฉบบั รปู แบบการนำ� เสนอขา่ วลกั ษณะนน้ี ยิ ม ใชก้ ันอยา่ งแพร่หลายเชน่ เดยี วกัน โดยเฉพาะ ในเพจขา่ ว ซึง่ องค์ประกอบสำ� คญั นอกจากเน้ือหาขา่ วโดยสรุป แลว้ ยงั ประกอบไปดว้ ยแงม่ มุ ความคดิ เหน็ ของผดู้ แู ลเพจนน้ั ๆ ดว้ ย โดยเพจดงั ตา่ ง ๆ กม็ ลี กั ษณะทเ่ี ฉพาะแตก ตา่ งกนั ไป ตามความคาดหวังหรือรสนยิ มของผตู้ ดิ ตาม การให้ข้อมลู ขา่ วต้นฉบบั ในลักษณะของลิงคท์ อ่ี ยู่ตอน ทา้ ยของการนำ� เสนอขา่ วรปู แบบนี้ อาจไมจ่ ำ� เปน็ เสยี ดว้ ยซำ้� สำ� หรบั ผตู้ ดิ ตาม เพราะรสนยิ มทชี่ นื่ ชอบการโพสต์ การแชรข์ ่าวแบบน้ีอยู่แล้ว 28 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

ภาพที่ 5 การนำ� เสนอข่าวแบบให้ติดตามตอ่ จากลิงคข์ า่ วต้นฉบับ ท่ีมา: https://www.facebook.com/DramaAdd/ ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล ภาพที่ 6 การน�ำเสนอข่าวแบบใหต้ ิดตามต่อจากลงิ คข์ า่ วต้นฉบับ ทีม่ า: https://www.csitereport.com/ วารสารปาริชาต มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ 29 ปีท่ี 33 ฉบบั ท่ี 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563)

การน�ำเสนอข่าวในรูปแบบน้ีเกิดจากลักษณะผู้รับสารของส่ือดิจิทัล ที่มีความเฉพาะกลุ่ม (niche) มากกว่าผู้รบั สารจากส่อื มวลชนกระแสหลัก เพราะฉะนั้น การนำ� เสนอข่าวจากเพจขา่ วจงึ มวี ตั ถุประสงคห์ ลัก เพอื่ ตอบสนองกลมุ่ เปา้ หมายของตนเอง โดยเฉพาะ การใชภ้ าษา ลลี าในการนำ� เสนอ และการแสดงความคดิ เหน็ ของผเู้ ขยี นหรอื ผดู้ แู ลเพจ อยา่ งไรกต็ าม รปู แบบการนำ� เสนอขา่ วดงั กลา่ วนบั วา่ เปน็ ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ (secondary data) ซงึ่ ผเู้ ขยี นอาจจะสนใจประเดน็ ขา่ วและหยบิ มาพดู ถงึ เพยี งแคใ่ นบางแงม่ มุ เทา่ นน้ั ในสว่ นของรายละเอยี ด ท้งั หมดผอู้ า่ นตอ้ งไปติดตามอ่านจากลิงคข์ ่าวตน้ ฉบบั ดงั ท่ีกลา่ วไปแล้ว การนำ� เสนอขา่ วทงั้ 5 รปู แบบทผ่ี เู้ ขยี นนำ� เสนอไวข้ า้ งตน้ นน้ั เปน็ รปู แบบทเ่ี กดิ จากการปรบั ตวั ยอมรบั นวัตกรรมขององค์กรส่ือตั้งแต่ในระยะเร่ิมต้นท่ีอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทต่อกระบวนการสื่อสารมวลชน จนมาถงึ ในยคุ ปจั จบุ นั