Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปี64-กุฎโง้ง

แผนปี64-กุฎโง้ง

Published by 420st0000060, 2022-01-04 15:45:04

Description: แผนปี64-กุฎโง้ง

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอพนัสนคิ ม สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดชลบรุ ี สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คาํ นาํ แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 ของ กศน.ตําบลกุฎโงง จดั ทําขนึ้ เพอื่ เปน แนวทางในการ จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2564 โดยยดึ แนวทางตามยุทธศาสตร และจดุ เนน การดาํ เนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ประจาํ ปง บประมาณ 2564 สอดคลอง กับยทุ ธศาสตรแ ละจุดเนน การดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบรุ ี และ ยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอพนัสนิคม ตลอดจน บริบท ความตองการของกลมุ เปาหมายในพื้นทเี่ พอื่ กําหนดเปน แนวปฏิบตั ิ และแนวทางในการดาํ เนนิ งาน กศน. ตําบลกฎุ โงง ใหเปนไปตามเปา หมายทต่ี ั้งไวอยางมีประสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 ของ กศน.ตําบลกฎุ โงง เลมน้ี สาํ เร็จลุลวงดว ยดี ดว ย ความรว มมือของภาคเี ครือขาย และผเู ก่ียวขอ งรวมกันระดมความคิดเห็น โดยนาํ สภาพปญหาและผลการดาํ เนินงาน มาปรบั ปรงุ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตําบลกุฎโงง เพอื่ สนองตอบความตองการของประชาชนในพ้ืนที่อยา งแทจรงิ ผจู ดั ทาํ หวงั เปน อยา งย่งิ วา แผนปฏบิ ตั ิการประจําปง บประมาณ 2564 ของกศน.ตาํ บลกุฎโงง เลมนี้ จะเปนแนวทางในการดาํ เนินงานของบุคลากรและผูเ ก่ียวของ เพื่อใหการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ใหบรรลุตามวตั ถุประสงค และมีคณุ ภาพตามเปา หมาย ตลอดจนเปน ประโยชนตอผูม สี ว นเกี่ยวขอ ง ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศชาตติ อไป ผจู ดั ทํา กศน.ตําบลกฎุ โงง แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

สารบญั ข คํานํา หนา สารบัญ สวนที่ 1 ขอ มลู พืน้ ฐาน ก ข - ขอ มลู ท่ัวไป กศน.ตําบลกุฎโงง 1 สวนที่ 2 ทศิ ทาง นโยบาย กศน.ตาํ บลกุฎโงง 1 7 - นโยบายจุดเนนการดําเนนิ งานของ สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ 2564 7 - ทิศทาง นโยบายและจดุ เนน ของ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม 17 - ผลการวเิ คราะห SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.ตาํ บลกฎุ โงง 29 - นโยบายและจุดเนน ของ กศน.ตาํ บลกุฎโงง 31 สว นที่ 3 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประจําป 2564 35 - ตารางแผนปฏิบตั ิการประจําป 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง 35 - รายละเอียดโครงการ 37 สว นท่ี 4 กลยุทธก ารดําเนนิ งาน 44 - การดาํ เนนิ งานตามแนวทางวงจร PDCA 44 สว นท่ี 5 รายช่ือคณะกรรมการ กศน.ตาํ บลกุฎโงง 45 คณะผูจดั ทาํ 46 แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

1 สว นท่ี 1 ขอมูลพ้นื ฐาน 1.ขอ มลู ทีต่ ้ังกศน.ตาํ บลกุฎโงง ทีอ่ ยู หมู 6 ตําบลกฎุ โงง อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี สังกดั ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอพนัสนิคม สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบรุ ี สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ลักษณะอาคาร  เอกเทศ  อาศัยแตมีสดั สวนชัดเจน(ระบ)ุ อบต.เกา  อาศัยแตไ มม สี ดั สวนชัดเจน(ระบุ).................................................... 2. สภาพทางกายภาพของชุมชนตําบลกุฎโงง ขนาดพน้ื ท่ี กศน.ตําบลกุฎโงง อยทู างทิศตะวันตกของอาํ เภอพนสั นิคม หา งจากตัวอาํ เภอ 1.5 กิโลเมตร หางจากตวั จงั หวดั ชลบรุ ี 22 กโิ ลเมตร มีอาณาเขตติดตอกบั ตําบลตาง ๆ ดังตอไปน้ี ทิศเหนือ ตดิ ตอ กับ ตําบลหนาพระธาตุ ทศิ ใต ตดิ ตอกับ ตาํ บลนามะตมู ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอกับ เทศบาลเมอื งพนัสนคิ ม ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ กับ ตาํ บลบานเซดิ เน้อื ที่ ขนาดเนือ้ ที่ของตาํ บลกุฎโงง มีพืน้ ท่ีทง้ั หมดประมาณ 3,375 ไร หรือ 5.40 ตร.กม. แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

2 3.ภมู ิประเทศ ลกั ษณะภมู ิประเทศของตําบลกุฎโงง สวนใหญเปนพื้นท่รี าบลมุ เปน ทองนาเสียสวนใหญ สภาพดินเหมาะ แกก ารเพาะปลูก พชื ไร พืชหมุนเวยี น และทาํ การปศุสตั ว ตําบลกุฎโงง มีจํานวน 6 หมูบาน  หมูท่ี 1 บานชา ง  หมูท่ี 2 บานโพธติ์ าก  หมทู ี่ 3 บา นเนนิ พลับ  หมทู ่ี 4 บา นลงิ งอย  หมทู ี่ 5 บานกุฎโงง  หมทู ี่ 6 บานนางู ประชากร จาํ นวนประชากรทัง้ ส้ิน 6,320 คน เปน ชาย 2,968 คน เปนหญิง 3,352 คน มีความหนาแนน เฉลีย่ 1,170 คน/ตารางกโิ ลเมตร ประชากรสามารถแยกเปนหมบู านไดดังน้ี ลําดับ ชื่อหมบู าน ชาย หญงิ รวม หลังคา ชอื่ กํานัน/ผใู หญบา น 1 บานชาง (คน) (คน) (คน) เรือน 2 บา นโพธต์ิ าก 3 บานเนนิ พลับ 899 920 1,819 628 นายรงุ ศกั ดิ์ เศรษฐคมสนั ต 4 บานลงิ งอย 5 บา นกุฎโงง 279 285 564 218 นายธรี ชาติ วฒั นชพี 6 บานนางู 438 489 927 594 นายถาวร สธุ า รวม 152 151 303 117 นายฐวัลย รตั นโพธ์กิ ลุ 289 363 657 258 นายศภุ ฤกษ วารเลศิ 911 1,144 2,047 1,111 นายชยั นาม พรมมา 2,968 3,352 6,320 2,926 (ขอมลู ณ เดือนกมุ ภาพันธ 2564) แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

3 4. ลักษณะสังคม 1 แหง โรงเรยี นประถมศกึ ษา 1 แหง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แหง โรงเรียนอนุบาล (เอกชน) 1 แหง ศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ ประจําตําบล 6 แหง ทอี่ านหนงั สือพิมพประจาํ หมูบา น สถาบันและองคก รทางศาสนา วดั / สํานกั สงฆ 3 แหง ศาลเจา 1 แหง การสาธารณสขุ โรงพยาบาลของรฐั ขนาด 134 เตียง 1 แหง สถานีอนามัยประจําตําบล - แหง สถานพยาบาลเอกชน - แหง ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส ิน สถานีตํารวจ/ที่พักสายตรวจ 1 แหง 5. ลักษณะเศรษฐกิจ ประชากรมีอาชพี รับจาง รายไดเ ฉล่ยี ประมาณ 30,000.-บาท / คน / ป รองลงมาก็ทําการ เกษตรกรรม ทํานา ทาํ ไร แหลงสนิ เชอ่ื ท่ปี ระชาชนใชใ นการกยู มื มาลงทนุ ในการประกอบอาชพี สวนใหญ ไดแ ก กองทนุ หมูบาน สินเช่อื ธนาคารพาณิชย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ หนวยธรุ กิจในเขตเทศบาลตําบลกฎุ โงง ปม นาํ้ มัน 2 แหง โรงงานอตุ สาหกรรม 1 แหง โรงงานอาหารสัตว 2 แหง รา นคา 50 แหง ฟารมสกุ ร 2 แหง แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

4 6. แหลง วทิ ยาการชมุ ชน และทนุ ดานงบประมาณที่สามารถนาํ มาใชประโยชนเ พื่อการจดั การศกึ ษา • หนวยงาน/องคก ร ภาคเี ครอื ขา ย ท่ี หนวยงาน/องคก ร สิ่งทไ่ี ดรับการสนับสนนุ 1 เทศบาลตาํ บลกฎุ โงง - อาคารท่ที ําการ กศน.ตาํ บล - จัดกิจกรรมรวมกนั ในชุมชน - งบประมาณ - การประชาสัมพันธงาน กศน. 2 โรงพยาบาลพนสั นคิ ม - จัดกจิ กรรมรว มกนั ในชมุ ชน - วิทยากรใหค วามรู 3 กํานนั -ผูใหญบ า นตาํ บลกฎุ โงง - จัดกิจกรรมรวมกันในชุมชน - การประสานงานในชุมชน - การประชาสัมพันธงาน กศน. 4 พัฒนาชมุ ชนตาํ บลกุฎโงง - จัดกิจกรรมรว มกนั ในชมุ ชน - วทิ ยากรใหความรู 5 เกษตรตาํ บลกุฎโงง - จดั กิจกรรมรวมกันในชุมชน - วิทยากรใหความรู 6 โรงเรียนในพืน้ ทีต่ าํ บลกุฎโงง - วทิ ยากรใหค วามรู - ประสานงาน - การประชาสัมพนั ธง าน กศน. 7 วดั ในพน้ื ทต่ี าํ บลกุฎโงง - จดั กจิ กรรมรว มกันในชุมชน - ประสานงาน - การประชาสมั พนั ธง าน กศน. แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

5 • แหลงเรยี นรชู มุ ชน ที่ ชอื่ แหลงเรยี นรู ท่ีตง้ั 1 เทศบาลตําบลกฎุ โงง บา นกุฎโงง หมทู ่ี 5 ตาํ บลกุฎโงง 2 โรงพยาบาลพนัสนคิ ม บา นนางู หมูท ่ี 6 ตาํ บลกุฎโงง 3 โรงเรยี นอนบุ าลพนสั ศึกษาลัย บานนางู หมูท่ี 6 ตําบลกุฎโงง 4 โรงเรียนพนัสพทิ ยาคาร บา นนางู หมูที่ 6 ตําบลกุฎโงง 5 วัดบานชา ง บา นชา ง หมูที่ 1 ตาํ บลกุฎโงง 6 วัดไตรรตั นว ราราม บานลิงงาม หมูท่ี 4 ตําบลกุฎโงง 7 วดั กุฎโงง ปทุมคงคา บา นกุฎโงง หมทู ่ี 5 ตาํ บลกุฎโงง 8 ศูนยพ ฒั นาเด็กเลก็ ตาํ บลกฎุ โงง บา นกุฎโงง หมทู ่ี 5 ตําบลกุฎโงง 9 ศูนยเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี งบานเนนิ พลับ บา นเนินพลบั หมูที่ 3 ตําบลกุฎโงง 10 ศนู ยเ รียนรเู ศรษฐกิจพอเพียง บา นลิงงอย หมทู ่ี 4 ตําบลกฎุ โงง 11 ศูนยเรยี นรูก ารทาํ ปยุ อนิ ทรยี  บานกุฎโงง หมทู ี่ 5 ตาํ บลกุฎโงง 12 ศูนยเ รียนรูเ ศรษฐกจิ พอเพียงรักษเกษตร บานนางู หมทู ่ี 6 ตาํ บลกฎุ โงง 13 ศนู ยเ รยี นรูการทาํ จักสาน บานนางู หมูท ี่ 6 ตําบลกุฎโงง ภูมิปญญาทองถ่นิ ท่ี ชอื่ ภูมปิ ญญาทองถิ่น ภมู ิปญญาดาน 1 นางนิ่มนวล ทรงจติ รตั น ดอกไมจ ากผา ใยบวั 2 นางสาวกาณดา ประพนั ธ อาหารและขนม 3 นางสาวสนม ตรยั พทุ ธศาสน ศลิ ปะประดิษฐจากวัสดเุ หลือใช/ ลูกประคบสมนุ ไพร/นวดเพื่อสขุ ภาพ 4 นายเจรญิ พุทธมลิ ินประทปี เศรษฐกจิ พอเพียง 5 นางสาํ รวย บวั ทอง การทาํ เกษตรผสมผสาน 6 นางสมคิด พลเผา เศรษฐกิจพอเพยี ง/แปรรูปสมุนไพร 7 นายณรงค คาํ แกว การทาํ น้ําหมักชวี ภาพ 8 นายบุญเจตน ภมู ะโคตร เศรษฐกจิ พอเพยี ง 9 นางหลอด ลานสุ ตั ย การจกั สานไมไผ แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

