Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat

วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat

Description: ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2563)

Keywords: การศึกษา

Search

Read the Text Version

วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | ด ตวั อย่าง : พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. (2548). เครือข่าย : ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ. (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพมหานคร: พสิ ษิ ฐ์ ไทย ออฟเซต. (3) บทความในหนงั สอื รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน ชื่อบรรณาธิการ (บรรณาธิการ).//ชื่อเรื่อง/(เลขหน้าท่ี อา้ ง).//สถานทีพ่ ิมพ/์ : /สำนักพมิ พ์หรือโรงพมิ พ์. ตวั อย่าง : พระสุกิจจ์ สุจิณฺโณ. (2559). การสร้างความคิดนามธรรมในวัฒนธรรมไทย ใน ปวิตร ว่องวีระ. ทฤษฎี และวิธีวิทยาของการวิจัยวัฒนธรรม. (หน้า112). กรุงเทพมหานคร: อมั รินทร.์ (4) บทความจากวารสาร รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร.//ปีที่/(ฉบับที่), /เลขหน้าแรก ที่ตีพิมพ์-เลข หน้าสดุ ท้ายทต่ี ีพมิ พ.์ ตวั อย่าง : ธิติวุฒิ หมั่นมี. (2557). การวางแผนและการติดต่อประสานงานเชิงพุทธ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปรทิ รรศน์, 3(1), 25-31. (5) บทความในสารานกุ รม รูปแบบ : ผู้แต่ง.//(ปีที่พิมพ์).//ชื่อบทความ.//ใน ชื่อสารานุกรม,/(เล่มที่อ้าง, หน้า เลขหน้าที่อ้าง). สถานที่พมิ พ์: /สำนักพมิ พห์ รอื โรงพิมพ์. ตวั อย่าง : สนิทอาจพันธ์. (2537). หม้อคอควาย. ใน สารานุกรมของใช้พื้นบ้านไทยในอดีตเขต หัวเมือง ฝ่ายเหนือ, (หนา้ 274-275). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พรน้ิ ติ้งแอนดพ์ ลับลิชชิง่ . (6) หนงั สอื พมิ พ์ รูปแบบ : ผู้แตง่ .//(วนั ท่ี เดือน ปีทพ่ี มิ พ)์ .//ช่อื บทความ.//ชือ่ หนงั สอื พิมพ์,/เลขหน้า.

ต | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีที่ 7 ฉบบั ท่ี 9 (กนั ยายน 2563) ตัวอยา่ ง : สชุ าติ เผอื กสกนธ.์ (9 มิถนุ ายน 2549). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ผจู้ ัดการรายวัน, น.13. (7) สารนิพนธ์, วทิ ยานิพนธ์, ดษุ ฎนี พิ นธ์, รายงานการวจิ ยั รูปแบบ : ผ้แู ต่ง.//(ปีท่ีพิมพ)์ .// ชื่อวิทยานพิ นธ์.//ใน/ ระดับวิทยานพิ นธ์ สาขา./ชอื่ มหาวิทยาลยั ท่พี มิ พ์. ตัวอย่าง : สมบูรณ์ ตาสนธิ. (2560). กระบวนการและขั้นตอนบรรลุอริยสัจ 4 ของพระอริยบุคคล. ใน ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย. นายมนัส ภาคภูมิ. (2540). ปัจจัยที่ส่งผลตอ่ ความสำเร็จของเจา้ อาวาสในการพัฒนาวัดให้เปน็ ศนู ยก์ ลางชมุ ชน. ใน รายงานการวิจยั . มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (8) สัมภาษณ์ รปู แบบ: ชอื่ ผูท้ ี่ไดร้ ับการสัมภาษณ์.//(วัน เดือน ปี ท่ีสมั ภาษณ)์ .//ชอ่ื เร่อื งท่สี ัมภาษณ.์ //(ชอื่ ผู้สมั ภาษณ์) ตวั อย่าง : วรพล ไม้สน (พลังวัชร). (5 พ.ย. 2559). หลักการ วิธีการ เป้าหมาย ในการปรึกษาทาง โหราศาสตร.์ (นางณฐณัช แก้วผลกึ , ผู้สมั ภาษณ์) (9) สอ่ื ออนไลน์ รูปแบบ : ผู้แตง่ .//(ปีที่เผยแพร่).// ชือ่ เร่ือง.//เรียกใช้เมื่อ/ จาก แหล่งท่ีมาของขอ้ มลู (URL) ตัวอย่าง : ทวีศักด์ิ อนุ่ จิตติกุล. (2561). พระพุทธศาสนาเถรวาท จะสืบทอดดำรงอยู่อยา่ งไร? เรียกใชเ้ มอื่ 15 มกราคม 2562 จาก https://www.dailynews.co.th/article/666936 สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2561). เล่อื นข้าราชการใหด้ ำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน คำสัง่ สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ ที่ 593/2562. เรียกใช้

วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | ถ เมอื่ 15 มกราคม 2562 จาก http://www.onab.go.th/category/news/คำสัง่ - ประกาศ/ (10) ราชกจิ จานเุ บกษา รปู แบบ: ชอื่ กฎหมาย.//(ปีทพี่ ิมพ์).//ช่ือเร่ือง(ถา้ ม)ี .//ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ท่/ี ตอนที่/หนา้ /(วนั เดือนปี). ตวั อย่าง: พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ 4). (2562). ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม 136 ตอนท่ี 57 ก หน้า 49 (1 พฤษภาคม 2562). ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2562). เรื่อง กำหนดประเภทและ ขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงาน การวเิ คราะห์ผลกระบทสงิ่ แวดลอ้ ม. ราชกจิ จนุเบกษา เลม่ 129 ตอนพิเศษ 97 ง หน้า 1 (20 มิถุนายน 2555). ตวั อยา่ งเอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างองิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2535). พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฎกํ 2500. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺ.โต). (2551). การแพทย์ยุคใหม่ในพุทธทัศน์. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรงุ เทพมหานคร: สหธรรมกิ . ธิติวุฒิ หมั่นมี. (2557). การวางแผนและการติดต่อประสานงานเชิงพุทธ. วารสาร มจร สังคมศาสตรป์ รทิ รรศน์, 3(1), 25-31. สมบูรณ์ ตาสนธิ. (2560). กระบวนการและขั้นตอนบรรลุอริยสัจ 4 ของพระอริยบุคคล. ใน ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. มหาจุฬาลงกรณ- ราชวิทยาลยั . พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ). (2555). การจัดการศาสนาและ วัฒนธรรมในอุษา อาคเนย์เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ. เรียกใช้เมื่อ 4 กันยายน 2556 จาก http://www.mcu. ac.th/site/artidecontent_desc.php?artide_id=1304&articlegroup_id=274