ทเี่ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไดเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ไปมาก องคก์ รสอื่ กม็ กี ารเรยี นรแู้ ละปรบั ตวั มาโดยตลอด ดงั นัน้ การน�ำเสนอขา่ วกม็ รี ูปแบบทเี่ ปลี่ยนแปลงไดต้ ลอดเวลาเช่นเดียวกนั อย่างไรก็ตาม การน�ำเสนอข่าวท้ัง 5 รูปแบบที่ผู้เขียนน�ำเสนอไว้น้ีก็อาจมีความแตกต่างในประเด็นย่อย ๆ รวมถึงลักษณะเฉพาะบางอย่างที่ หลากหลายอกี มาก ทั้งนี้ ก็ขน้ึ อยกู่ ับองคก์ รสอ่ื ผสู้ ือ่ ขา่ ว ตลอดจนผผู้ ลิตเนอื้ หาขา่ ว เทคนิคการนำ� เสนอขา่ วบนส่อื ดจิ ทิ ัล นอกจากหลักการวิเคราะห์ผู้รับสารที่สามารถสร้างความส�ำเร็จให้กับการผลิตเนื้อหา (content) ของสือ่ มวลชนแลว้ ในการสรา้ งเนอ้ื หาบนสอื่ ดจิ ทิ ลั ยังมแี นวทางอน่ื ๆ ท่ผี ้สู ื่อขา่ วหรอื ผสู้ รา้ งเนือ้ หาควรศกึ ษา และใช้เป็นโอกาสในการเข้าถึงผู้รับสาร การท�ำข่าวในเชิงสร้างสรรค์ (creative news) ถูกพูดถึงกันมากข้ึน ในวงการสอ่ื ดจิ ทิ ลั และสำ� นกั ขา่ วออนไลน์ โดยขา่ วเชงิ สรา้ งสรรคไ์ มไ่ ดห้ มายถงึ ขา่ วดี หรอื ขา่ วในดา้ นบวกเทา่ นนั้ แต่เป็นการสร้างสรรค์เน้ือหาท่ีตอบสนองกลุ่มผู้รับสารทุกกลุ่ม ด้วยเทคนิคที่ทันสมัยและใช้เทคโนโลยีให้ เกิดประโยชน์ เช่น การน�ำเสนอประเด็นท่ีสังคมให้ความสนใจ แต่ใช้วิธีการน�ำเสนอในมุมมองท่ีต่างออกไป โดยใช้กราฟิกประกอบข่าวเพื่อดึงดูดความสนใจ และเทคนิคการพาดหัว หรือโปรยข่าวท่ีหลากหลาย เช่น การต้ังค�ำถาม การอ้างอิงผลส�ำรวจความคิดเห็น (โพล) และการอ้างอิงหรือ quote ค�ำพูดของคนส�ำคัญ ๆ กบั ประเดน็ ขา่ ว เปน็ ตน้ จากการวเิ คราะหบ์ รบิ ทตา่ ง ๆ ทำ� ใหส้ ามารถสรปุ แนวทางการนำ� เสนอขา่ วบนสอื่ ดจิ ทิ ลั ไดด้ ังต่อไปน้ี 1. นำ� เสนอข้อมลู ใหส้ ัน้ และกระชบั เพ่อื ตอบสนองการใชช้ วี ิตของคนร่นุ ใหม่ การอา่ นขา่ วทีม่ เี นอ้ื หา หรอื รายละเอยี ดจำ� นวนมากไมเ่ หมาะกบั วถิ ชี วี ติ คนในปจั จบุ นั เพราะการอา่ นขา่ วบนโทรศพั ทม์ อื ถอื ผา่ นชอ่ งทาง สอื่ สงั คมไดใ้ นทกุ ๆ ท่ี ทกุ ๆ เวลา เปน็ สง่ิ ทส่ี รา้ งความสะดวกสบายและสอดคลอ้ งกบั การดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนใน ปจั จบุ นั ไดม้ าก ขอ้ มลู ขา่ วจงึ ควรเปน็ ไปเพอ่ื อธบิ ายเหตกุ ารณอ์ ยา่ งกระชบั สามารถอา่ นใหเ้ ขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 