6 สว นท่ี 2 ทศิ ทาง นโยบาย กศน.ตาํ บลกุฎโงง นโยบายจุดเนนการดําเนินงาน ของสํานกั งาน กศน. ประจาํ ปงบประมาณ 2564 วิสยั ทศั น คนไทยทกุ ชวงวัยไดรับโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ อยา งมีคุณภาพ มที กั ษะทจ่ี าํ เปน และสมรรถนะท่ีสอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกิจ 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคลองกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม เพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรูของประชาชนกลุมเปาหมายใหเหมาะสมในแตละชวงวัย ใหพรอมรับการเปล่ียนแปลงและการ ปรับตัวในการดํารงชวี ติ ไดอยา งเหมาะสม กา วสกู ารเปน สังคมแหงการเรยี นรูต ลอดชีวิตอยา งย่งั ยนื 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษาการวัด และประเมินผลในทกุ รูปแบบใหม คี ณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลองกับรูปแบบการจัดการเรียนรูแ ละบริบทในปจจุบนั 3. สงเสริมและพฒั นาเทคโนโลยที างการศกึ ษา และนําเทคโนโลยมี าพฒั นาเพอื่ เพ่ิมชอ งทางและโอกาส การเรียนรู รวมถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให กับประชาชนกลุมเปา หมายอยางทั่วถึง 4. สงเสริมสนบั สนุน แสวงหา และประสานความรวมมือเชิงรุกกับภาคีเครือขาย ใหเขามามีสวนรวมในการ สนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิตในรูปแบบตางๆ ใหกับ ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองคกรใหมีเอกภาพ เพ่ือการบริหารราชการที่ดีบนหลักของ ธรรมาภิบาล มปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผล และคลอ งตวั มากยงิ่ ขนึ้ 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรมและ จรยิ ธรรมทด่ี ี เพ่อื เพิม่ ประสทิ ธิภาพของการใหบรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรูทีม่ คี ุณภาพมากยิ่งข้ึน เปา ประสงค 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนทั่วไปไดรับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมี คุณภาพอยา งเทาเทียมและทว่ั ถึง เปนไปตามบริบท สภาพปญหาและความตองการของแตล ะกลมุ เปาหมาย 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม หนาท่ีความเปน พลเมืองท่ีดีภายใตการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ที่สอดคลองกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อันนาํ ไปสกู ารยกระดบั คุณภาพชีวิตและเสรมิ สรา งความเขมแขง็ ใหชุมชน เพอื่ พัฒนา ไปสูความมัน่ คงและย่ังยนื ทางดานเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และสงิ่ แวดลอ ม แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

7 3. ประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะการเรียนรูและแสวงหาความรูดวยตนเองผานแหลงเรียนรูชอ งทางการ เรียนรู และกิจกรรมการเรียนรูรูปแบบตางๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะหแยกแยะอยางมีเหตุผล และนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันรวมถึงการแกปญหา และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตไดอยา งสรางสรรค 4. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม ชองทางการเรียนรู และกระบวนการเรียนรู ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิตตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตรและสิง่ แวดลอม 5. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนา เพ่ือเพิ่มชองทางการเรียนรู และนํามาใชในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรูและโอกาสการเรียนรูใหกับ ประชาชน 6. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน มีสวนรวมในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทงั้ การขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรียนรขู องชุมชน 7. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองคกรท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเปนไปตาม หลักธรรมาภบิ าล 8. บุคลากรกศน. ทุกประเภททุกระดับไดรับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงานและ การใหบริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอยางมี ประสิทธิภาพ จุดเนน การดาํ เนินงานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอ มนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสกู ารปฏบิ ัติ 1.1 สืบสานสาสตรพระราชา โดยการสรางและพัฒนาศูนยสาธิตและเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล”เพื่อเปนแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบตางๆ ท้ังดิน นํ้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุตาง ๆ และสง เสริมการใชพลังงานทดแทนอยางมปี ระสิทธิภาพ 1.2 จัดใหมี “หนงึ่ ชมุ ชน หน่ึงนวตั กรรม การพฒั นาชุมชน” เพื่อความกนิ ดี อยูดี มีงานทํา 1.3 การสรางกลุมจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทงั้ ปลูกฝงผูเรยี นใหมีหลักคดิ ทีถ่ กู ตอ งดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มที ัศนคติท่ีดีตอบานเมือง และเปนผมู คี วามพอเพียง ระเบยี บวนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา ผา นกิจกรรมการพฒั นา ผูเรยี นโดยการใชก ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด 2. สง สรมิ การจดั การศึกษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชนท่เี หมาะสมกับทุกชวงวยั 2.1 สงเสริมการจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทาํ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสรา ง นวัตกรรมและผลิตภัณฑท่ีมีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูร บั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรูความสามารถเพอื่ นําไปใชในการพัฒนาอาชีพได แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

8 2.2 สงเสรมิ และยกระดับทักษะภาษาองั กฤษใหกับประชาชน (English for All) 2.3 สง เสรมิ การเรยี นการสอนท่เี หมาะสมสําหรับผทู ่เี ขา สูส งั คมสูงวยั อาทิ การฝกอบรมอาชพี ท่เี หมาะสมรองรบั สังคมสูงวัย หลกั สูตรการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และสงเสรมิ สมรรถนะผสู ูงวัย และหลกั สตู รการดแู ลผู สงู วยั โดยเนนการมีสว นรวมกบั ภาคเี ครือขา ยทุกภาคสวนในการเตรียมความพรอ มเขาสูสังคมสูงวัย 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัด การศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับทุกกลุม เปา หมาย มีความทนั สมยั สอดคลอ งและพรอมรองรับกบั บริบทสภาวะสังคมปจจุบนั ความตอ งการของผูเรียน และ สภาวะการเรยี นรูในสถานการณตา ง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต 3 . 1 พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เ รี ย น รู  ONIE Digital Learning Platform ท่ี ร อ ง รั บ DEEP ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและชอ งทางเรยี นรูรูปแบบอ่ืน ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหลง เรยี นรูประเภทตา ง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital ScienceCenter/Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวยั และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหสามารถ“เรยี นรูไ ดอยา ทวั่ ถงึ ทุกที่ ทุกเวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมคั รนกั ศกึ ษาและสมคั รฝกอบรมแบบออนไลน มรี ะบบการเทียบโอนความรู ระบบสะสมหนวยการเรียนรู (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการใหบ รกิ ารระบบทดสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส (E-exam) 4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยา งมคี ณุ ภาพ 4.1 รว มมอื กับภาคเี ครือขายทงั้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคก รปกครองสว นทองถิ่น รวม ท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของ ชมุ ชนสงเสริมการตลาดและขยายชองทางการจําหนายเพ่อื ยกระดับผลิตภณั ฑ/ สินคา กศน. 4.2 บูรณาการความรวมมือกบั หนว ยงานตาง ๆ ในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ ทัง้ ในสว นกลางและ ภมู ิภาค 5. พัฒนาศักยภาพและประสทิ ธิภาพในการทาํ งานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังพัฒนาครูใหมี ทักษะความรู และความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝ กทกั ษะการคิดวเิ คราะหอยา งเปน ระบบและมเี หตผุ ล เปนขน้ั ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทาํ งานรว มกนั ในรูปแบบตาง ๆ อาทิ การแขงขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏบิ ัติการพัฒนาประสทิ ธภิ าพในการทํางาน 6. ปรับปรุงและพฒั นาโครงสรางและระบบบรหิ ารจดั การองคกร ปจจัยพ้ืนฐานในการจดั การศกึ ษา และการประชาสัมพนั ธส รางการรับรูต อสาธารณะชน แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

9 6.1 เรง ผลักดันรางพระราชบญั ญตั สิ ง เสริมการเรยี นรู พ.ศ. .... ใหสาํ เรจ็ และปรบั โครงสราง การบรหิ ารและอตั รากาํ ลงั ใหสอดคลอ งกับบริบทการเปลย่ี นแปลง เรง การสรรหา บรรจุ แตงตงั้ ที่มปี ระสิทธิภาพ 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและ ขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาท่ีทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใชงานทันที โดยจัดต้ังศูนยขอมูลกลาง กศน. เพื่อ จัดทําขอ มูล กศน. ท้ังระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซอมแซม ฟนฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอมโดยรอบของหนวยงาน สถานศกึ ษา และแหลงเรียนรูทกุ แหง ใหส ะอาด ปลอดภัย พรอมใหบริการ 6.4 ประชาสัมพันธ/ สรา งการรบั รูใ หก บั ประชาชนทั่วไปเกย่ี วกับการบรกิ ารทางวชิ าการ/กจิ กรรม ดา นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และสรา งชอ งทางการแลกเปล่ยี นเรียนรูดา นวิชาการของหนว ย งานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานส่ือรูปแบบตาง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน. การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูใ นสถานการณก ารแพรระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสาํ นักงาน กศน. จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 สงผล กระทบตอ ระบบการจัดการเรยี นการสอนของไทยในทกุ ระดบั ช้ัน ซ่ึงรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธกิ ารไดออกประกาศ และมีมาตรการเฝาระวังเพ่ือปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว อาทิ กําหนดใหมีการเวนระยะหางทาง สังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานท่ีของโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท เพ่ือจัดการ เรยี นการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ท่มี ผี ูเ ขา รวมเปนจํานวนมากการปด สถานศึกษาดว ยเหตุ พิเศษ การกําหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการเรียนรูแบบออนไลน การจัดการ เรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซยี ลมเี ดีย ตา ง ๆ รวมถึงการสอ่ื สารแบบทางไกลหรือ ด วยวิธีอเิ ล็กทรอนิกส ในสวนของสํานกั งาน กศน. ไดม ีการพัฒนา ปรบั รปู แบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนนิ งานในภารกจิ ตอ เน่อื งตาง ๆ ในสถานการณการใชชวี ิตประจาํ วนั และการจัดการเรียนรเู พ่ือรองรับการชวี ติ แบบปกติวถิ ีใหม (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดใ หค วามสําคญั กับการดําเนินงานตามมาตรการการปองกันการแพร ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูทกุ ประเภทหากมีความจําเปนตอง มาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมีมาตรการปองกันท่ีเขมงวด มีเจลแอลกอฮอลลางมือ ผูรับ บริการตองใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคลเนนการใชสื่อดิจิทัลและ เทคโนโลยอี อนไลนใ นการจดั การเรียนการสอน แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

10 ภารกจิ ตอเนอ่ื ง 1. ดานการจดั การศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบตัง้ แตปฐมวัยจนจบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โดย ดาํ เนินการใหผูเรยี นไดรับการสนับสนุนคาจัดซ้ือหนงั สือเรยี น คาจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รียน และคา จัดการเรียนการสอนอยา งท่ัวถงึ และเพยี งพอ เพอ่ื เพม่ิ โอกาสในการเขาถึงบรกิ ารทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไมเสีย คา ใชจา ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระตับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูตอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ผา นการเรียนแบบเรียนรดู วยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบชัน้ เรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท้ังตานหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน และระบบการใหบ รกิ ารนักศกึ ษาในรูปแบบอนื่ ๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณท่ีมีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความ ตอ งการของกลมุ เปา หมายไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) จัดใหม ีกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี นท่ีมคี ุณภาพทีผ่ เู รียนตองเรยี นรแู ละเขารว มปฏิบัติ กิจกรรมเพื่อเปนสวนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด การแขงขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จติ อาสาและการจดั ต้ังชมรม/ชมุ นุม พรอ มทงั้ ปดโอกาสใหผเู รียนนํากิจกรรมการบําเพ็ญประโยชน อ่นื ๆ นอก หลักสตู ร มาใชเ พิม่ ชว่ั โมงกจิ กรรมใหผ ูเรยี นจบตามหลกั สูตรได 1.2 การสงเสรมิ การรูห นงั สือ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผไู มร หู นังสือ ใหม คี วามครบถวน ถกู ตอง ทนั สมยั และเปน ระบบ เดยี วกันทั้งสวนกลางและสว นภูมิภาค 2) พัฒนาหลักสูตร สือ่ แบบเรยี น เคร่อื งมือวดั ผลและเครื่องมอื การดาํ เนินงานการสง เสริม การรูห นังสอื ท่สี อดคลอ งกับสภาพแตล ะกลุมเปา หมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรู หนงั สือในพืน้ ท่ีที่มีความตอ งการจําเปนเปน พิเศษ 4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรู หนังสือการพัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพ่ือเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเนื่องตลอด ชวี ติ ของประชาชน แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