ท | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2563) พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ 4). (2562). ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 136 ตอนที่ 57 ก หน้า 49 (1 พฤษภาคม 2562). Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (3rd ed.). NY: Harper & Collins. Muniyandi, M. et al. (2015). Health literacy on tuberculosis amongst vulnerable segment of population: Special reference to Saharia tribe in central India. The Indian journal of medical research, 141(5), 640-647. Kiarash, A. (2007). Human Dignity in Islamic Bioethics. The Iranian Journal of Allergy, 6(5), 25-28. 5. การส่งบทความเขา้ ระบบ Thaijo เพ่ือได้รบั การตีพิมพ์ การส่งในระบบ (Online Submission) สามารถส่งเข้าระบบออนไลน์ได้เว็บไซต์ ของ วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ได้ที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/JMND เมื่อส่ง เขา้ ระบบสำเรจ็ ใหแ้ จ้งขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ทาง E-mail: [email protected] 6. รปู แบบการนำบทความลงตพี มิ พ์ลงในวารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ต้นฉบับบทความที่เสนอเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารให้อยู่ในรูปแบบของไฟล์ เอกสาร *.docx ของ Microsoft Word Version 2010 หรือมากกว่า หากตน้ ฉบบั ประกอบดว้ ย ภาพ ตาราง หรือสมการ ให้ส่งแยกจากไฟล์เอกสาร ในรูปแบบไฟล์ภาพ สกลุ *.PDF*.JPG*.GIF หรือ *.bmp ความยาวของต้นฉบับต้องไม่เกิน 12 หน้า (รวมบทคัดย่อ ภาพ ตารางและ เอกสารอ้างอิง) กองบรรณาธิการจะพิจารณาบทความเบื้องต้น เกี่ยวกับความถูกต้องของ รูปแบบทั่วไป ถ้าไม่ผ่านการพิจารณาจะส่งกลับไปแก้ไข ถ้าผ่านจะเข้าสู่การพิจารณาของ ผ้ทู รงคณุ วุฒเิ มื่อผลการประเมินผ่านหรือไม่ผ่านหรือมีการแก้ไข จะแจง้ ผลให้ผู้เขยี นทราบ โดย การพจิ ารณาบทความเพ่ือลงตพี มิ พ์ไดจ้ ะคำนึงถงึ ความหลากหลายและความเหมาะสม 7. สทิ ธิของบรรณาธิการ ในกรณีที่กองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจ ประเมินบทความมีความเห็นว่าควรแก้ไข กองบรรณาธิการจะส่งคืนเพื่อให้เจ้าของบทความ แก้ไข โดยจะยึดถือข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจประเมินเป็นเกณฑ์หลัก และหรือขอ สงวนสทิ ธิท์ ่ีจะพิจารณาไม่ตีพมิ พ์ ในกรณที ร่ี ายงานการวิจัย บทความทางวิชาการหรือบทความ วิจัยไม่ตรงกับแนวทางของวารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ หรือไม่ผ่านการพิจารณาของกอง บรรณาธิการ หรือผู้เชี่ยวชาญเม่ือบทความท่ีได้รบั การตีพิมพผ์ เู้ ขยี นจะไดร้ ับล้งิ คว์ ารสาร ฉบับที่ นำบทความลงตพี มิ พ์ พรอ้ มกบั หนังสือรับรองการตีพิมพ์บทความในวารสารฯ

วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | ธ ตัวอยา่ งการเตรยี มต้นฉบบั บทความวจิ ัย ช่อื บทความ (ไทย) (20 pt) ชือ่ บทความ (อังกฤษ) (18 pt) ชื่อ – นามสกลุ ผู้เขียน (ไทย) (14 pt) ชอื่ – นามสกลุ ผเู้ ขยี น (อังกฤษ) (12 pt) หน่วยงานตน้ สงั กัด (ไทย) (14 pt) หน่วยงานต้นสงั กัด (อังกฤษ) (12 pt) E-mail: (12 pt) บทคดั ย่อ (18 pt) (ไมเ่ กิน 300 คำ) (16 pt) ระบุประเภทของวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประชากรกลุ่มตัวอย่าง เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผลการวิจัยท่พี บ (เลือกนำเสนอเฉพาะผลการวิจัยที่ มคี วามน่าสนใจมากท่สี ุด) คำสำคัญ: 3 – 5 คำ Abstract (18 pt) (ไม่เกิน 300 – 350 คำ) (16 pt) Keywords: 3 – 5 words

น | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีที่ 7 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) บทนำ (18 pt) (ไม่ควรเกนิ 4 ยอ่ หน้า) (16 pt) 1. กล่าวถึงความเป็นมาแล้วความสำคัญของปัญหา โดยกว้าง ๆ (อ้าง นโยบาย กฎหมาย หรอื แนวคดิ ทฤษฎีมารองรบั ) 2. กล่าวถงึ สภาพปญั หาปจั จบุ ันทีเ่ กิดข้ึน (อา้ งงานวิจัยหรอื ทฤษฎีมารองรับ 3. กลา่ วถงึ สภาพปญั หาของประชากรกลมุ่ ตวั อย่างที่ตอ้ งการศึกษา 4.สรุปความเป็นมาทั้งหมดชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการวิจัยและประโยชน์ที่ คาด ว่าจะไดร้ ับ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย (16 pt) 1. (16 pt) 2. (16 pt) 3. (16 pt) วิธีดำเนนิ การวจิ ยั (18 pt) (16 pt) ระบรุ ปู แบบของการวจิ ัย, ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง, วิธกี ารได้มาซ่ึง กลุ่มตัวอย่าง, การสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ, การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมูล

วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | บ ผลการวจิ ยั (18 pt) (16 pt) ผลการวิจัยตอ้ งตอบวตั ถปุ ระสงค์ทกุ ขอ้ ภาพที่ 1 (ช่ือภาพ) (ถ้าม)ี

ป | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีที่ 7 ฉบบั ท่ี 9 (กันยายน 2563) ตารางท่ี 1 (ชือ่ ตาราง) (ถ้าม)ี อภิปรายผล (18 pt) (16 pt) อภิปรายผลการวจิ ัยทพี่ บตามวัตถปุ ระสงค์ ผลการวิจัยสอดคล้องหรือไม่ สอดคล้อง กบั ผลการวิจยั ของใคร สามารถนำมาอภปิ รายได้ท้ังหมด

วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | ผ องคค์ วามรู้ใหม่ (18 pt) (ถ้าม)ี (16 pt) ระบอุ งค์ความรู้อันเป็นผลสมั ฤทธิท์ ่ีไดจ้ ากการวิจยั สังเคราะห์ออกมาใน รูปแบบโมเดล พรอ้ มคำอธบิ ายรปู แบบ/โครงสร้างของโมเดลอย่างกระชบั เขา้ ใจง่าย สรปุ /ข้อเสนอแนะ (18 pt) (16 pt) สรปุ ผลการวจิ ัยทัง้ หมด สนั้ ๆ กะทดั รัดไดใ้ จความ พร้อมข้อเสนอแนะท่ี ได้จากการวิจัย และการนำผลการวิจัยไปใช้ ร่วมถงึ เสนอแนะแนวทางในการวิจยั คร้ังต่อไป

ฝ | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีที่ 7 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) กิตติกรรมประกาศ (18 pt) (ถ้ามี) (ให้ใส่เฉพาะกรณีที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย หรือ กรณชี อ่ื บทความมชี ่อื เร่อื งไม่ตรงกบั งานวิจัยหรือวิทยานพิ นธ์) (16 pt) ตัวอย่าง เช่น ขอขอบคุณทุนสนับสนุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2559 และข้อมูลจากโครงการวิจัยย่อย เรื่องสภาพปัญหาและ ความต้องการดูแลสขุ ภาพของผูส้ ูงอายุในบรบิ ทภาคใต้ตอนลา่ ง เอกสารอา้ งองิ (18 pt) (ตอ้ งไม่ตำ่ กว่า 10 รายการ) (16 pt)

วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | พ ตวั อย่างการเตรยี มตน้ ฉบับบทความวิชาการ ช่อื บทความ (ไทย) (20 pt) ชือ่ บทความ (องั กฤษ) (18 pt) ช่อื – นามสกลุ ผูเ้ ขยี น (ไทย) (14 pt) ช่ือ – นามสกลุ ผ้เู ขยี น (อังกฤษ) (12 pt) หนว่ ยงานต้นสังกดั (ไทย) (14 pt) หนว่ ยงานตน้ สังกัด (อังกฤษ) (12 pt) E-mail: (12 pt) บทคัดยอ่ (18 pt) (ไมเ่ กนิ 300 คำ) (16 pt) คำสำคญั : 3 – 5 คำ Abstract (18 pt) (ไม่เกนิ 300 – 350 คำ) (16 pt) Keywords: 3 – 5 words

ฟ | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีท่ี 7 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2563) บทนำ (18 pt) (16 pt)

วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ Journal of MCU Nakhondhat | ภ เน้อื หา (18 pt) (16 pt)

ม | Vol.7 No.9 (September 2020) ปีที่ 7 ฉบับท่ี 9 (กนั ยายน 2563) สรุป (18 pt) (16 pt) เอกสารอ้างองิ (18 pt) (ตอ้ งไม่ตำ่ กวา่ 10 รายการ) (16 pt)