2. ใช้คุณสมบัตดิ ้านความรวดเรว็ ใหค้ ุ้มคา่ คณุ สมบตั ดิ ้านความเร็วของส่ือดิจทิ ัลยังเป็นขอ้ ไดเ้ ปรียบ สอ่ื มวลชนดง้ั เดมิ อยมู่ าก ดังนน้ั การนำ� เสนอข่าวผ่านสือ่ ดิจทิ ัลจึงสามารถตอบสนองผ้รู บั สารไดแ้ บบเรียลไทม์ คือ ทันทที ันใด เม่อื เกดิ สถานการณ์ขึน้ ก็สามารถรายงานข่าวไดท้ ันที ทั้งในรูปแบบการสรปุ ขา่ ว ข่าวด่วนหรอื การรายงานสด (live) ซึ่งนิยมใช้กันมากในปัจจุบัน อีกทั้งองค์ประกอบของข่าว ก็ให้ความส�ำคัญในด้าน ความรวดเรว็ อยแู่ ล้ว และสอื่ มวลชนทกุ ประเภทจงึ ต้องทำ� งานแข่งกับเวลาเพ่อื ให้ข่าวทน่ี �ำเสนอไปถึงผู้รับสาร โดยเรว็ ทส่ี ดุ อยา่ งไรกต็ าม การรายงานขา่ วผา่ นสอื่ ดจิ ทิ ลั นนั้ กส็ ามารถทำ� ไดร้ วดเรว็ กวา่ สอ่ื ดงั้ เดมิ เพราะไดล้ ด ขั้นตอนในกระบวนการสื่อข่าวบางกระบวนการออกไป เช่น กระบวนการคัดกรองข่าวสาร กระบวนการ ออกแบบและจัดหน้าของส่ือหนังสือพิมพ์ กระบวนการถ่ายท�ำและตัดต่อของส่ือโทรทัศน์ หรือกระบวนการ อัดเทปรายการหรอื รอเวลาออกอากาศของสือ่ วิทยุ เปน็ ต้น 30 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

3. ตรวจสอบข้อมูลและความถกู ต้อง แนวทางการนำ� เสนอขา่ วในเร่ืองความถูกต้องน้ีสว่ นหนึง่ เปน็ ผลมาจากการใชค้ ณุ สมบตั ดิ า้ นความรวดเรว็ ของสอื่ ดจิ ทิ ลั โดยขาดความระมดั ระวงั รอบคอบ ทำ� ใหพ้ บขอ้ ผดิ พลาด ในการรายงานขา่ วเปน็ ประจำ� และทำ� ใหฐ้ านะของสอื่ ดจิ ทิ ลั ยงั ไมส่ ามารถยกระดบั เปน็ สอ่ื มอื อาชพี ไดเ้ ชน่ เดยี ว กับส�ำนักข่าวที่เผยแพร่ในช่องทางของสื่อกระแสหลัก ข้อผิดพลาดที่เกิดข้ึนในข้อมูลข่าวทางส่ือดิจิทัลน้ัน ยังท�ำให้ความน่าเช่ือถือในตัวผู้ส่ือข่าว ส�ำนักข่าว และส่ือน้อยลงด้วย ดังน้ัน ในการน�ำเสนอข่าวมูลข่าวสาร บนสื่อดจิ ทิ ลั ผู้ส่ือข่าวและสำ� นกั ข่าวเองกต็ ้องให้ความส�ำคญั ตอ่ ความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ข่าวสารด้วย เพือ่ การ ยกระดับความน่าเชอ่ื ถอื และเปน็ ทพ่ี ง่ึ พาใหก้ บั สังคมตอ่ ไป 4. เลือกใช้ข้อมูล (ข้อความ/ภาพน่ิง/ภาพเคล่ือนไหว/กราฟิก) อย่างเหมาะสม ถึงแม้ว่าศักยภาพ ในการเผยแพร่ข้อมูลของส่ือดิจิทัลจะมีรูปแบบท่ีหลากหลาย แต่การเลือกน�ำเสนอข้อมูลให้เหมาะสมก็มี ความสำ� คญั ตอ่ การเขา้ ถงึ ผรู้ บั สารดว้ ยเชน่ เดยี วกนั กลา่ วคอื ผสู้ อ่ื ขา่ วตอ้ งสามารถแยกแยะประเภทของขอ้ มลู และพจิ ารณาดวู า่ ขา่ วในลกั ษณะอยา่ งไร ควรนำ� เสนอดว้ ยขอ้ ความ ภาพนงิ่ ภาพเคลอื่ นไหว หรอื ใชก้ ารออกแบบ กราฟกิ เขา้ มาช่วย เช่น หากเปน็ ข้อมลู ทเี่ ปน็ ผลการวิจยั ทีต้องรายงานตัวเลขเชงิ สถิติ การนำ� เสนอข้อมูลด้วย ภาพกราฟิกก็อาจจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายข้ึน หรือหากได้คลิปวิดีโอการสัมภาษณ์บุคคลท่ีมี ความสำ� คญั ตอ่ เหตกุ ารณม์ าก ๆ กค็ วรนำ� เสนอดว้ ยคลปิ วดิ โี อหรอื ภาพเคลอื่ นไหว ประกอบกบั ขอ้ ความสน้ั ๆ ท่สี ามารถบอกให้ผ้รู บั สารรไู้ ดว้ า่ เปน็ เหตกุ ารณ์เกีย่ วกบั อะไร มีความสำ� คญั และควรจะดคู ลิปวดิ ีโอนน้ั จนจบ หรือไม่ เป็นต้น จากเหตุผลที่กล่าวมาในข้างต้นท�ำให้ผู้ส่ือข่าวในปัจจุบันต้องมีทักษะท่ีจ�ำเป็นในการรายงาน ขา่ วทห่ี ลากหลาย รอบดา้ น หรอื multi skill คอื สามารถผลติ เนอื้ หาไดห้ ลายรปู แบบ เนอื่ งจากสำ� นกั ขา่ วสว่ น ใหญ่จะนยิ มจา้ งผ้สู ื่อข่าวท่มี ลี ักษณะดังกลา่ ว เพ่ือการประหยัดงบประมาณในการจ้างคนด้วยนน่ั เอง 5. ใชป้ ระโยชนจ์ ากคณุ สมบตั กิ ารสอื่ สารสองทางของสอื่ การนำ� เสนอขอ้ มลู ขา่ วสารบนสอ่ื ดจิ ทิ ลั นนั้ เปิดโอกาสให้เกิดการสือ่ สารสองทาง (two way communication) มากข้นึ ทำ� ใหค้ วามสมั พันธ์ของผู้ส่งสาร และผรู้ บั สารมคี วามใกลช้ ดิ กนั มากขน้ึ ซงึ่ นำ� ไปสกู่ ารแลกเปลยี่ นขอ้ มลู รบั ฟงั และสำ� รวจความคดิ จากประชาชน กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเปดิ ประเด็นข่าวใหก้ วา้ งและลึกขึ้น ตลอดจนเป็นการเปิดมุมมองใหม่ของการท�ำข่าวสู่ ความหลากหลายทตี่ ่างจากกระบวนการสื่อขา่ วแบบด้ังเดิม เชน่ การไลฟส์ ดสัมภาษณ์แหลง่ ข่าวทีน่ ยิ มท�ำกนั มากข้ึนในปัจจุบันนั้น บางคร้ังผู้สื่อข่าวหรือผู้ด�ำเนินรายการก็เปิดโอกาสให้ผู้รับสารตั้งค�ำถามกับแหล่งข่าว ผา่ นการแสดงความคดิ เหน็ (comment) เปน็ ต้น นอกจากน้ี หนังสือพิมพ์ The New York Times ไดต้ พี มิ พบ์ ทความช่อื Journalism that Stands Apart หรอื “การทำ� ขา่ วทโ่ี ดดเดน่ ” ซงึ่ เปน็ ผลการศกึ ษาจากกลมุ่ ศกึ ษา 2020 เพอ่ื คน้ หาวธิ ที ำ� ขา่ ว หรอื สอื่ สาร ในรปู แบบใหม่ ๆ และน่าศกึ ษาเพือ่ น�ำมาปรบั ใชก้ ับการทำ� งานของตน โดยบทความดงั กลา่ วไดเ้ สนอแนวทาง การเปลีย่ นแปลงด้านการรายงานขา่ วไว้ดังน้ี [6] 1. ขา่ วจะตอ้ งสอื่ สารดว้ ยภาพมากขน้ึ โดยยกสถติ กิ ารแชรข์ า่ วทม่ี กี ารสอ่ื สารดว้ ยภาพ พวกเขามองวา่ ปญั หาเดมิ ของการรายงานขา่ วทผี่ า่ นมา คอื นกั ขา่ วไมไ่ ดเ้ รยี นรู้ หรอื ไมม่ คี วามสามารถพอทจี่ ะใสภ่ าพทเ่ี หมาะสม ลงในข่าว เช่น ข่าวรถไฟใต้ดินในนิวยอร์กในปี 2016 ที่ไทมส์ก็ถูกล้อเลียนเพราะไม่ใส่แผนที่ใต้ดินไว้ด้วย การขาดการสอื่ สารดว้ ยภาพทเี่ หมาะสม อาจเปน็ ผลลพั ธจ์ ากระบบจดั การคอนเทนตข์ องไทมสด์ ว้ ย (ชอ่ื วา่ Scoop) ท่ที ำ� ให้การใส่ภาพเปน็ ความจำ� เป็นหลงั ๆ (afterthought) ซ่ึงฝ่ายโปรแกรมของไทมส์ก็เริม่ ใชเ้ ครือ่ งมอื ชือ่ วา่ Oak เพม่ิ เติม เพ่อื แก้ปญั หาน้ี พวกเขาคิดว่าจะตอ้ งฝกึ อบรมทั้งนักข่าวและบรรณาธกิ าร ในเรอื่ งการส่ือสาร ด้วยภาพ และชา่ งภาพ คนถ่ายวิดีโอ และฝ่ายกราฟกิ จะมีบทบาทสำ� คญั ในการปรบั ตัวน้ี ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปารชิ าต มหาวิทยาลยั ทักษิณ 31 ปีท่ี 33 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563)

2. ขา่ วจะตอ้ งใชก้ ารผสมผสานสอ่ื ดจิ ทิ ลั ใหด้ กี วา่ นี้ ทมี ศกึ ษายกตวั อยา่ ง “ขา่ วเดน่ ประจำ� วนั ” (daily briefing) ทพ่ี วกเขารสู้ กึ วา่ ประสบความสำ� เรจ็ มาก มผี ตู้ ดิ ตามจำ� นวนมาก นเี่ ปน็ นวตั กรรมทคี่ วรใชใ้ หม้ ากกวา่ นี้ ควรท�ำใหเ้ กิดมากกว่าน้ี พวกเขาคดิ วา่ นักข่าวควรใชส้ ือ่ อยา่ งเช่น จดหมายข่าว การแจ้งเตอื น FAQ (คำ� ถามที่ ถามบอ่ ย) ตารางคะแนน เสยี ง ภาพ และสอื่ อน่ื ๆ เพอ่ื ชว่ ยในการรายงานขา่ วมากขน้ึ ทน่ี า่ สนใจ คอื พวกเขาคดิ วา่ การใชส้ ่อื พวกนี้จะท�ำให้ไทมสม์ ีความ “เปน็ สถาบนั ” ลดลง และมคี วามเปน็ “บทสนทนา” (conversa- tional) มากขน้ึ ซงึ่ ปกตแิ ลว้ นกั ขา่ วของไทมสก์ ใ็ ชส้ ไตลบ์ ทสนทนาในการเลา่ ขา่ วผา่ นทางโซเชยี ลมเี ดยี โทรทศั น์ และวทิ ยุอยแู่ ล้ว และสไตล์บทสนทนาก็เปน็ ธรรมชาติของอนิ เทอร์เน็ต 3. เราต้องทำ� ข่าวสกู๊ปด้วยวิธีใหม่ ๆ และท�ำ ‘บรกิ าร’ ให้มากขึน้ ในชว่ งทผ่ี ่านมา ไทมส์ไดท้ ดลอง โมเดลธุรกจิ ใหม่ ๆ เชน่ เปดิ หน้าสตู รอาหาร Cooking (ซ่ึงสามารถส่ังซ้อื เครอ่ื งปรงุ และส่วนประกอบไดท้ ันท)ี และเปิดหน้า Watching แนะน�ำรายการโทรทัศน์ ซึ่งเซคช่ันไลฟ์สไตล์พวกนี้ เดิมทีเกิดมาเพ่ือหาโฆษณา อยแู่ ลว้ นเ่ี ปน็ เปา้ หมายทเี่ กดิ มาตงั้ แตป่ ี 1970 แตว่ า่ ทมี ศกึ ษารสู้ กึ วา่ ตอนนเ้ี ปา้ หมายกไ็ มไ่ ดเ้ คลอื่ นไปจากเดมิ เลยพวกเขาประเมินว่าผู้อ่านต้องการค�ำแนะน�ำในเร่ืองต่าง ๆ จากไทมส์อยู่แล้ว พวกเขาจึงต้องท�ำงานเพื่อ สนองความต้องการนใี้ หด้ ขี ้ึน 4. ผู้อ่านจะต้องมีส่วนมากขึ้นในการรายงาน ไทมส์บอกว่า ตนเองมีส่วนคอมเมนต์ที่ “อัธยาศัยดี และประสบความส�ำเร็จมากที่สุด” เป็นอันดับต้น ๆ ของวงการข่าว แต่ก็ยังไม่เปิดโอกาสให้ผู้อ่านมีส่วนร่วม มากเพียงพอ จึงตอ้ งมีความพยายามในส่วนนี้มากขึน้ ในอนาคต เพื่อสร้างสังคมผอู้ า่ น เทคนิคในการน�ำเสนอข่าวบนสื่อดิจิทัลนั้นอาจจะเป็นประเด็นท่ีต้องใช้เวลาท�ำการศึกษา ค้นคว้า และทดลองตอ่ ไป แตก่ ารเขา้ ใจถงึ ธรรมชาตแิ ละคณุ สมบตั ขิ องสอื่ ดจิ ทิ ลั กน็ บั วา่ เปน็ เทคนคิ แรกทผี่ สู้ อ่ื ขา่ วและ ส�ำนักข่าวควรต้องเรียนรู้และน�ำมาปรับใช้เป็นเบื้องต้น และด้วยคุณสมบัติของส่ือที่สามารถจดจ�ำ และเก็บ ขอ้ มลู ผใู้ ชส้ อ่ื ได้ กเ็ ปน็ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บอยา่ งหนงึ่ ทอ่ี งคก์ รสอื่ จะไดน้ ำ� มาศกึ ษาเพอื่ ปรบั ปรงุ การทำ� งานใหต้ อบสนอง กลุ่มเปา้ หมายไดม้ ากขน้ึ อีกด้วย อย่างไรก็ตาม เมอื่ เข้าใจถงึ ธรรมชาตขิ องสอื่ ในดา้ นคุณสมบัติและข้อดแี ลว้ ผู้ ผลติ เนอ้ื หากม็ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งเรยี นรถู้ งึ ดา้ นทอ่ี าจนำ� มาสผู่ ลเสยี ทงั้ ตอ่ องคก์ รและสงั คมดว้ ย กลา่ ว คอื ขอ้ มลู ที่อยู่บนโลกอินเทอร์เน็ตนั้นมีข้อมูลท่ีไม่น่าเช่ือถืออยู่เป็นจ�ำนวนมาก หากจะน�ำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ประกอบ การรายงานขา่ ว ก็มคี วามจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะต้องตรวจสอบ หรอื หาขอ้ มูลมาสนับสนนุ ความน่าเชอ่ื ก่อนที่จะ นำ� มาใช้เปน็ แหล่งข่าว และเผยแพรส่ สู่ าธารณะ สรปุ ข่าวในยุคดิจิทัลมีลักษณะเป็นข้อมูลจ�ำนวนมากท่ีสามารถใช้มาอธิบายเหตุการณ์หรือประเด็นทาง สังคมท่ีเกิดขึ้นได้อย่างรอบด้าน และลึกซ้ึงขึ้น การพิจารณาองค์ประกอบของเหตุการณ์เพื่อน�ำมาเสนอเป็น เนื้อหาประเภทข่าวผ่านทางส่ือดิจิทัลน้ันไม่ได้มีความแตกต่างไปจากหลักการพิจารณาองค์ประกอบของ เหตุการณ์ตามหลักวารสารศาสตร์แบบด้ังเดิมมากนัก แต่จะให้น้�ำหนักและความส�ำคัญในประเด็นความเด่น และความสำ� คญั ของบคุ คล ผลกระทบตอ่ สงั คม และเหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ ขา่ วรา้ ยหรอื โศกนาฏกรรม รวมถงึ ประเดน็ ความขดั แยง้ มากกว่าองค์ประกอบดา้ นอ่ืน ๆ ความแตกตา่ งของขา่ วในยคุ สอื่ ดง้ั เดมิ กบั สอ่ื ดจิ ทิ ลั ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คอื องคป์ ระกอบของการนำ� เสนอขา่ ว เพราะธรรมชาตขิ องสอื่ ดงั้ เดมิ แตล่ ะประเภทจะมลี กั ษณะเฉพาะทแ่ี ตกตา่ งกนั ทำ� ในองคป์ ระกอบในการนำ� เสนอ 32 Parichart Journal Thaksin University News in Digital Media Era Vol. 33 No. 2 (May - August 2020)

จงึ มขี อ้ จำ� กดั ตามขอ้ จำ� กดั ของสอ่ื นน้ั ๆ ขณะทสี่ อื่ ดจิ ทิ ลั สามารถหลอมรวมคณุ ลกั ษณะของสอ่ื ดงั้ เดมิ ทกุ ประเภท ไวภ้ ายใตส้ อ่ื เดยี ว องคป์ ระกอบในการนำ� เสนอขา่ วจงึ มคี วามหลากหลาย ทง้ั ขอ้ ความ ภาพ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพกราฟกิ มุมมองด้านความคดิ และการตัดสินใจ ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ ่าน และการเชอ่ื มโยงข้อมูล ทำ� ใหข้ ้อมลู ข่าวสารทเ่ี ผยแพรท่ างสือ่ ดจิ ทิ ลั มีความนา่ สนใจ และตอบสนองผ้รู ับสารได้มากขึน้ นอกจากนี้ ขา่ วในสอ่ื ดจิ ทิ ลั ยงั มรี ปู แบบในการนำ� เสนอทหี่ ลากหลายมากขนึ้ ดว้ ย แมว้ า่ หลกั การนำ� เสนอ ขา่ วจะไมแ่ ตกตา่ งจากรปู แบบของสอื่ ดง้ั เดมิ มากนกั แตข่ า่ วในรปู แบบการนำ� เสนอขา่ วของสอื่ ดจิ ทิ ลั กส็ ามารถ เขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายทม่ี คี วามแตกตา่ งหลากหลาย ทงั้ คนอา่ นทมี่ เี วลามากพอในการบรโิ ภคขา่ ว กอ็ าจจะเลอื ก อ่านข่าวทน่ี ำ� มากจากข่าวหนังสอื พมิ พ์ แตอ่ ย่ใู นแพลตฟอรม์ ออนไลน์ คนที่ไม่มเี วลาอา่ นขา่ วมากนักกอ็ าจจะ นยิ มอา่ นขา่ วสน้ั แบบสรปุ ความ หรอื การอพั เดทขา่ วดว่ นแบบเรยี ลไทม์ และผใู้ ชส้ อ่ื ดจิ ทิ ลั บางกลมุ่ กน็ ยิ ามอา่ น ข่าวจากเพจข่าวท่ีมีสไตล์ การน�ำเสนอเฉพาะตัว เช่น การแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์หรือประเด็นทาง สังคมอยา่ งดุเดือด เผด็ ร้อน แล้วกใ็ ส่ลงิ ค์ขา่ วต้นฉบบั ใหผ้ ู้อ่านทีส่ นใจไปติดตามรายละเอยี ดขา่ วต่อ ตลอดจน รูปแบบการน�ำเสนอข่าวแบบย่ังยืนและอธิบายความที่สามารถยกระดับการน�ำเสนอข่าวให้เป็นประโยชน์ ต่อผ้อู า่ นและสงั คมได้เชน่ เดียวกับสอื่ กระแสหลัก ดว้ ยธรรมชาตแิ ละคณุ สมบตั ขิ องสอ่ื ดจิ ทิ ลั สามารถตอบสนองการใชช้ วี ติ ของคนในปจั จบุ นั ไดอ้ ยา่ งดี ทำ� ใหค้ นหันมาบริโภคและส่งข่าวสารกนั ผ่านสอ่ื ดิจิทัลกันมากขึน้ เร่ือย ๆ และด้วยคุณสมบัติของส่ือประเภทนี้ ทแี่ ตกตา่ งไปจากสอื่ ดง้ั เดมิ ในหลายดา้ น การนำ� เสนอขา่ วจงึ ควรใชห้ ลกั การทเี่ หมาะสม เพอ่ื เขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมาย ได้มากขึ้น โดยหลักการน�ำเสนอข่าวทางส่ือดิจิทัลน้ันมีเทคนิค คือ การน�ำเสนอข้อมูลให้ส้ันและกระชับ โดยการเลอื กใช้ข้อมลู (ข้อความ/ภาพน่ิง/ภาพเคลื่อนไหว/กราฟิก) อย่างเหมาะสม ตลอดจนใชค้ ณุ สมบตั ิดา้ น ความรวดเรว็ ให้คมุ้ คา่ ขณะเดยี วกันก็ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูลอยา่ งระมดั ระวัง และใช้ประโยชนจ์ าก คณุ สมบัตกิ ารสือ่ สารสองทางของส่อื เอกสารอา้ งอิง [1] Pavlik, John. (1999). New Media and New: Implications for the Future of Journalism. New media & Society, 1(1). 54-59. [2] Meksrithongkhom, B. (2013) News Reporting and Writing (second edition). Phatumtanee: Bangkok University publisher. (in Thai). [3] Phuwathis, W. (2016). Phatumtanee: Bangkok University publisher. (in Thai). [4] Stony Brook Center for News Literacy. (n.d.). Universal News Drivers. (Online). Retrieved 14 January, 2019, from https://digitalresource.center/content/universal-news drivers. [5] Sudtichai Yun. (2012). The Future of News. Bangkok: Nation Broadcasting Co., Ltd. (in Thai). [6] Thematter. (2017). “Journalism that Stands Apart” case study of New York Times. (Online). Retrieve 22 February, 2019, from https://thematter.co/byte/howmedia/ 16689. (in Thai). ข่าวในยุคส่ือดิจิทัล วารสารปารชิ าต มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ 33 ปีท่ี 33 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563)