11 1.3 การศกึ ษาตอ เนือ่ ง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทําอยางยง่ั ยืน โดยใหความสาํ คัญกับการจัดการศึกษา อาชีพเพ่ือการมีงานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการรวมถึงการเนน อาชพี ชา งพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผเู รยี น ความตองการและศักยภาพของแต ละพื้นท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การ พัฒนาหนึ่งตําบลหนึ่งอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและ จัดหาภารกจิ ตอ เนอื่ ง 2) จัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิตใหก ับทกุ กลุม เปา หมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู สูงอายุที่สอดคลองกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองไดมีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูใน สังคมไดอยางมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพและ เตรียมพรอมสําหรับการปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคตโดย จัดกิจกรรมท่ีมีเนื้อหาสําคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรูเพ่ือการปองการการแพรระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การปองกันภัยยาเสพติดเพศศึกษา การปลูกฝงและการสรางคานิยมท่ีพึงประสงคความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย สิน ผานการอบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุมการอบรมสงเสริม ความสามารถพิเศษตา งๆ เปน ตน 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใชหลกั สตู รและการจัดกระบวนการเรยี น รูแบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรางชมุ ชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละพนื้ ที่ เคารพความคิดของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมท้ังสังคมพหุ วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะการ สรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตยการเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหนา ท่ีความเปนพลเมืองทีด่ ี ภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมการ เปนจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสาธารณภัยการอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม การชว ยเหลือซึง่ กันและกนั ในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชนอยางย่งั ยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรู ตลอดชีวิตในรูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการ บรหิ ารจัดการความเสี่ยงอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู วามสมดุลและยั่งยนื แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

12 1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอ้ือตอการอานและพัฒนา ศกั ยภาพการเรียนรูใ หเ กิดขึ้นในสงั คมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและทั่วถึง เชน การพัฒนา กศน. ตาํ บล ห องสมุดประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสราง เครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคลื่อนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพ่ือจัด กิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูท่ีหลากหลายใหบริการกับประชาชนในพ้ืนท่ีตางๆ อยางทั่วถึง สมํ่าสมอ รวมท้ังเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพ่ือสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริม การอานอยางหลากหลายรูปแบบ 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตร ตลอดชีวิตของประชาชน เปนแหลงสรางนวตั กรฐานวทิ ยาศาสตร และเปน แหลงทอ งเทยี่ วเชงิ ศลิ ปะวทิ ยาการประจํา ทองถ่ินโดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเนนการเสริมสรางความรูและสรา งแรงบันดาล ใจดานวทิ ยาศาสตร สอดแทรกวธิ กี ารคิดเชงิ วเิ คราะห การคิดเชงิ สรางสรรค และปลกู ฝง เจตคติทางวิทยาศาสตรผาน การกระบวนการเรียนรูท่บี ูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคกู ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร รวมท้งั สอดคลองกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทัง้ ระดับภมู ิภาคและ ระ ตบั โลก เพื่อใหป ระชาชนมคี วามรูแ ละสามารถนําความรูและทกั ษะไปประยุกตใชในการดําเนินชีวติ การพฒั นาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่เปนไปอยางรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Change) ไดอยางมี ประสิทธภิ าพ 3) ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ท่ีมีแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ เพอ่ื สง เสรมิ การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ใหมีรปู แบบที่หลากหลาย และตอบสนองความตอ งการของประชาชน เชน พิพธิ ภัณฑศ นู ยเรยี นรู แหลงโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หอ งสมุดรวมถึงภมู ิปญญาทองถน่ิ เปน ตน 2. ดานหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล งานบริการ ทางวชิ าการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เพื่อสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และหลกั สูตรทองถ่ินทส่ี อดคลองกับสภาพบริบทของพ้นื ท่ีและความตองการของกลุม เปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเอื้อตอการเรียนรูของ ผูเ รียนกลมุ เปา หมายทัว่ ไปและกลมุ เปาหมายพิเศษ เพือ่ ใหผ เู รยี นสามารถเรยี นรูไ ดท กุ ที ทุกเวลา 2.3 พฒั นารปู แบบการจดั การศึกษาทางไกลใหม ีความทันสมัย หลากหลายชองทางการเรยี นรู ดว ยระบบหอ งเรยี นและการควบคุมการสอบรปู แบบออนไลน แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

13 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณ เพื่อใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมี ประสิทธภิ าพ รวมท้ังมีการประชาสัมพันธใ หสาธารณชนไดรับรูและสามารถขา ถงึ ระบบการประเมินได 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam) มาใชอยางมีประสทิ ธภิ าพ 2.6 สงเสริมและสนับสนนุ การศกึ ษาวิจัย เพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งใหมีการนําไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับบริบท อยา งตอ เน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในที่สอดคลองกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพรอมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกโดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และ สามารถดาํ เนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดว ยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไมไดเขารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไ ดคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด 3. ดานเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและราการโทรทัศนเพ่ือกาศึกษา เพี่อใหเชื่อมโยงและ ตอบสนองตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาส ทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองใหรูเทาทันสื่อ ละเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือกาสื่อสาร เชน รายกาพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา รายการติว เขมเติมเต็มความรู รายการทํากินก็ได ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือ การศกึ ษากระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ นต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพรก ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยผานระบบ เทคโนโลยี และชอ งทางออนไลนต าง ๆ เชน YouTube Facebook หรอื Application อ่ืน ๆ เพ่ือสงเสริมให ครู กศน. นําเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชสรางกระบานการเรยี นรดู ว ยตนเอง (Do it Yourself : DM) 3.3 พฒั นาสถานวี ทิ ยศุ กึ ษาและสถานีโทรทศั นเ พื่อการศึกษา เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตและ การอกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูท่ีมีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตโดยขยาย เครือขายรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ัวประเทศ และเพ่ิมชองทางใหสามารถรับชม รายการโทรทัศนไ ดท ัง้ ระบบ ku - Band C- Band Digital tv และทางอนิ เทอรเนต็ พรอ มทีจ่ ะรองรบั การพฒั นาเปน สถานวี ิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา (Free Tv) แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

14 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพ่ือใหไตหลายชองทางท้ังทาง อินเทอรเน็ตและรูปแบบอนื่ ๆ อาทิ Application บนโทรศัพทเคล่ือนท่ี และ Tablet รวมทงั้ ส่อื Online ในรปู แบบ ตาง ๆ เพื่อใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพื่อเขาถึงโอกาสทางการศึกษาและกรเรียนรูไดสามความ ตองการ 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลคนการใชส่ือเทคโนโลยี เพ่ือการศึกษาอยางตอเนื่อง เพื่อ นําผลมาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกดอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตของ ประชาชนอยา งแทจ ริง 4. ดา นโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เกย่ี วเน่ืองจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อันเกย่ี วเนื่องจากราชวงศ 4.2 จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริหรือโครงกรอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ เพ่ือนําไปใชในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พฒั นางานอยา งมีประสิทธิภาพ 4.3 สง เสริมการสรา งเครือขา ยการดาํ เนนิ งาน เพ่ือสนับสนนุ โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ ท่ที ําใหเกดิ ความเขมแข็งในการจดั การศกึ ษานอระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนยกาเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา \"แมฟาหลวง\" เพื่อใหมีความพรอมในการจัด การศึกษานอกระบบและศึกษาตามอธั ยาศัยตามบาทบาทหนา ที่กําหนดไวอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 4.5 จดั และสง เสรมิ การเรียนรลู อดชีวติ ใหสอดคลอ งกับวีถีชีวิตของประชาขนบนพ้นื ทสี่ งู ถิ่น ทุรกันดาร พ้นื ท่ีชายขอบ 5. ดานการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่บริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวดั ชายเดนภาคใต 1) จดั และพฒั นาหลักสตู ร และกิจกรรมสงเสริมการศกึ ษาและการเรียนรทู ่ีตอบสนอง ปญหาและความตอ งการของกลมุ เปา หมาย รวมทั้งอตั ลักษณและความพหุวัฒนธรรมของพืน้ ที่ 2) พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานอยางเขม ขน และ ตอ เนอื่ ง เพอ่ื ใหผ ูเ รยี นสามารถนาํ ความรทู ี่ไดร ับไปใชป ระโยชนไ ดจรงิ 3) ใหห นวยงานและสานศึกษาใหม มี าตรการดแู ลความปลอดภัยแกบุคลากรและนักศึกษา กศน. ตลอดจนผูม าใชบ รกิ ารอยา งทั่วถงึ 5.2 พัฒนาการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความรว มมอื กับหนวยงานทเี่ กย่ี วขอในการจดั ทําแผนการศึกษาตาม ยทุ ธศาสตรและบรบิ ทของแตละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทาํ หลกั สตู รการศกึ ษาตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี โดยเนนสาขาทจ่ี าํ เปน ความตอ งการ ของตลาดใหเ กดิ การพฒั นาอาชพี ไดตรงความตองของพ้ืนที่ แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

15 5.3 จัดการศึกษาเพอื่ ความมน่ั คง ของศนู ยศ ึกษาและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝซ.) 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนยฝกและ สาธิตการประกบอาชีพดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตนแนบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง สําหรับประชาชนตามแนวชายแดน ดวยวิธีการเรยี นรูท ี่หลากหลาย 2) มงุ จัดและพัฒนากาศกึ ษาอาชพี โดยใชวิธีการหลากหลาย ใชร ปู แบบเชงิ รกุ เพอ่ื การ เขาถึงกลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนําดาน อาชีพ ที่เนน เรอื่ งเกษตรธรรมชาติที่สอดคลองกับบริบทของชายแดน ใหแกประชาซนตามแนวชายแดน 6. ดานบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีสวนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ทั้งกอนและ ระหวางการดํารงตําแหนงเพ่ือใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรง กับสายงานความชํานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของ หนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือเลื่อนตํา แหนงหรอื เลือ่ นวิทยฐานะโดยเนน การประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจักษ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จําเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถปฏิบัตกิ ารนิเทศไดอยางมศี ักยภาพ เพื่อรว มยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยในถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตาํ บล/แขวงและการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกจิ อยา งมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน การเปนนกั จัดการความรแู ละ ผู อํานวยความสะดวกการเรยี นรเู พ่ือใหผ ูเรียนเกดิ การเรยี นรทู ม่ี ีประสทิ ธิภาพอยางแทจรงิ 4) พฒั นาครู กศน. และบคุ ลากรทเี่ ก่ยี วของกับการจดั การศกึ ษาใหสามารถจดั รปู แบบการ เรยี นรไู ดม ีคณุ ภาพ โดยสงเสรมิ ใหม วี ามรูค วามสามารถในการจดั ทาํ แผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และประเมนิ ผล และการวจิ ัยเบ้อื งตน 5) พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการศึกษาและการเรียนรู ใหม ีความรู ความสามารถและมคี วามเปนมอื อาชพี ในการจดั บริการสง เสริมการเรยี นรูตลอดชวี ติ ของปะชาชน 6) สง เสริมใหค ณะกรรมการ กศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวม ในการบริหารการดําเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ใหทาํ หนา ทใ่ี หสนับสนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 8) พฒั นาสมรรถนะและเสริมสรางความสมั พันธร ะหวา งบุคลากร รวมทงั้ ภาคเี ครือขา ยท้ัง แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

16 ในและตางประเทศไนทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพไนการทํางาน รวมกันในรูปแบบท่ีหลากหลาย อยางตอเน่ือง อาทิ การแขงขันกีฬา การอบเชิงปฏิบัติการการพัฒนาประสิทธิภาพ โนการทํางาน 6.2 การพฒั นาโครงสรางพนื้ ฐานและอัตรากาํ ลงั 1) จัดทาํ แผนการพฒั นาโครงสรางพนื้ ฐานและดําเนนิ การบรับปรุงสถานท่ี และวัสดุ อปุ กรณ ใหม คี วามพรอ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู 2) สรรหา บรรจุ แตง ต้งั และบรหิ ารอัตรากําลงั ที่มอี ยทู ัง้ ในสว นทเี่ ปน ขา ราชการ พนักงาน ราชการและลกู จาง ใหเ ปน ไปตามโครงสรางการบริหารและกรอบอตั รากําลัง รวมทง้ั รองรบั กับบทบาทภารกิจตามที่ กําหนดไวใหเ กดิ ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏบิ ัตงิ าน 3) แสวงหาความรวมมอื จากภาคเี ครอื ขา ยทกุ ภาคสว นในการระดมทรพั ยากรเพ่ือนาํ มาใช ในการปรับปรุงโครงสรางฟนฐานใหมีความพรอมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยและสงเสริมการเรียนรูสําหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอ มลู ใหมคี วามครบถัน ถกู ตอง ทนั มัย และเชอ่ื มโยงกนั ท่วั ประเทศ อยางเปนระบบเพ่ือใหหนวยงานและถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเครื่องมือสําหรับในการบริหารการ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกาํ กบั ควบคมุ และเรงรัดการเบกิ จา ยงบประมาณใหเปนตามเปาหมายท่ีกําหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดตามความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับ ผูเรียนและการบรหิ ารจัดการอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) สงเสริมใหมกี ารจดั การความรูใ นหนวยงานและสถานศกึ ษาทกุ ระดับ รวมท้งั การศกึ ษา วิจัยเพ่ือสามารถนํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคลองกับความตองการของประชาชนและ ชุมชนพรอ มทั้งพฒั นาขีดความสามารถในการแขงขนั ของหนว ยงานและสถานศกึ ษา 5) สรางความรว มมือของภาคีเครือขา ยทุกภาคสว น ทงั้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งใน ประเทศและตางประเทศ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิด ความรวมมือในการสงเสรมิ สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรูใหก บั ประชาชนอยางมีคุณภาพ 6) สง เสริมการใชระบบสํานกั งานอิเลก็ ทรอนิกส (E - office) ในการบรหิ ารจัดการ เชน ระบบการลาระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชหอ งประชมุ เปน ตน 6.4 การกาํ กับ นิเทศตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สรา งกลไกการกํากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการดาํ เนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเ ช่อื มโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครอื ขายทัง้ ระบบ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

17 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาท่ีเกย่ี วของทกุ ระดับ พฒั นาระบบกลไกการกํากบั ติดตาม และรายงานผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินตามนโยบายสูการปฏิบัติไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ 3) สง เสริมใชเ ทคโนโลยีสารสนทศและการส่ือสาร และสื่ออน่ื ๆ ท่เี หมาะสม เพอื่ การ กํากบั นิเทศติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏิบตั กิ ารราชการตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการประจําปของหนว ยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวดั ในคํารบั รองการปฏิบตั ิราชการประจาํ ป ของสาํ นักงาน กศน. ใหด ําเนนิ ไปอยา งมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาทกี่ ําหนด 5) ใหมกี ารเชอ่ื มโยงระบบการนิเทศในทกุ ระดับ ทง้ั หนว ยงานภายในและภายนอกองคก ร ต้ังแตสวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อําเภอเขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเปนเอกภาพในการใชขอมูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

18 ทิศทาง นโยบายและจดุ เนนของ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม ปรชั ญา ยกระดับการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวติ ดว ยแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิสัยทัศน กศน.อาํ เภอพนัสนิคม จัดและสง เสริม สนบั สนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหก ับประชาชนกลุม เปา หมายอําเภอพนัสนคิ มไดอยา งมีคุณภาพดวยแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อตั ลักษณสถานศึกษา ใฝเ รยี นรู เอกลกั ษณส ถานศกึ ษา ทมี งานเขมแข็ง พันธกิจของสถานศึกษา 1. จดั และสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพอื่ ยกระดับ การศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการ เปลย่ี นแปลงบริบททางสังคมและสรา งสังคมแหง การเรยี นรูตลอดชีวติ 2. สงเสริมสนบั สนนุ และประสานการมสี ว นรว มของภาคเี ครือขายและชุมชน ในการจัดการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนรวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของ ศนู ยก ารเรยี น และแหลงการเรียนรูในรปู แบบตาง ๆ 3. สง เสริมและพฒั นาการนาํ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมา ใชใ หเกิดประสทิ ธิภาพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหกับประชาชน อยา งทั่วถงึ 4. พัฒนาหลักสูตรรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูเทคโนโลยีสื่อและนวัตกรรม การวัด และ ประเมินผลในทกุ รปู แบบใหส อดคลองกบั บรบิ ทในปจ จบุ ัน 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบริหารจัดการใหมปี ระสิทธภิ าพ เพ่อื มุงจัดการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าลและการมสี ว นรว ม แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

19 เปาประสงค และตัวชี้วดั ความสาํ เร็จ เปาประสงค ตวั ชวี้ ัดความสาํ เรจ็ 1. จัดและสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม 1. จํานวนกลุมเปาหมาย ผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง อธั ยาศยั ใหม ีคุณภาพใหกับกลุมเปาหมาย อยางเทา เทยี ม การศึกษาที่ไดรับบริการการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา และท่วั ถึง ข้ันพื้นฐาน ท่ีสอดคลองกับสภาพ ปญหาและความตองการ ท่ีมี คณุ ภาพอยางเทา เทียมและทว่ั ถงึ 2. รอยละของผูไมรูหนังสือที่ผานการประเมินการรูหนงั สือตาม หลักสูตรสงเสริมการรูหนังสอื 2. สงเสริมการมีสว นรว มของภาคีเครือขา ยในการจดั 3. รอ ยละภาครฐั และเอกชนทกุ ภาคสว น รวมเปน ภาคีเครอื ขาย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการดาํ เนนิ งานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3. สงเสริมใหประชาชน นักศึกษา กศน.ไดรับการยกระดับ 4. รอยละของประชาชน นักศึกษา กศน. ไดรับการสรางเสริม การศึกษาสรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมและ และปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมสูความเปนพลเมืองที่ดีในระบอบ ความเปนพลเมือง อันนําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและ ประชาธปิ ไตย เสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพื่อพัฒนาไปสูสังคมท่ี ยงั่ ยนื 4. พัฒนาบุคลากร ผูเรียน ผูรับบริการ และสงเสริมการนาํ 5. รอยละบุคลากร ผูเรียน ผูรับบริการ ไดรับการพัฒนาการนํา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการยกระดับ การจัดการเรียนรู เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการสื่อสารมาใชในการปฏิบัติงาน และเพ่ิมโอกาสทางการเรียนรูใหกับประชาชน และ การศกึ ษา และการดาํ เนินชวี ิตประจําวนั ใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ นกั ศกึ ษา กศน. โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าลและการมีสวนรว ม 5. จัดทําหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัด 6. สถานศึกษามีหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนรู เทคโนโลยี สื่อและนวัตกรรม การวัด กิจกรรมการเรียนรู เทคโนโลยี สื่อและนวัตกรรม การวัดและ และประเมินผลในทุกรูปแบบใหส อดคลอ งกับบรบิ ทในพน้ื ที่ ประเมินผลในทุกรูปแบบใหส อดคลองกับบรบิ ทในพ้ืนท่ี 6. ประชาชนไดรบั การสรางและสง เสริมใหม ีนิสยั รกั การอาน 7.รอยละการอานของประชาชนในพ้นื ท่ี เพ่ิมมากขนึ้ เพ่อื การแสวงหาความรูดวยตนเอง 7. สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในและภายนอก 8. รอยละสถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในและ มีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ภายนอกมกี ารจัดทาํ รายงานการประเมินตนเอง กลยุทธ กลยุทธท ่ี 1 บรหิ ารงานตามนโยบาย กลยทุ ธท ่ี 2 มากมายแหลง เรียนรู กลยทุ ธที่ 3 ควบคเู ครอื ขาย กลยทุ ธท ่ี 4 หลากหลายกจิ กรรม กลยุทธที่ 5 นาํ สกู ลุม เปาหมาย แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

20 นโยบายและจุดเนนของ กศน.อาํ เภอพนัสนคิ ม วิสยั ทศั น คนไทยทกุ ชว งวยั ไดรบั โอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรตู ลอดชีวติ อยา งมีคณุ ภาพ มที กั ษะที่จาํ เปน และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พนั ธกิจ 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ สอดคลองกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คม เพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรูของประชาชนกลุมเปาหมายใหเหมาะสมในแตละชวงวัย ใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงและการ ปรบั ตัวในการดาํ รงชวี ติ ไดอยา งเหมาะสม กา วสกู ารเปนสงั คมแหงการเรยี นรูต ลอดชวี ติ อยา งย่งั ยนื 2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษาการวัด และประเมินผลในทุกรปู แบบใหม ีคณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลองกับรูปแบบการจัดการเรยี นรูและบรบิ ทในปจจบุ นั 3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาํ เทคโนโลยีมาพฒั นาเพอื่ เพมิ่ ชอ งทางและโอกาส การเรียนรู รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให กับประชาชนกลุมเปาหมายอยางท่ัวถงึ 4. สงเสริมสนบั สนุน แสวงหา และประสานความรวมมือเชิงรุกกับภาคีเครอื ขาย ใหเขามามีสวนรวมในการ สนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิตในรูปแบบตางๆ ใหกับ ประชาชน 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองคกรใหมีเอกภาพ เพ่ือการบริหารราชการที่ดีบนหลักของ ธรรมาภิบาล มีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และคลองตวั มากยิ่งข้นึ 6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรู ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรมและ จริยธรรมทด่ี ี เพือ่ เพมิ่ ประสิทธิภาพของการใหบ ริการทางการศึกษาและการเรียนรูท่มี คี ุณภาพมากยิ่งขึ้น เปาประสงค 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรับโอกาสทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คณุ ภาพอยา งเทา เทยี มและทั่วถงึ เปนไปตามบริบท สภาพปญหาและความตอ งการของแตล ะกลมุ เปา หมาย 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม หนาที่ความเปน พลเมืองที่ดีภายใตการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ที่สอดคลองกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง อนั นําไปสกู ารยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรา งความเขมแขง็ ใหช ุมชน เพอื่ พัฒนา ไปสคู วามม่นั คงและย่ังยนื ทางดานเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และสิ่งแวดลอ ม 3. ประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะการเรียนรูและแสวงหาความรูดวยตนเองผานแหลงเรียนรูชองทางการ เรียนรู และกิจกรรมการเรียนรูรูปแบบตางๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ี แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

21 เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะหแยกแยะอยางมีเหตุผล และนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันรวมถึงการแกปญหา และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอยา งสรางสรรค 4. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ชองทางการเรียนรู และกระบวนการเรียนรู ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิตตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตรและส่งิ แวดลอ ม 5. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาพัฒนา เพ่ือเพิ่มชองทางการเรียนรู และนํามาใชในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรูและโอกาสการเรียนรูใหกับ ประชาชน 6. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน มีสวนรวมในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั การขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรูของชุมชน 7. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองคกรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเปนไปตาม หลกั ธรรมาภบิ าล 8. บุคลากรกศน. ทุกประเภททุกระดับไดรับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงานและ การใหบริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอยางมี ประสิทธิภาพ จุดเนน การดาํ เนนิ งานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาสกู ารปฏิบตั ิ 1.1 สืบสานสาสตรพระราชา โดยการสรางและพัฒนาศูนยสาธิตและเรียนรู “โคก หนอง นา โมเดล”เพ่ือเปนแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบตางๆ ทั้งดิน น้ํา ลม แดด รวมถึงพืชพันธุตาง ๆ และสงเสรมิ การใชพลงั งานทดแทนอยา งมีประสิทธิภาพ 1.2 จดั ใหม ี “หน่ึงชุมชน หนึง่ นวตั กรรม การพัฒนาชมุ ชน” เพ่ือความกนิ ดี อยดู ี มงี านทํา 1.3 การสรา งกลุม จิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลกู ฝงผเู รียนใหม ีหลกั คิดทีถ่ กู ตอ งดานคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทศั นคตทิ ด่ี ีตอ บานเมือง และเปนผมู ีความพอเพียง ระเบียบวนิ ยั สจุ รติ จติ อาสา ผา นกจิ กรรมการพฒั นา ผูเรยี นโดยการใชกระบวนการลกู เสือและยุวกาชาด 2. สง สรมิ การจัดการศึกษาและการเรียนรตู ลอดชวี ิตสาํ หรับประชาชนทเี่ หมาะสมกับทกุ ชวงวยั 2.1 สง เสรมิ การจัดการศกึ ษาอาชีพเพอื่ การมีงานทาํ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสราง นวัตกรรมและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชน ผูรบั บรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพื่อนาํ ไปใชในการพัฒนาอาชพี ได 2.2 สง เสริมและยกระดบั ทกั ษะภาษาองั กฤษใหกับประชาชน (English for All) 2.3 สง เสริมการเรยี นการสอนที่เหมาะสมสําหรบั ผูท ่เี ขาสสู งั คมสงู วัย อาทิ การฝกอบรมอาชพี แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

22 ทเ่ี หมาะสมรองรับสงั คมสงู วยั หลักสตู รการพฒั นาคุณภาพชวี ติ และสง เสริมสมรรถนะผูส ูงวัย และหลักสตู รการดแู ลผู สงู วัย โดยเนนการมสี วนรวมกบั ภาคเี ครอื ขายทุกภาคสว นในการเตรยี มความพรอมเขาสสู งั คมสงู วัย 3. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัด การศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพ่ือประโยชนตอการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับทุกกลุม เปา หมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบนั ความตองการของผูเรียน และ สภาวะการเรยี นรูใ นสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต 3.1 พฒั นาระบบการเรยี นรู ONIE Digital Learning Platform ท่รี องรบั DEEP ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและชองทางเรียนรูรปู แบบอืน่ ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air 3.2 พฒั นาแหลง เรียนรูป ระเภทตา ง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital ScienceCenter/Digital Library ศนู ยการเรียนรูทกุ ชวงวยั และศูนยก ารเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหส ามารถ“เรยี นรูไดอ ยา ทัว่ ถงึ ทุกที่ ทุกเวลา” 3.3 พฒั นาระบบรับสมคั รนักศกึ ษาและสมคั รฝกอบรมแบบออนไลน มีระบบการเทียบโอนความรู ระบบสะสมหนวยการเรียนรู (Credit Bank System) และพฒั นา/ขยายการใหบรกิ ารระบบทดสอบอเิ ลก็ ทรอนิกส (E-exam) 4. บูรณาการความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยา งมคี ณุ ภาพ 4.1 รว มมอื กบั ภาคเี ครือขายทงั้ ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคก รปกครองสวนทองถน่ิ รวม ทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพท่ีเปนอัตลักษณและบริบทของ ชมุ ชนสง เสรมิ การตลาดและขยายชอ งทางการจาํ หนายเพอื่ ยกระดับผลติ ภณั ฑ/ สนิ คา กศน. 4.2 บรู ณาการความรวมมือกบั หนว ยงานตาง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ท้ังในสว นกลางและ ภมู ภิ าค 5. พฒั นาศักยภาพและประสิทธิภาพในการทาํ งานของบุคลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาครูใหมี ทักษะความรู และความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝ กทักษะการคิดวเิ คราะหอยางเปน ระบบและมเี หตุผล เปน ขนั้ ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทาํ งานรว มกนั ในรูปแบบตาง ๆ อาทิ การแขงขนั กีฬา การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาประสิทธิภาพในการทาํ งาน 6. ปรับปรงุ และพัฒนาโครงสรา งและระบบบริหารจดั การองคกร ปจ จัยพื้นฐานในการจัดการศึกษา และการประชาสัมพันธส รางการรบั รูต อ สาธารณะชน 6.1 เรงผลักดันรา งพระราชบญั ญตั ิสง เสรมิ การเรียนรู พ.ศ. .... ใหสาํ เรจ็ และปรบั โครงสราง การบริหารและอตั รากําลงั ใหสอดคลอ งกับบรบิ ทการเปลย่ี นแปลง เรงการสรรหา บรรจุ แตง ต้งั ท่มี ีประสทิ ธิภาพ แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

23 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและ ขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใชงานทันที โดยจัดตั้งศูนยขอมูลกลาง กศน. เพื่อ จดั ทําขอมลู กศน. ท้ังระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซอมแซม ฟนฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอมโดยรอบของหนวยงาน สถานศึกษา และแหลงเรยี นรูทกุ แหง ใหสะอาด ปลอดภยั พรอ มใหบริการ 6.4 ประชาสัมพนั ธ/สรางการรบั รูใ หกบั ประชาชนทั่วไปเกย่ี วกับการบริการทางวชิ าการ/กจิ กรรม ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสรา งชองทางการแลกเปลีย่ นเรียนรูด า นวิชาการของหนวย งานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานสื่อรูปแบบตาง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน. การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใ นสถานการณก ารแพรระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสํานักงาน กศน. จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 สงผล กระทบตอ ระบบการจดั การเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธกิ ารไดออกประกาศ และมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพรกระจายของเช้ือไวรัสดังกลาว อาทิ กําหนดใหมีการเวนระยะหางทาง สังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท เพื่อจัดการ เรยี นการสอน การสอบ ฝก อบรม หรอื การทาํ กิจกรรมใด ๆ ทมี่ ีผูเขารว มเปน จํานวนมากการปดสถานศึกษาดวยเหตุ พิเศษ การกําหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการเรียนรูแบบออนไลน การจัดการ เรียนรูผ านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วทิ ยุ และโซเซยี ลมเี ดยี ตาง ๆ รวมถงึ การสือ่ สารแบบทางไกลหรือ ด วยวธิ อี เิ ลก็ ทรอนิกส ในสว นของสาํ นักงาน กศน. ไดม กี ารพัฒนา ปรับรปู แบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนนิ งานในภารกิจ ตอ เนอื่ งตาง ๆ ในสถานการณการใชช ีวิตประจําวนั และการจดั การเรยี นรเู พ่ือรองรับการชวี ิตแบบปกตวิ ิถีใหม (New Normal) ซ่งึ กิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดใ หความสําคญั กับการดําเนินงานตามมาตรการการปองกันการแพร ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูทกุ ประเภทหากมีความจําเปนตอง มาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมีมาตรการปองกันที่เขมงวด มีเจลแอลกอฮอลลางมือ ผูรับ บริการตองใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคลเนนการใชสื่อดิจิทัลและ เทคโนโลยอี อนไลนในการจัดการเรยี นการสอน แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

24 ภารกจิ ตอเนอ่ื ง 1. ดานการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 1) สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบต้ังแตป ฐมวัยจนจบการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน โดย ดาํ เนินการใหผูเรยี นไดร บั การสนับสนนุ คาจัดซ้ือหนงั สือเรียน คา จัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รียน และคา จัดการเรียนการสอนอยา งทั่วถึงและเพยี งพอ เพอื่ เพิ่มโอกาสในการเขาถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพโดยไมเสีย คา ใชจา ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระตับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูตอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ผา นการเรยี นแบบเรยี นรดู วยตนเอง การพบกลุม การเรยี นแบบช้ันเรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท้ังตานหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน และระบบการใหบ ริการนักศกึ ษาในรปู แบบอ่ืน ๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณท่ีมีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความ ตอ งการของกลมุ เปา หมายไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ 5) จดั ใหมกี จิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นท่ีมคี ณุ ภาพทีผ่ เู รียนตองเรียนรูและเขารว มปฏิบัติ กิจกรรมเพื่อเปนสวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด การแขงขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จติ อาสาและการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พรอมท้ังปดโอกาสใหผเู รยี นนํากิจกรรมการบาํ เพ็ญประโยชน อืน่ ๆ นอก หลักสูตร มาใชเ พ่ิมชว่ั โมงกิจกรรมใหผ เู รียนจบตามหลกั สตู รได 1.2 การสง เสรมิ การรหู นังสอื 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผไู มรูหนงั สอื ใหม คี วามครบถว น ถูกตอ ง ทันสมยั และเปนระบบ เดยี วกันทั้งสว นกลางและสว นภมู ภิ าค 2) พัฒนาหลักสูตร สอ่ื แบบเรยี น เคร่ืองมอื วดั ผลและเคร่ืองมอื การดาํ เนนิ งานการสง เสริม การรูห นังสอื ท่สี อดคลองกับสภาพแตล ะกลมุ เปา หมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรู หนงั สือในพืน้ ท่ีที่มคี วามตองการจําเปนเปน พิเศษ 4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรู หนังสือการพัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพื่อเปนเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเนื่องตลอด ชวี ติ ของประชาชน แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

25 1.3 การศึกษาตอ เนอ่ื ง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทําอยางย่งั ยนื โดยใหความสาํ คญั กบั การจดั การศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการรวมถึงการเนน อาชีพชา งพื้นฐาน ท่ีสอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพของแต ละพ้ืนที่มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การ พัฒนาหนึ่งตําบลหนึ่งอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและ จัดหาภารกจิ ตอเนอ่ื ง 2) จัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิตใหกบั ทกุ กลุมเปา หมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู สูงอายุท่ีสอดคลองกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองไดมีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูใน สังคมไดอยางมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพและ เตรียมพรอมสําหรับการปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคตโดย จัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสําคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรูเพ่ือการปองการการแพรระบาดของเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การปองกันภัยยาเสพติดเพศศึกษา การปลูกฝงและการสรางคานิยมท่ีพึงประสงคความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย สิน ผานการอบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุมการอบรมสงเสริม ความสามารถพเิ ศษตางๆ เปนตน 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน โดยใชหลักสตู รและการจดั กระบวนการเรียน รูแบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏบิ ัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละพนื้ ท่ี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมท้ังสังคมพหุ วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะการ สรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตยการเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหนา ท่ีความเปนพลเมืองทีด่ ี ภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมการ เปนจิตอาสา การบําเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสาธารณภัยการอนุรักษพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม การชวยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในการพัฒนาสงั คมและชุมชนอยา งย่ังยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรู ตลอดชีวิตในรูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการ บรหิ ารจัดการความเสย่ี งอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู วามสมดุลและยั่งยนื 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการอานและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูใหเ กิดข้นึ ในสังคมไทย ใหเ กิดข้ึนอยางกวา งขวางและท่วั ถงึ เชน การพัฒนา กศน. ตําบล ห แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

26 องสมุดประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสราง เครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการหองสมุดเคลื่อนที่ หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัด กิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตางๆ อยางทั่วถึง สมํ่าสมอ รวมทั้งเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริม การอานอยา งหลากหลายรูปแบบ 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตร ตลอดชวี ิตของประชาชน เปนแหลง สรา งนวัตกรฐานวิทยาศาสตร และเปนแหลงทอ งเท่ยี วเชงิ ศลิ ปะวิทยาการประจํา ทองถิ่นโดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรูและสรางแรงบันดาล ใจดานวทิ ยาศาสตร สอดแทรกวิธีการคดิ เชิงวเิ คราะห การคิดเชิงสรางสรรค และปลกู ฝง เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตรผาน การกระบวนการเรียนรูที่บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคกู ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณติ ศาสตร รวมทงั้ สอดคลอ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชมุ ชน และประเทศ รวมท้งั ระดบั ภมู ิภาคและ ระ ตบั โลก เพ่อื ใหประชาชนมีความรแู ละสามารถนาํ ความรูและทักษะไปประยุกตใ ชใ นการดําเนนิ ชวี ิต การพฒั นาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปนไปอยางรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Change) ไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ 3) ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอ่ืน ๆ เพอ่ื สง เสริมการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหมีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตอ งการของประชาชน เชน พิพธิ ภัณฑศ นู ยเรยี นรู แหลงโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หองสมุดรวมถึงภมู ิปญ ญาทองถน่ิ เปนตน 2. ดานหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล งานบริการ ทางวชิ าการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เพื่อสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และหลักสตู รทองถน่ิ ท่ีสอดคลองกบั สภาพบริบทของพน้ื ท่ีและความตองการของกลุมเปา หมายและชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออ่ืน ๆ ที่เอื้อตอการเรียนรูของ ผูเรียนกลุมเปา หมายทัว่ ไปและกลุมเปาหมายพเิ ศษ เพือ่ ใหผเู รยี นสามารถเรยี นรูไดทกุ ที ทกุ เวลา 2.3 พฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทนั สมัย หลากหลายชองทางการเรียนรู ดวยระบบหอ งเรียนและการควบคุมการสอบรปู แบบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณ เพื่อใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมี ประสิทธภิ าพ รวมท้ังมีการประชาสัมพนั ธใ หส าธารณชนไดร บั รแู ละสามารถขาถงึ ระบบการประเมินได แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

27 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam) มาใชอยางมปี ระสิทธภิ าพ 2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งใหมีการนําไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับบริบท อยางตอ เนื่อง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพภายในที่สอดคลองกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพ่ือพรอมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกโดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และ สามารถดาํ เนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอยางตอเน่ืองโดยใชการประเมนิ ภายในดว ยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไมไดเขารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ใหพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหไ ดคณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ าํ หนด 3. ดานเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและราการโทรทัศนเพื่อกาศึกษา เพี่อใหเชื่อมโยงและ ตอบสนองตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อกระจายโอกาส ทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตาง ๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองใหรูเทาทันส่ือ ละเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือกาส่ือสาร เชน รายกาพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติว เขมเติมเต็มความรู รายการทํากินก็ได ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพ่ือ การศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ นต็ 3.2 พฒั นาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผานระบบ เทคโนโลยี และชอ งทางออนไลนตาง ๆ เชน YouTube Facebook หรอื Application อ่ืน ๆ เพอ่ื สง เสรมิ ให ครู กศน. นําเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชส รา งกระบานการเรียนรูด ว ยตนเอง (Do it Yourself : DM) 3.3 พฒั นาสถานีวิทยศุ กึ ษาและสถานีโทรทัศนเพ่ือการศกึ ษา เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิตและ การอกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตโดยขยาย เครือขายรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ัวประเทศ และเพ่ิมชองทางใหสามารถรับชม รายการโทรทศั นไ ดทง้ั ระบบ ku - Band C- Band Digital tv และทางอนิ เทอรเ นต็ พรอ มทจี่ ะรองรับการพฒั นาเปน สถานีวทิ ยุโทรทัศนเพ่อื การศกึ ษา (Free Tv) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหไตหลายชองทางทั้งทาง อนิ เทอรเ นต็ และรูปแบบอ่นื ๆ อาทิ Application บนโทรศพั ทเ คล่ือนที่ และ Tablet รวมท้ังส่ือ Online ในรปู แบบ ตาง ๆ เพ่ือใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพ่ือเขาถึงโอกาสทางการศึกษาและกรเรียนรูไดสามความ ตอ งการ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

28 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลคนการใชส่ือเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาอยางตอเนื่อง เพ่ือ นําผลมาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกดอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตของ ประชาชนอยางแทจ ริง 4. ดานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอนั เก่ยี วเน่อื งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ 4.2 จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริหรือโครงกรอันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ เพ่ือนําไปใชในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พฒั นางานอยา งมีประสทิ ธิภาพ 4.3 สงเสริมการสรา งเครือขายการดาํ เนินงาน เพอ่ื สนบั สนนุ โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ ทีท่ าํ ใหเ กิดความเขม แข็งในการจดั การศึกษานอระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนยกาเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา \"แมฟาหลวง\" เพ่ือใหมีความพรอมในการจัด การศกึ ษานอกระบบและศึกษาตามอัธยาศยั ตามบาทบาทหนา ท่ีกาํ หนดไวอยางมีประสทิ ธิภาพ 4.5 จดั และสง เสริมการเรยี นรูลอดชีวติ ใหส อดคลองกับวถี ีชวี ติ ของประชาขนบนพน้ื ทส่ี งู ถน่ิ ทุรกนั ดาร พน้ื ท่ีชายขอบ 5. ดานการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นท่ีบริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจงั หวดั ชายเดนภาคใต 1) จัดและพฒั นาหลักสูตร และกิจกรรมสง เสรมิ การศึกษาและการเรยี นรทู ่ตี อบสนอง ปญ หาและความตองการของกลมุ เปา หมาย รวมท้ังอตั ลกั ษณแ ละความพหวุ ัฒนธรรมของพ้ืนท่ี 2) พัฒนาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานอยางเขมขน และ ตอ เน่อื ง เพือ่ ใหผ เู รยี นสามารถนําความรทู ี่ไดรับไปใชป ระโยชนไ ดจ รงิ 3) ใหห นว ยงานและสานศกึ ษาใหมีมาตรการดูแลความปลอดภยั แกบ ุคลากรและนักศึกษา กศน. ตลอดจนผูม าใชบ ริการอยางทว่ั ถงึ 5.2 พฒั นาการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความรว มมอื กบั หนว ยงานท่เี กี่ยวขอ ในการจัดทําแผนการศกึ ษาตาม ยุทธศาสตรแ ละบริบทของแตล ะจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทําหลักสตู รการศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี โดยเนน สาขาทีจ่ ําเปนความตองการ ของตลาดใหเ กดิ การพัฒนาอาชพี ไดตรงความตองของพ้ืนที่ 5.3 จดั การศึกษาเพอ่ื ความม่ันคง ของศนู ยศ กึ ษาและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝซ.) แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

29 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนยฝกและ สาธิตการประกบอาชีพดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตนแนบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง สาํ หรับประชาชนตามแนวชายแดน ดว ยวิธีการเรยี นรูท่ีหลากหลาย 2) มุงจดั และพฒั นากาศกึ ษาอาชีพโดยใชวธิ ีการหลากหลาย ใชรปู แบบเชงิ รกุ เพอ่ื การ เขาถึงกลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนําดาน อาชีพ ท่ีเนน เร่อื งเกษตรธรรมชาตทิ ีส่ อดคลอ งกบั บรบิ ทของชายแดน ใหแ กประชาซนตามแนวชายแดน 6. ดา นบุคลากร ระบบการบรหิ ารจดั การ และการมีสวนรว มของทกุ ภาคสวน 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ทั้งกอนและ ระหวางการดํารงตําแหนงเพ่ือใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรง กับสายงานความชํานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของ หนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมท้ังสงเสริมใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือเล่ือนตํา แหนงหรอื เล่ือนวิทยฐานะโดยเนน การประเมินวิทยฐานะเชงิ ประจักษ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จําเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถปฏิบัติการนิเทศไดอยา งมีศักยภาพ เพ่ือรวมยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยในถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตาํ บล/แขวงและการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทภารกิจอยา งมีประสิทธภิ าพ โดยเนนการเปนนักจดั การความรูแ ละ ผู อํานวยความสะดวกการเรียนรเู พ่ือใหผเู รยี นเกดิ การเรยี นรทู มี่ ีประสทิ ธิภาพอยางแทจริง 4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศกึ ษาใหส ามารถจดั รปู แบบการ เรยี นรูไดมีคณุ ภาพ โดยสงเสริมใหม วี ามรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู การวัด และประเมนิ ผล และการวิจัยเบื้องตน 5) พัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร ท่ีรบั ผดิ ชอบการบริการศกึ ษาและการเรียนรู ใหม ีความรู ความสามารถและมีความเปน มืออาชีพในการจัดบริการสง เสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตของปะชาชน 6) สง เสริมใหค ณะกรรมการ กศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีสว นรวม ในการบรหิ ารการดําเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยางมปี ระสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมคั ร กศน. ใหท ําหนาท่ีใหสนับสนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสมั พนั ธระหวางบคุ ลากร รวมทัง้ ภาคีเครือขา ยทง้ั ในและตางประเทศไนทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพไนการทํางาน รวมกันในรูปแบบที่หลากหลาย อยางตอเนื่อง อาทิ การแขงขันกีฬา การอบเชิงปฏิบัติการการพัฒนาประสิทธิภาพ โนการทาํ งาน แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

30 6.2 การพฒั นาโครงสรา งพืน้ ฐานและอตั รากําลัง 1) จดั ทาํ แผนการพัฒนาโครงสรา งพน้ื ฐานและดําเนินการบรบั ปรงุ สถานท่ี และวัสดุ อุปกรณ ใหม คี วามพรอ มในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู 2) สรรหา บรรจุ แตงตง้ั และบริหารอัตรากําลังทมี่ ีอยทู ั้งในสวนทเี่ ปน ขาราชการ พนักงาน ราชการและลกู จา ง ใหเ ปน ไปตามโครงสรางการบริหารและกรอบอตั รากาํ ลัง รวมทง้ั รองรับกับบทบาทภารกจิ ตามที่ กาํ หนดไวใ หเกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความรวมมอื จากภาคเี ครือขา ยทุกภาคสว นในการระดมทรัพยากรเพ่ือนํามาใช ในการปรับปรุงโครงสรางฟนฐานใหมีความพรอมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยและสง เสรมิ การเรียนรูส าํ หรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมูลใหม คี วามครบถนั ถูกตอ ง ทนั มัย และเชอ่ื มโยงกันทัว่ ประเทศ อยางเปนระบบเพื่อใหหนวยงานและถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเคร่ืองมือสําหรับในการบริหารการ วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยา งมีประสิทธภิ าพ 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกํากับ ควบคุม และเรงรดั การเบกิ จา ยงบประมาณใหเ ปนตามเปาหมายที่กาํ หนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดตามความตองการเพ่ือประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับ ผเู รียนและการบรหิ ารจดั การอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 4) สงเสรมิ ใหม กี ารจดั การความรูใ นหนว ยงานและสถานศกึ ษาทกุ ระดบั รวมทงั้ การศึกษา วิจัยเพ่ือสามารถนํามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชนและ ชุมชนพรอมทัง้ พัฒนาขีดความสามารถในการแขง ขนั ของหนวยงานและสถานศึกษา 5) สรางความรว มมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ทงั้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังใน ประเทศและตางประเทศ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิด ความรว มมอื ในการสง เสริม สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใหกับประชาชนอยา งมีคณุ ภาพ 6) สง เสริมการใชระบบสํานักงานอิเลก็ ทรอนกิ ส (E - office) ในการบริหารจดั การ เชน ระบบการลาระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชห อ งประชุม เปน ตน 6.4 การกํากับ นเิ ทศติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาํ เนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเชอื่ มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขา ยท้งั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาทเี่ ก่ยี วของทกุ ระดับ พัฒนาระบบกลไกการกาํ กบั ตดิ ตาม และรายงานผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินตามนโยบายสูการปฏิบัติไดอยางมี ประสิทธภิ าพ แผนปฏิบัติการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

31 3) สงเสรมิ ใชเ ทคโนโลยีสารสนทศและการสอ่ื สาร และสือ่ อ่ืน ๆ ทีเ่ หมาะสม เพ่ือการ กํากับ นิเทศตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติการราชการตามคาํ รับรองการปฏบิ ตั ิ ราชการประจําปของหนว ยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวดั ในคํารับรองการปฏิบตั ิราชการประจาํ ป ของสํานักงาน กศน. ใหด ําเนนิ ไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาที่กําหนด 5) ใหม ีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทัง้ หนว ยงานภายในและภายนอกองคก ร ต้งั แตส วนกลาง ภมู ิภาค กลุม จงั หวดั จงั หวัด อาํ เภอเขต และตาํ บล/แขวง เพ่ือความเปน เอกภาพในการใชขอมูล และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

32 ผลการวเิ คราะห SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.ตําบลกุฎโงง 1. การวเิ คราะหส ภาพแวดลอมภายใน 1.1 จุดแขง็ ของ กศน.ตําบล (Strengths-S) ดานบุคลากร 1. กศน.ตําบลกฎุ โงง มคี ณะกรรมการ กศน.ตําบล ภาคีเครือขา ย รว มจดั สง เสรมิ สนบั สนุนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.ตําบล 2. บคุ ลากรกศน.ตําบลกฎุ โงง ไดรับการพฒั นาศักยภาพอยางตอเน่ืองจากโครงการพฒั นา บุคลากร 3. มอี าสาสมคั ร กศน.ตาํ บลในการทาํ งานในพนื้ ที่ ดา นงบประมาณ 1. การบรหิ ารงบประมาณมีความคลอ งตัว ดานอาคารสถานท่ี สอ่ื วัสดุอุปกรณ 1. สภาพแวดลอ มรม ร่ืน สงบ เอ้ือตอบรรยายกาศการเรียนรู 2. สถานทตี่ ้ัง กศน.ตาํ บล มีเสนทางคมนาคมที่สะดวกและรวดเรว็ 3. เครือขายมีการสนับสนนุ คาสาธารณปู โภค วัสดุ ครภุ ัณฑ กบั กศน.ตาํ บล ดานโครงสรา งองคกร/การบรหิ ารจัดการ คานยิ มองคก ร 1. มีแผนการปฏบิ ัตงิ านอยางชดั เจน 2. กศน.ตําบลกฎุ โงงมีการจดั หลกั สูตรการเรยี นการสอนที่สอดคลองกบั บริบทความ ตอ งการของชุมชนโดยมีการจัดกิจกรรมการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การศกึ ษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีเนน ผูเ รียน ผรู ับบริการเปน สาํ คญั และตอบสนองตอความตองการของชุมชน 3. กศน.ตาํ บลกุฎโงง มี คณะกรรมการ กศน.ตําบลท่สี งเสริมสนบั สนนุ กศน.ตาํ บล 4. กศน.ตาํ บลกฎุ โงง ดาํ เนนิ การจัดต้งั คณะกรรมการองคกรนักศึกษา 1.2 จุดออนของ กศน.ตาํ บล (Weaknesses-W) ดา นบคุ ลากร 1. บุคลากรไมเ พียงพอตอ การจัดกจิ กรรมใหบ ริการประชาชน ดานงบประมาณ 1. การจดั สรรงบประมาณมาสตู ําบลลา ชา 2. งบประมาณที่ไดรบั ในการจัดกจิ กรรมคอนขา งนอย ดา นอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอปุ กรณ 1. กศน.ตําบลกฎุ โงง ยังขาดวัสดุอปุ กรณสื่อการจดั การเรยี นการสอน 2. วัสดอุ ุปกรณ เทคโนโลยี โสตทศั นูปกรณ กศน.ตําบลขาดแคลนไมเพยี งพอ ดา นโครงสรางองคกร/การบรหิ ารจดั การ คา นยิ มองคก ร แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

33 1. ความแตกตางของกลมุ เปาหมายทาํ ใหจ ดั การเรียนการสอนตอการเพ่ิมประสทิ ธิภาพไม ทัว่ ถงึ 2. ภารกจิ งานหลากหลายดาน ไมส ามารถเลยี่ งงานใดงานหนง่ึ ได สง ผลใหก ารปฏิบตั ิงานบางอยาง เกิดความลา ชา และไมไดค ุณภาพเทาท่ีควร 3. ตาํ บลกุฎโงง มีพืน้ ทีเ่ ปน ก่งึ สงั คมเมอื ง มีประชากรแฝงเยอะจึงอาจทาํ ใหมีมจิ ฉาชีพในรูปแบบ ตา งๆ ยาเสพตดิ โรคระบาดเขามาภายในพน้ื ท่ีไดง า ย 4. มีการจาํ กดั รปู แบบในการจัดกจิ กรรมจากสวนกลางมากเกินไป 2. การวเิ คราะหส ภาพแวดลอมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ดา นนโยบาย กฎหมายทเ่ี กีย่ วของ 1. องคกรปกครองสว นทองถ่ิน เครือขายใหการสนับสนนุ งบประมาณการดาํ เนนิ งาน กศน.ตาํ บล ดา นความปลอดภยั ในพื้นที่ 1. กศน.ตําบลมีอาสาสมัคร กศน. และยามรักษาการณ ดูและความปลอดภยั ดานสงั คม – วฒั นธรรม 1. ตาํ บลกุฎโงงมปี ระเพณีและการสืบสานวัฒนธรรมทองถ่ินทช่ี ัดเจน ดานเศรษฐกจิ 1. พน้ื ท่สี วนใหญในตาํ บลเปน เขตอุตสาหกรรม และการบริการ ดานเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดตอสื่อสาร 1. ตาํ บลกฎุ โงงมกี ารคมนาคมและการสื่อสารสะดวกเพราะอยตู ดิ กบั เขตเทศบาลเมือง พนสั นคิ ม 2. ระบบการตดิ ตอส่อื สารมีความสะดวก ดานสิง่ แวดลอ ม 1. ตาํ บลกฎุ โงง มีทรัพยากรทางธรรมชาติท่อี ุดมสมบรู ณ 2.2 อปุ สรรค/ความเสี่ยง (Threats - T) ดานนโยบาย กฎหมายท่เี กี่ยวของ 1. ตาํ บลกฎุ โงง มีระเบยี บขอบังคับและแนวทางปฏิบตั ิตา ง ๆ บางอยา งไมเอื้อตอการ ปฏบิ ตั งิ านทําใหการปฏิบตั งิ านลา ชา ดานความปลอดภยั ในพน้ื ท่ี 1. มีการระบาดของยาเสพติด โรคระบาด ดา นสังคม – วัฒนธรรม 1. มศี าสนาทีห่ ลากหลายและความเชื่อคา นยิ มท่ีหลากหลาย แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

34 2. ประชาชนบางสว นไมเ ห็นความสําคัญของการศึกษา ดานเศรษฐกจิ 1. ประชาชนมีฐานะเศรษฐกจิ ไมดี ตองประกอบอาชีพเลย้ี งปากทอง การสนับสนุนดา นการจัด การศกึ ษาจงึ ขาดการสนับสนุนใหเกิดผลดตี ามทค่ี าดไว 2. ขอจํากดั ในการประกอบอาชพี ทําใหไ มค อยมีเวลาเขารว มกิจกรรมของ กศน.ตําบล ดา นเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ตอส่ือสาร 1. ประชาชนบางสว นยงั ขาดความรูความเขา ใจในดา นเทคโนโลยกี ารติดตอสื่อสาร ดา นสง่ิ แวดลอ ม 1. เนอ่ื งจาก กศน.ตําบลกุฎโงง อยูตดิ ชมุ ชนเมืองสงิ่ แวดลอมจงึ ถูกบกุ รุกและทําลายมาก ขึ้น แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

35 นโยบายและจุดเนน ของ กศน.ตาํ บลกุฎโงง นโยบายเรงดวนเพือ่ รว มขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตรการพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด า นความม่ันคง 1.1 พฒั นาและเสริมสรา งความจงรกั ภกั ดีตอสถาบันหลักของชาติพรอมทง้ั นอมนาํ และเผยแพร ศาสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดาํ ริตาง ๆ 1.2 เสริมสรางความรคู วามเขาใจ และการมสี วนรวมอยา งถกู ตอ งกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ ในบรบิ ทของไทย มีความเปน พลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ 2. ยทุ ธศาสตรดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน 2.1 ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพของประชาชนใหรองรับ อุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ NewS-cuve) โดยเฉพาะในพ้ืนที่เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคตางๆของประเทศ สําหรับพ้ืนที่ปกติใหพัฒนาอาชีพที่นั้นการตอยอดศักยภาพและ ตามบรบิ ทของพน้ื ที่ 2.2 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาใหกับประชาชนใหจบ การศึกษาอยางนอ ยการศึกษาภาคบังคับสามารถนาํ คุณวฒุ ิที่ไดรบั ไปตอยอดในการประกอบอาชีพรองรบั การพัฒนา เขตพ้นื ทรี่ ะเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพ่ือตอยอดการผลิตและจําหนายสินคาและผลิตภัณฑ กศน. ออนไลน พรอมทั้งประสานความรวมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มชองทางการจําหนายสินคาและผลิตภัณฑให กวา งขวางยิง่ ขนึ้ 3. ยทุ ธศาสตรด านการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 3.1 พัฒนาครู กศน.ตําบลใหมคี วามรูและทกั ษะเร่ืองการใชป ระโยชนจากดจิ ิทัลและ ภาษาตา งประเทศท่จี ําเปน รวมทงั้ ความรูเกย่ี วกับอาชีพทรี่ องรับอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S-Curve และ New S - Curve) 3.2 พฒั นาหลักสตู รการจดั การศึกษาอาชพี ระยะส้ัน ใหม คี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บริบทของพืน้ ท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผูรับบรกิ าร 3.3 เสรมิ สรางความรวมมอื กับภาคเี ครือขาย ประสาน สง เสรมิ ความรว มมือภาคเี ครอื ขาย ทง้ั ภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสว นทองถ่ิน รวมทงั้ สง เสรมิ และสนับสนุนการมสี ว นรว มของชมุ ชน เพอ่ื สรางความเขาใจ และใหเกดิ ความรว มมือในการสง เสริม สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรยี นรูใหก บั ประชาชนอยา งมีคณุ ภาพ 4. ยุทธศาสตรดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 พัฒนาแหลง เรยี นรใู หมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทีเ่ อื้อตอ การเรยี นรู มีความพรอ มในการ ใหบ รกิ ารกจิ กรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

36 4.2 พฒั นา กศน.ตาํ บลใหเปน กศน.ตาํ บล 5 ดี พรีเม่ียม ที่ประกอบดวย ครดู ี สถานท่ดี ี (ตาม บรบิ ทของพืน้ ท่ี) กจิ กรรมดี เครือขา ยดี และมนี วตั กรรมการเรียนรูท่ีตมี ปี ระโยชน 5. ยทุ ธศาสตรด านการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน มิตรตอ สิง่ แวดลอม 5.1 สงเสรมิ ใหมีการใหความรูกบั ประชาชนในการรบั มือและปรับตัวเพ่ือลดความเสยี หายจากภัย ธรรมชาตแิ ละผลกระทบทเ่ี กย่ี วของกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรา งสังคมสีเขยี วสงเสรมิ ความรใู หก ับประชาชน เก่ียวกบั การคัดแยกตัง้ แตต นทางการกาํ จัดขยะ และการนํากลบั มาใชซ ํา้ 6. ยุทธศาสตรด า นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวิธีการปฏบิ ัติราชการใหท ันสมัย มีความโปรง ใสปลอดการทจุ ริตและ ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจดั การบนขอ มูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ มุงผลสัมฤทธ์ิมีความโปรงใส ภารกจิ ตอเนื่อง 1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐานโดย ดําเนนิ การใหผ ูเรยี นไดร บั การสนบั สนุนคา จัดซ้ือหนงั สือเรียนคา จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนและคา จดั การเรียน การสอนอยา งทวั่ ถึงและเพียงพอ เพ่ือเพิม่ โอกาสในการเขา ถงึ บริการทางการศกึ ษาที่มคี ุณภาพโดยไมเสยี คา ใชจา ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระตับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูตอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบช้ันเรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทั้งตานหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรยี น และระบบการใหบ ริการนกั ศกึ ษาในรูปแบบอืน่ ๆ 4) จัดใหมีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณท่ีมีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความ ตองการของกลมุ เปาหมายไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 5) จดั ใหมกี ิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รียนท่ีมีคณุ ภาพท่ผี ูเรยี นตองเรียนรูและเขา รวมปฏิบัติ กิจกรรมเพ่ือเปนสวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการปองกัน และแกไ ขปญหายาเสพติด การแขง ขันกีฬา การบําเพญ็ สาธารณประโยชนอยางตอเน่ือง การสงเสรมิ การปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรม จิต อาสาและการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งปดโอกาสใหผูเรียนนํากิจกรรมการบําเพ็ญประโยชน อื่น ๆ นอก หลักสูตร มาใชเพม่ิ ชั่วโมงกจิ กรรมใหผ เู รียนจบตามหลกั สตู รได แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

37 1.3 การศึกษาตอเนือ่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยา งย่ังยนื โดยใหค วามสาํ คญั กบั การจัดการศึกษา อาชีพเพ่ือการมีงานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการรวมถึงการเนน อาชีพชางพ้ืนฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผเู รียน ความตองการและศักยภาพของแต ละพื้นท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรา งความเขมแขง็ ใหกับศูนยฝ กอาชีพชุมชน โดยจดั ใหม ีหนึ่งอาซีพเดน รวมทง้ั ใหม ีการกาํ กับ ติดตาม และ รายงานผลการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทาํ อยา งเปน ระบบและตอเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุท่ีสอดคลองกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่ึงพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจดั การชวี ติ ของตนเองใหอยูใ น สังคมไดอยางมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และ เตรียมพรอมสําหรับการปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาสําคัญตาง ๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ คานิยมที่พึงประสงค ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการศึกษารูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตัง้ ชมรมชุมนมุ การสงเสริมความสามารถพเิ ศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรียนรูแบบบูรณาการในรูปแบบของกาฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู การจัดกิจกรรม จติ อาสา การสรางชุมชนนกั ปฏบิ ตั ิ และรูปแบบอื่น ๆ ทเี่ หมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบรบิ ทของชุมชนแตละพ้ืนที่ เคารพความคิดของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมท้ังสังคมพหุ วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันสรางกระบวนการจิตสาธารณะการ สรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอหนาที่ความเปนพลเมืองดีการสงเสริม คุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชนในชุมชนการบริหารจัดการน้ําการรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรักษ พลงั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม ชวยเหลอื ซ่งึ กันและกันในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอยางย่ังยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรู ตลอดชีวิตในรูปแบบตาง ๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการ บริหารจดั การความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสคู วามสมดลุ และยั่งยืน 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาแหลงการเรียนรูท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการอานและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรูใหเกิดข้ึนในสังคมไทย ใหเกิดข้ึนอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชนทุก แหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสรมิ การอาน การสรางเครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการเคลื่อนท่ีพรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับ ประชาชนในพื้นท่ีตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้งเสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่อ อุปกรณเพื่อ สนับสนุนการอา นและการจัดกจิ กรรมเพ่ือสงเสริมการอานอยางหลากหลาย แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

38 1.5 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มแี หลง เรียนรูอน่ื ๆ เพื่อสงเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ใหมีรปู แบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พิพธิ ภัณฑ ศูนยเ รียนรู แหลงโบราณคดี เปนตน 2. ดานหลกั สตู ร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล งานบริการทางวชิ าการ และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เพื่อสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่หี ลากหลาย ทันสมัย รวมทงั้ หลกั สตู รทอ งถน่ิ ที่สอดคลองกับสภาพ บรบิ ทของพืน้ ท่ี และความตองการของกลมุ เปาหมายและชมุ ชน 2.2 สง เสริมการพัฒนาสอ่ื แบบเรยี น สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสและสอื่ อืน่ ๆ ทเี่ อ้ือตอ การเรียนรขู องผเู รียน กลมุ เปาหมายทั่วไปและกลมุ เปาหมายพเิ ศษ 3. ดา นเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา 3.1 เผยแพรการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยผานระบบเทคโนโลยี และ ชองทางออนไลนตาง ๆ เชน YouTube Facebook หรือ Applications อ่ืน ๆ เพื่อสงเสริมใหครู กศน. นํา เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชส รางกระบานการเรยี นรดู ว ยตนเอง (Do it Yourself : DM) 4. ดานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ หรอื โครงการอันเก่ยี วเนื่องจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อันเกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ 4.2 สงเสริมการสรางเครือขายการดําเนินงาน เพ่ือสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ทีท่ ําใหเ กิดความเขม แขง็ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 5. ดา นบคุ ลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี ว นรวมของทุกภาคสวน 5.1 พัฒนาหัวหนา กศน.ตาํ บลใหมสี มรรถนะขนึ้ เพ่อื การบรหิ ารจัดการ กศน. ตําบลและการ ปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอํานวยความสะดวกการ เรียนรเู พ่ือใหผูเ รยี นเกิดการเรยี นรทู ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพอยางแทจ รงิ 5.2 พฒั นาครู กศน. และบุคลากรทเี่ กีย่ วของกับการจดั การศึกษาใหส ามารถจดั รปู แบบการเรยี นรู ไดม ีคณุ ภาพ โดยสงเสริมใหม ีวามรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผล และการวิจยั เบ้อื งตน 5.3 สงเสริมใหค ณะกรรมการสถานศกึ ษา มีสวนรวมในการบริหารการดําเนินงานตามบทบาท ภารกิจของ กศน. อยางมปี ระสิทธภิ าพ 5.4 พัฒนาอาสาสมคั ร กศน. ใหท าํ หนาทีใ่ หส นบั สนุนการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5.6 การกาํ กับ นิเทศติดตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) กาํ กบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนนิ งานการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเช่ือมโยงกบั หนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือขาย แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

39 2) ใชเทคโนโลยีสารสนทศและการสื่อสาร และสอื่ อ่นื ๆ ทีเ่ หมาะสม เพ่อื การกํากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบัติการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

40 สวนที่ 3 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประจําป 2564 ตารางแผนปฏิบตั กิ ารประจําป 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง ลําดับท่ี โครงการ/กิจกรรม เปา หมาย งบประมาณ (บาท) คน/แหง - บาท 1 การจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 7,250 บาท 15,950 บาท 1.1 หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 - บาท - ประถมศึกษา - คน - บาท - มัธยมศึกษาตอนตน 25 คน - บาท - มธั ยมศึกษาตอนปลาย 55 คน 4,025 บาท 3,600 บาท 1.2 สงเสริมการรูหนงั สือ - คน 8,800 บาท 1.3 โครงการประเมนิ เทียบระดับการศึกษานอกระบบ - คน 22,500 บาท 14,000 บาท ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 10,800บาท 1.4 กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รยี น - คน 2 ผลผลิตที่ 4 งานการศกึ ษานอกระบบ - การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต 35 คน - การศกึ ษาเพ่ือเรียนรหู ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 9 คน - การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน 22 คน งบรายจายอน่ื ศูนยฝ กอาชพี ชุมชน - ชนั้ เรยี นวชิ าชพี (31 ชม.ขนึ้ ไป) 25 คน - กลุมสนใจ (ไมเกนิ 30 ชม.) 20 คน - 1 อําเภอ 1 อาชพี 12 คน 3 การจดั การศึกษาตามอัธยาศัย - กจิ กรรมสงเสริมการอาน/หองสมดุ ประชาชนอําเภอ - คน - บาท - บาท พนัสนิคม - บาท - บาท - กจิ กรรมสงเสรมิ การอา น/หองสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราช - คน กุมารีอําเภอพนสั นิคม - โครงการจดั สรางแหลง เรยี นรูชุมชนในตําบล/จัดซือ้ - แหง หนังสือพมิ พ - โครงการจัดสรา งแหลงเรียนรูช มุ ชนในตําบล/กจิ กรรม - คน การเรยี นรู (กศน.ตาํ บลสรางใหม) แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

ลาํ ดับที่ โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย 41 คน/แหง การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย งบประมาณ - โครงการจัดสรา งแหลง เรยี นรูช มุ ชนในตําบล/จัดซื้อ - แหง (บาท) หนงั สอื /ส่ือ สาํ หรับ กศน.ตําบล (กศน.ตาํ บลสรา งใหม) 720 คน - บาท - บา นหนังสอื ชุมชน - คน 60 คน - บาท - หนว ยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) - คน - บาท - แหง - บาท - อาสาสมัครสงเสรมิ การอา น - บาท - คน - บาท - หอ งสมุดเคลื่อนท่สี ําหรบั ชาวตลาด - คน - บาท - ศูนยก ารเรียนชุมชน 25 คน 4 กิจกรรมตามนโยบายเรงดวน 1 แหง - บาท 6,600 บาท - โครงการจดั หลักสตู รการดแู ลผูส ูงอายุ - กระทรวงศึกษาธกิ าร (หลักสูตร 70 ชั่วโมง) - บาท 66,300 บาท - โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สารดานอาชีพ - โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทลั - กศน. wow รวมท้ังส้ิน แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตําบลกุฎโงง

รายละเอียดโครงการ วัตถปุ ระสงค กจิ กรรมหลกั ลาํ ดับท่ี ชือ่ งาน/โครงการ เชงิ ปริมาณ 1 โครงการยกระดับ 1. เพือ่ สรา งโอกาสและ 1. จดั การศึกษา ประชาชนตาํ บล การศกึ ษาประชาชน กระจายโอกาสทาง นอกระบบขัน้ กฎุ โงง ตาํ บลกฎุ โงง การศึกษา ในการ พน้ื ฐานท่มี คี ุณภาพ จาํ นวน 80 คน ยกระดับการศกึ ษาขน้ั ระดบั ประถมศึกษา พืน้ ฐานของประชาชนให ระดับมัธยมศกึ ษา สูงข้ึน ตอนตน ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย 2. การจดั กจิ กรรม พัฒนาคณุ ภาพ ผูเรยี น 3. คาหนงั สอื เรียน

42 ตวั ชี้วดั ความสําเร็จ เปา หมาย งบประมาณ หมาย 23,200 บาท เหตุ ณ เชิงคณุ ภาพ ประเภท จาํ นวน กลุมเปา หมาย กลุม เปา หมาย ล 1. รอ ยละ 80 ของ กลมุ เปา หมายทไี่ ดรับการศึกษา ผูดอยโอกาส 60 คน ขั้นพ้ืนฐานนอกระบบอยาง ครอบคลมุ และทวั่ ถึง ผูพลาดโอกาส 20 คน 2. รอ ยละ 80 ของผเู รียนมี 80 คน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตาม รวม จดุ มุงหมาย และมคี ณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปง บประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

ลาํ ดับท่ี ช่ืองาน/โครงการ วัตถุประสงค กิจกรรมหลกั เชิงปรมิ า 2 โครงการจดั 1. เพื่อให 1. สํารวจสภาพปญหาและ ประชาชนตํา การศกึ ษาเพ่อื ผูรบั บริการนาํ ความตองการของ กุฎโงง พัฒนาทักษะชวี ติ ความรูทไ่ี ดร บั ไปใช กลุมเปาหมาย จํานวน 35 ค ประโยชนใน 2. วางแผนการดาํ เนนิ งาน ชีวิตประจําวัน 3. จดั การศึกษาเพื่อพฒั นา สามารถจดั การชวี ติ ทกั ษะชวี ติ ใหกบั ทกุ ของตนเองใหอยใู น กลมุ เปาหมาย และมงุ เนนให สังคมไดอ ยางมี ทุกกลมุ เปา หมายมที กั ษะการ ความสขุ ดํารงชวี ิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพา ตนเองได มีความรู ความสามารถในการบริหาร จดั การชวี ิตของตนเองใหอ ยู ในสงั คมไดอยา งมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ ตา งๆ ที่เกิดข้นึ ใน ชีวิตประจําวันไดอ ยา งมี ประสทิ ธภิ าพ 4. ประเมนิ ผล/รายงานผล/ ตดิ ตามผล

43 ตัวช้ีวดั ความสําเรจ็ เปาหมาย งบประมาณ หมายเหตุ 4,025 บาท าณ เชงิ คุณภาพ ประเภท จํานวน กลุมเปา หมาย กลมุ เปาหมาย าบล 1. รอ ยละ 80 ของผรู ับบริการ ผดู อ ยโอกาส 15 คน นําความรูทีไ่ ดร ับไปใชพ ฒั นา ผพู ลาดโอกาส 25 คน คน คณุ ภาพชวี ติ ประจําวนั ของ รวม 35 คน ตนเอง ใหอยใู นสงั คมไดอยาง มคี วามสขุ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง

ลาํ ดับท่ี ชอ่ื งาน/โครงการ วัตถปุ ระสงค กิจกรรมหลกั เชิงปรมิ า 3 โครงการ 1. เพือ่ สรา ง 1. สํารวจสภาพปญหาและ ประชาชนตาํ การศึกษาเพอ่ื จติ สํานึกและ ความตอ งการ กุฎโงง เรียนรหู ลัก สงเสรมิ กระบวนการ 2. วางแผนการดําเนนิ งาน จํานวน 9 คน ปรชั ญาเศรษฐกจิ เรยี นรูกจิ กรรมตาม 3. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู พอเพยี ง หลกั ปรชั ญาของ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี งผา นกระบวนการ 2. เพอื่ นาํ ความรไู ป เรียนรตู ลอดชวี ติ ในรูปแบบ ใชในชวี ิตประจาํ วัน ตา งๆ ใหกับประชาชน เพ่ือ เสรมิ สรางภมู ิคมุ กนั สามารถ ยนื หยดั อยไู ดอ ยา งม่ันคง และ มีการบรหิ ารจดั การ ความเสย่ี งอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนา ประเทศสูความสมดลุ และ ย่งั ยนื 4. ประเมินผล/รายงานผล/ ตดิ ตามผล

44 ตวั ชี้วดั ความสําเรจ็ เปา หมาย งบประมาณ หมายเหตุ 3,600 บาท าณ เชิงคุณภาพ ประเภท จํานวน กลุม เปา หมาย กลมุ เปาหมาย าบล 1. รอ ยละ 80 ของผรู บั บริการ ผูด อยโอกาส 9 คน มคี วามรู ความเขา ใจ การ รวม 9 คน น เรียนรหู ลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. รอยละ 80 ของผรู บั บริการ สามารถนําความรนู ําความรู ไปใชใ นชวี ิตประจําวันได แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2564 กศน.ตาํ บลกุฎโงง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook