Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกพืชผักพืชไร่

การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกพืชผักพืชไร่

Published by khasikarn364599, 2021-11-23 07:49:17

Description: การปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อปลูกพืชผักพืชไร่

Search

Read the Text Version

ค�ำนำ� คมู่ อื การปรบั ปรงุ ดนิ เปรีย้ วจดั เพอ่ื ปลกู พืชผักพืชไร่ ฉบับน้ี จัดท�ำขน้ึ เพือ่ เป็นแนวทางในการปลูกพชื ผักพืชไร่ ในพนื้ ทีด่ นิ เปร้ยี วจดั ซ่งึ ประกอบดว้ ย ข้อมูลการจัดการดินเปร้ียวจัดให้เหมาะสมต่อการปลูกพืชผักพืชไร่ ปัญหา และข้อจ�ำกัดในการใช้ประโยชน์ของดินเปรี้ยวจัด การปลูก การดูแลรักษา การเกบ็ เก่ียว รวมถงึ การจัดการควบคมุ โรคและแมลงศตั รูในพืชผกั พืชไร่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า “คู่มือการ ปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพ่ือปลูกพืชผักพืชไร่” ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับ เกษตรกร นักเรยี น นกั ศกึ ษา และผู้ที่สนใจทั่วไป สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการ เพาะปลกู พืชผักพชื ไร่ในดนิ เปรย้ี วจดั ได้อย่างถกู ต้องตามหลกั วิชาการตอ่ ไป ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองฯ กรกฎาคม 2563 คูม่ อื การปรับปรงุ ดนิ เปรย้ี วจดั เพือ่ ปลูกพชื ผักพชื ไร่ 1

สารบัญ เร่ือง หนา้ 1. บทน�ำ 1 2. ดินเปร้ียวจดั 2 3. พชื ผกั พชื ไร ่ 4 4. การจัดการดินเปรย้ี วจดั เพอ่ื ปลกู พืชผักพืชไร่ 8 5. โรคและแมลงศตั รูพืช 17 6. เอกสารอา้ งอิง 21 2 คู่มือการปรบั ปรงุ ดนิ เปร้ียวจัดเพือ่ ปลกู พชื ผกั พชื ไร่

1. บทน�ำ ดินเปร้ียวจัด (acid sulphate soil) เป็นดินที่มีปัญหาทางด้าน การเกษตร มสี มบตั ทิ างกายภาพและเคมที ไ่ี มเ่ หมาะสมสำ� หรบั การเพาะปลกู พชื โดยมีเน้ือดินเป็นดินเหนียวถึงดินเหนียวจัด มีโครงสร้างดินแน่นทึบท�ำให้ดิน มกี ารระบายน�้ำเลว มนี ำ้� ทว่ มขงั เม่อื ดินแหง้ จะแขง็ และแตกระแหง เม่อื น�ำมา ใชป้ ระโยชนจ์ ะพบปญั หาเรอื่ งดนิ มสี ภาพความเปน็ กรดจดั มกี ารละลายออกมา ของธาตอุ ะลมู ินัม เหล็ก และแมงกานสี ท�ำใหเ้ ปน็ พิษมีผลตอ่ การเจริญของพืช ทปี่ ลูก และธาตอุ าหารหลักในดินมีปริมาณต�่ำอยใู่ นรูปทีพ่ ชื ไม่สามารถนำ� มาใช้ ประโยชนไ์ ด้ พืชผกั พชื ไร่เปน็ พืชเศรษฐกจิ ที่ส�ำคัญของประเทศไทยซึ่งสามารถ จำ� แนกตามอายุพืช จำ� แนกตามอุณหภูมเิ จรญิ เตบิ โต จ�ำแนกตามส่วนท่ใี ช้บริโภค และจ�ำแนกตามการใช้ประโยชน์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ ได้ด�ำเนินการ ศึกษาทดลองการปรับปรุงดินเปร้ียวจัดเพ่ือปลูกพืชผักพืชไร่ ภายในพ้ืนที่ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ พบว่า พืชผักพืชไร่สามารถเจริญเติบโต และ ให้ผลผลิตได้ดีในพ้ืนที่ดินเปร้ียวจัดที่ผ่านการปรับปรุงบ�ำรุงดินแล้วควบคู่กับ การปลูก การดูแลรักษาท่ีเหมาะสม และได้น�ำผลส�ำเร็จไปขยายผลส่งเสริม แกเ่ กษตรกรในพืน้ ท่ี ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองฯ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การปรบั ปรงุ ดนิ เปรย้ี วจดั เพอ่ื ปลกู พชื ผกั พชื ไร่ โดยมรี ายละเอยี ดของวธิ กี ารจดั การดนิ เปรย้ี วจดั ใหเ้ หมาะสม ตอ่ การปลกู พชื ผกั พชื ไร่ ปญั หาและขอ้ จำ� กดั ในการใชป้ ระโยชนข์ องดนิ เปรย้ี วจดั การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเก่ียว รวมถึงการจัดการควบคุมโรคและแมลง ศัตรูในพืชผักพืชไร่ เพ่ือให้ผู้สนใจได้น�ำมาเป็นข้อมูลและปรับใช้ในพ้ืนท ี่ ของตนเองได้ คู่มือการปรับปรุงดินเปรีย้ วจัดเพ่ือปลูกพืชผักพชื ไร่ 13

2. ดนิ เปร้ยี วจดั ดินเปร้ียวจัด (acid sulphate soil) เป็นดินที่มีปัญหาทางด้านการเกษตร ที่มี คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีท่ีไม่เหมาะสม ส�ำหรับการเพาะปลูกพืช โดยมีเน้ือดินเป็น ดนิ เหนยี วถงึ ดนิ เหนยี วจดั มโี ครงสรา้ งดนิ แนน่ ทบึ ทำ� ใหด้ นิ มกี ารระบายนำ้� เลว มนี ำ้� ทว่ มขงั เมอ่ื ดนิ แหง้ ดนิ จะแขง็ และแตกระแหง เมอ่ื นำ� มาใชป้ ระโยชน์ จะพบปัญหาเร่ืองดินมีสภาพความเป็นกรดจัด มกี ารละลายออกมาของธาตอุ ะลมู นิ มั เหลก็ และ แมงกานสี ทำ� ใหเ้ ปน็ พษิ มผี ลตอ่ การเจรญิ ของพชื ท่ีปลูก และมีธาตุอาหารหลักในดินปริมาณต่�ำ อยู่ในรูปท่พี ชื ไมส่ ามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 2.1 ความหมายของดนิ เปรย้ี วจดั เปน็ ดนิ ทม่ี คี า่ ความเปน็ กรด-ดา่ งตำ�่ (pH ตำ�่ กวา่ 4.5) มสี ภาพ พน้ื ทเ่ี ปน็ ทรี่ าบลมุ่ มนี ำ้� ทว่ มขงั ในฤดฝู น ปฏกิ ริ ยิ า ดนิ เปน็ กรดจดั และมคี วามอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ ตำ�่ ท�ำให้พืชท่ีปลูกไม่สามารถเจริญเติบโต และ ใหผ้ ลผลติ ได้ ดนิ เปรย้ี วจดั ในประเทศไทยมพี น้ื ที่ ประมาณ 5.26 ลา้ นไร่ (กรมพัฒนาทดี่ นิ , 2558) พบในบริเวณท่ีราบลุ่มภาคกลางตอนใต ้ ภาคตะวันออก และภาคใต้ 42 คู่มือการปรบั ปรุงดนิ เปรย้ี วจดั เพ่ือปลูกพชื ผกั พืชไร่

2.2 ลักษณะท่ัวไปของดินเปร้ียวจัด ดินช้ันบนเป็นดินเหนียวถึงเหนียวจัด มีสีเทาหรือ เทาเข้มถึงด�ำ ดินช้ันล่างมีสีเทาอ่อนและมีจุดประ สีเหลืองฟางข้าวของสารประกอบจาโรไซต์ พบได้ ในพน้ื ทร่ี าบลมุ่ หรอื พนื้ ทล่ี มุ่ นำ้� ทะเลเคยทว่ มถงึ มากอ่ น สภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปมีพืชจ�ำพวกเสม็ด จูดหน ู กกสามเหลยี่ มขน้ึ ปกคลมุ อยู่ นำ�้ ในพนื้ ทดี่ นิ เปรย้ี วจดั มลี กั ษณะใสและเปน็ กรดจดั มาก มกั พบคราบสนมิ เหล็กในดนิ และทผี่ วิ น้�ำ 2.3 ปัญหาและขอ้ จำ� กัดการใชป้ ระโยชน์ดนิ เปรยี้ วจดั ดนิ เปรี้ยวจดั เปน็ ดนิ ที่ไมเ่ หมาะสมต่อการเพาะปลูก ปัญหาทพี่ บมีดังนี้ 1) ดินมีสภาพเป็นกรดจัด มคี า่ ความ เปน็ กรด-ด่าง (pH) ต�ำ่ กว่า 4.5 2) มกี ารละลายออกมาของธาตุ บางชนดิ เช่นอะลมู นิ ัม เหล็ก และแมงกานีส ท�ำให้ เปน็ พษิ และมผี ลตอ่ การเจริญของพชื ท่ปี ลกู 3) ธาตุอาหารหลักในดนิ มปี ริมาณต�่ำ ได้แก่ ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสโดยฟอสฟอรัส ถูกตรึงให้อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถน�ำมาใช ้ ประโยชน์ได้ 4) เน้ือดินเปน็ ดนิ เหนียวถงึ ดนิ เหนียวจดั มีโครงสร้างดินแน่นทึบ ทำ� ให้ดินมกี ารระบายนำ�้ เลว น�้ำท่วมขัง เมือ่ ดนิ แห้งจะแข็งและแตกระแหง คูม่ อื การปรับปรงุ ดนิ เปรย้ี วจดั เพื่อปลูกพชื ผักพืชไร่ 35

3. พืชผักพืชไร่ พชื ผกั พชื ไร่จัดเป็นพืชเศรษฐกิจท่สี ำ� คญั ของประเทศไทยสามารถ เพาะปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศในสภาพแวดล้อมด้านดิน แสง และอุณหภูมิ ท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงพืชผักพืชไร่สามารถจ�ำแนกได้หลายประเภท เช่น จ�ำแนก ตามอายพุ ืช จำ� แนกตามอณุ หภมู ิเจริญเติบโต จ�ำแนกตามส่วนท่ใี ช้บริโภค และ จำ� แนกตามการใช้ประโยชน์ เป็นตน้ 3.1 พชื ผกั พชื ผักเป็นพชื ทม่ี ีระบบรากตืน้ มอี ายุค่อนข้างส้นั ระยะเวลาการเก็บเกี่ยวเร็ว สามารถปลูกได้หลายรอบ ในพื้นท่ีเดิม ให้ผลตอบแทนต่อหน่วยพื้นท่ีสูง เป็นพืชท่ีม ี ความส�ำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทยเน่ืองจากตลาด ท้ังในและต่างประเทศ มีความต้องการสูง ท�ำให้แต่ละปี ประเทศไทยสามารถส่งผักเป็นสินค้าออกสร้างรายได้ เข้าประเทศปีละหลายพันล้านบาท 1) ประเภทของพชื ผัก พืชผักสามารถจำ� แนกได้หลายประเภทดงั น้ี (1) การจำ� แนกตามอายพุ ชื คือ - ผกั ฤดูเดยี ว ได้แก่ แตงตา่ งๆ ผกั กาดหอม ถ่ัวเหลือง ข้าวโพดหวาน พริก มะเขือ เป็นพืชท่ีมีชีวิต ไดไ้ มเ่ กนิ 1 ปี 64 คมู่ อื การปรบั ปรุงดินเปร้ียวจดั เพอ่ื ปลกู พชื ผักพืชไร่

- ผักสองฤดู เป็นพืชที่ตอบสนองต่ออุณหภูมิที่ต่�ำ คือ ไมส่ ามารถออกดอกและพฒั นาผลไดเ้ มอื่ อณุ หภมู ลิ ดลงตำ่� เมอื่ อณุ หภมู สิ งู ขนึ้ กส็ ามารถ ออกดอก และเกดิ ผลผลิตได้ ไดแ้ ก่ กะหลำ�่ ดอก บรอคโคลี หอมหัวใหญ่ กะหล่ำ� ปม เป็นตน้ - ผักหลายฤดู เปน็ พชื ทีม่ อี ายุมากกว่า 1 ปี ไดแ้ ก่ หน่อไมฝ้ รง่ั มนั เทศ มนั ฝร่ัง เปน็ ตน้ (2) การจำ� แนกตามส่วนท่ใี ชบ รโิ ภค คือ - ผักกนิ ใบ ได้แก่ คะนา้ กวางตุ้ง ผกั กาด ผกั ชี - ผกั กนิ ราก ไดแ้ ก่ ผกั กาดหัว แครอท มนั เทศ - ผกั กินล�ำตน้ ไดแ้ ก่ หน่อไม้ หนอ่ ไม้ฝรงั่ เผอื ก - ผกั กินดอกหรอื ช่อดอก ไดแ้ ก่ กะหล�ำ่ ดอก บรอคโคลี - ผักกนิ ผล ได้แก่ มะเขือ แตงกวา มะระ ฟักเขียว - ผักกินฝักหรอื เมลด็ ไดแ้ ก่ ถั่วลนั เตา ถ่ัวฝกั ยาว ขา้ วโพด (3) การจ�ำแนกตามอุณหภูมิเจริญเติบโต และการ ทนทานตอ อากาศหนาวเย็น คือ - ผักทีท่ นหนาว สามารถทนต่ออุณหภูมิต่ำ� จนถงึ จุด ซึ่งก่อให้เกิดผนึกน�้ำแข็ง ได้แก่ กะหล�่ำปม กะหล่�ำปลี ปวยเล้ง ถั่วลันเตา หนอ่ ไมฝ้ รั่ง เปน็ ตน้ - ผกั ทีท่ นอากาศหนาวเย็นไดบ้ ้าง จะเจรญิ เติบโตได้ดี ในชว่ งอุณหภมู ิประมาณ 15 - 18 องศาเซลเซยี ส ได้แก่ แครอท บีทรทู กะหลำ่� ดอก มันฝร่ัง เปน็ ต้น - ผักไม่ทนตอ่ อากาศหนาวเยน็ ผกั กลุ่มนี้ไมส่ ามารถทน ต่ออากาศหนาวเย็น จะเจริญเตบิ โตได้ดใี นชว่ งอณุ หภมู ิ 25 - 30 องศาเซลเซยี ส ไดแ้ ก่ ขา้ วโพดหวาน มะเขือเทศ - ผกั ท่ีทนอากาศหนาวเย็นไม่ไดเ้ ลย เป็นผกั ทีป่ ลูกในเขต รอ้ นท่ัวๆ ไป ไดแ้ ก่ แตงกวา ฟักทอง มะเขอื กระเจ๊ยี บเขียว เป็นตน้ คู่มือการปรับปรงุ ดินเปร้ียวจดั เพื่อปลกู พืชผกั พชื ไร่ 57

2) สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมในการปลูกพชื ผกั การปลกู พืชผกั นอกจากการจดั การพน้ื ทแ่ี ละการปรบั ปรุง บ�ำรุงดินแล้วสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ดิน แสง อุณหภูมิ ก็มีผลต่อการ เจรญิ เติบโตและผลผลติ พืชผัก ดงั น้ี (1) ดนิ พืชผกั ส่วนใหญม่ ีระบบรากตน้ื เจรญิ เตบิ โตได้ ในดินเกือบทุกชนิดต้ังแต่ดินทราย ดินร่วนจนถึงดินเหนียว แต่ดินที่เหมาะสม กับการปลูกพืชผัก ควรเป็นดินร่วนที่มีการระบายน�้ำและการถ่ายเทอากาศด ี มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างสูงมีความเป็นกรดเล็กน้อยจนถึงเป็นกลาง (pH 5.5 - 6.5) นอกจากนพ้ี ืน้ ท่ีทีใ่ ชป้ ลูกพชื ผักไม่ควรเป็นที่ลมุ่ ทอี่ าจมีน�ำ้ ทว่ มขงั ได้ง่าย เพราะจะท�ำให้ระบบการระบายน้�ำและการถ่ายเทอากาศในดินเสียไป (กรมวิชาการเกษตร, 2548) (2) แสง เปน็ ปัจจัยส�ำคญั ที่มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โต ของ พืชผัก เป็นแหล่งพลังงานในการสังเคราะห์อาหารจากแร่ธาตุและน้�ำ ทด่ี ดู ขนึ้ มาจากดิน พืชควรได้รบั แสงแดดตลอดวนั (3) อุณหภมู ิ มีความสำ� คญั ตอ่ การงอกของเมลด็ การสังเคราะหแ์ สง การหายใจ การออกดอก ซ่งึ พชื ผักต่างชนิดกันจะมอี ณุ หภูมิที่เหมาะสม ตอ่ การงอก ของเมล็ดและการเจริญเติบโตที่ไม่เท่ากัน แตงกวา มะเขือ มะเขือเทศ พริก เจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิสูง ส่วนพืชผักพวกผักกาดและกะหล�่ำปลี หอม กระเทียม ถัว่ ลันเตา เจริญได้ดใี นสภาพอุณหภมู ติ �่ำ 3) พ้ืนท่ปี ลูกพชื ผักในประเทศ ประเทศไทยมกี ารปลูกผักกระจายกันอย่ทู ัว่ ทุกภาคของประเทศ แต่บริเวณที่มีการปลูกผักเป็นปริมาณมากคือภาคกลางและภาคเหนือ ส�ำหรับ ภาคใต้ มพี ้ืนทปี่ ลูกพชื ผกั 127,280 ไร่ (สำ� นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560 ) โดยจงั หวัดนราธิวาส มีพนื้ ที่ปลูกพืชผัก ทงั้ จังหวดั 12,732 ไร่ พชื ผกั ทีเ่ กษตรกร นยิ มปลกู มากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ แตงกวา ถวั่ ฝกั ยาว กระเจย๊ี บเขยี ว พรกิ ขห้ี นู พรกิ หยวก (ส�ำนักงานเกษตรจังหวดั นราธิวาส, 2560) 68 คมู่ อื การปรบั ปรุงดินเปรี้ยวจัดเพอื่ ปลูกพืชผกั พืชไร่

3.2 พืชไร่ พืชไร่ เปน็ พชื ต้องการน�้ำน้อย ทนความแห้งแล้ง สูงไม่ต้องการความพิถีพิถันในการปลูก และการดูแลรักษา มอี ายกุ ารเกบ็ เกย่ี วสนั้ และเกบ็ เกย่ี วผลผลติ เพยี งครง้ั เดยี ว เปน็ ทั้งพืชล้มลุกปีเดียวหรือนานหลายปี มักปลูกในพ้ืนที่แปลง ขนาดใหญเ่ ปน็ พืชเศรษฐกจิ ท่สี ำ� คญั ของประเทศไทย 1) ประเภทของพชื ไร่ สามารถจ�ำแนกตามประโยชน์การใชง้ าน ได้ดงั น้ี (กริ ยิ า, ม.ป.ป) (1) พชื อาหารสัตว์ ส่วนใหญ่เปน็ พืชตระกลู หญ้า และพืช ตระกลู ถว่ั (2) พชื ใชเ้ มล็ด พชื ที่ปลูกเพือ่ ใชเ้ มล็ดเป็นอาหาร เชน่ ขา้ ว ขา้ วโพดหวาน ขา้ วฟา่ ง ขา้ วสาลี ถั่ว งา เปน็ ตน้ 3) พืชคลุมดนิ ปลกู เพื่อให้แผ่คลุมผวิ หนา้ ดินเพอ่ื ลดการ ชะลา้ งพงั ทลายเน่ืองจากฝนลม หรอื คลุมแผ่เพื่อรักษาความชมุ่ ชื้นของดนิ และ ปลดปลอ่ ยแรธ่ าตุอาหารในดิน ปกตินิยมใชพ้ ชื ตระกลู ถั่วเปน็ เถา เช่น ถัว่ คาร์โล โปโกเนียม (4) พชื หัว เชน่ มันสำ� ปะหลงั ถวั่ ลสิ ง เป็นต้น (5) พืชสมุนไพร เชน่ ฟา้ ทะลายโจร ตะไครห้ อม ขมิ้น (6) พืชเส้นใย เช่น ปอ ฝา้ ย (7) พชื นำ้� มัน เชน่ ปาล์มนำ�้ มัน สบดู่ ำ� (8) พชื นำ�้ ตาล เช่น ออ้ ย ขา้ วฟา่ งหวาน 2) สภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมในการปลกู พืชไร่ การปลูกพชื ไรน่ อกจากการจดั การพน้ื ที่และการปรับปรุงบ�ำรงุ ดินแลว้ สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม ดนิ แสง อุณหภูมิ กม็ ีผลต่อการเจรญิ เตบิ โต และผลผลิตพืชไร่ ดงั นี้ คู่มือการปรบั ปรงุ ดนิ เปรีย้ วจัดเพ่อื ปลกู พชื ผักพชื ไร่ 79

(1) ดิน พืชไรเ ป็นพืชที่มรี ะบบรากตื้น เชน ขาวโพด ออ ย สบั ปะรด และมันสําปะหลงั สว นใหญแ ลว ดินท่เี หมาะสมส�ำหรับพืชไร ควรเป็นดนิ ทมี่ ี การระบายน�ำ้ ดสี ภาพพน้ื ทีเ่ ป็นที่ดอนคา่ ความเปน็ กรดดา่ งระหว่าง 5.5 - 7.0 (2) แสง เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพืชไร ่ เช่น ข้าวโพดเป็นพืชวันสั้น ดังนั้นการปลูกในสภาพวันยาว จะท�ำให้อายุการ ออกดอกและการสุกแกย่ ืดไปจากปกติ (3) อุณหภมู ิ มคี วามสำ� คญั ตอ่ การงอกของเมล็ด การสงั เคราะห์แสง การหายใจ การออกดอก ซ่ึงพืชไร่ต่างชนิดกันจะมีอุณหภูมิท่ีเหมาะสมต่อการ งอกของเมล็ดและการเจรญิ เตบิ โตท่ไี มเ่ ท่ากัน 3) พน้ื ทป่ี ลูกพชื ไร่ในประเทศ ประเทศไทยมีการปลกู พชื ไร่ กระจายกันอยทู่ ว่ั ทกุ ภาค ของประเทศ สำ� หรับภาคใต้ มีพื้นท่ปี ลกู พชื ไร่ 10,489 ไร่ (ส�ำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2560 ) โดยจังหวัดนราธิวาสมเี น้อื ท่ี ปลกู พืชไร่ ทั้งจังหวัด 216 ไร่ พืชไร่ท่ีเกษตรกรนิยม ปลูกมาก ได้แก่ ออ้ ย สับปะรด มันเทศ (สำ� นกั งาน เกษตรจังหวดั นราธิวาส, 2560) 4. การจัดการดินเปรี้ยวจัดเพอ่ื ปลกู พืชผักพืชไร่ ดนิ เปรยี้ วจดั เปน็ ดนิ ทม่ี ปี ญั หาในการปลกู พชื การนำ� พน้ื ทดี่ นิ เปรยี้ วจดั มาใชป้ ระโยชนเ์ พอื่ การปลกู พชื ผกั พชื ไร่ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารจดั การดนิ ทเี่ หมาะสม จากการศกึ ษา ทดลอง วจิ ยั ของศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองฯ พบวา่ การปลกู พืชผักพืชไร่ในพื้นที่ดินเปร้ียวจัด จ�ำเป็นต้องมีการเตรียมพื้นท่ีโดยการ ขุดยกร่อง การปรับปรุงดินโดยใช้วัสดุปูน วิธีการปลูกพืช การดูแล และบ�ำรุง รักษา และการเก็บเกี่ยวที่ถูกต้องตามหลักวิชาการเพ่ือให้ได้ผลผลิต ทค่ี มุ้ กบั การลงทุน ดงั น้ี 180 คู่มอื การปรบั ปรุงดินเปรีย้ วจัดเพอื่ ปลกู พชื ผกั พืชไร่

4.1 การเตรยี มพน้ื ที่ มขี ัน้ ตอนดงั นี้ (พิสทุ ธิ์ และคณะ, 2553) 1) ขุดยกรอ่ ง โดยให้ ขน้ั ตอนที่ 1 วางแนวสนั รอ่ ง และ คนู ำ้� สนั รอ่ งมคี วามกวา้ ง 6 - 7 เมตร มคี รู ะบายนำ�้ กว้างประมาณ 1.5 เมตร ลึกประมาณ คนู ำ้� แนวสนั รอ่ ง คนู ำ�้ แนวสนั รอ่ ง คนู ำ�้ แนวสนั รอ่ ง คนู ำ�้ หนา้ ดนิ สดี ำ� 80 เซนติเมตร หรือลึกให้อยู่เหนือ ชัน้ ดินเลน ทม่ี ีสารประกอบไพไรต์เปน็ ดนิ ชนั้ ลา่ ง องค์ประกอบอยู่ 2) ไถพรวนดนิ และตาก ขัน้ ตอนท่ี 2 ใช้แทรคเตอร์ปาดหนา้ ดินสีด�ำมากองไวต้ รงกลางสันร่อง ดินทิ้งไว้ 3 - 5 วัน 3) ทำ� แปลงย่อยบน คนู ำ้� คนู ำ�้ คนู ำ้� คนู ำ้� สันร่องโดยยกแปลงให้สูงประมาณ 25 - 30 เซนติเมตร กว้าง 1 - 2 เมตร เพ่อื ข้นั ตอนท่ี 3 ขุดดนิ ในแนวคูมากองขนาดไวข้ ้างๆ ดินที่ปาดมากองไวเ้ ป็นสนั ร่อง ระบายน้�ำบนสันร่องและป้องกันไม่ให้ แปลงยอ่ ยแฉะเมอื่ รดนำ้� หรอื เมอื่ มฝี นตก คนู ำ้� คลู กึ เพยี งระดบั ชนั้ ดนิ เลน ขน้ั ตอนที่ 4 ปรบั ดินบนสนั ร่องให้เรียบรอ้ ย เพื่อใช้ปลกู พืช คนู ำ้� 4.2 การปรับปรุงดนิ เปร้ียวจดั การนำ� ดนิ เปรยี้ วจัดมาปลูกพืชผักพืชไร่ จำ� เปน็ ตอ้ งปรบั ปรุงดนิ ใหม้ ีสภาพเหมาะสมก่อนการปลกู พืช ซึ่งมวี ธิ กี าร ดังนี้ 1) การปรับสภาพดินเพื่อเพิ่มคา่ ความเปน็ กรดด่างของดิน ใหเ้ หมาะสมกบั การเจริญเตบิ โตของพชื โดยการใช้หินปูนฝุ่นอตั รา 2 - 3 ตนั /ไร่ หรือประมาณ 2 กโิ ลกรมั ตอ่ พ้นื ที่ 1 ตารางเมตร ผสมคลุกเคล้ากับหน้าดินและท้ิงไว้ 2 - 3 สัปดาห์ ก่อนปลกู ซ่ึงเป็นวิธีทช่ี ่วยลดความเปน็ กรดของดิน ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และมผี ลระยะยาว 3 - 5 ปี นอกจากนี้การใชป้ ูนขาว อัตรา 0.5 - 1 ตนั /ไร่ ยงั ช่วย ลดความเปน็ กรดของดนิ และชว่ ยในเรอื่ งการฆา่ เชอ้ื ในดินทีเ่ ป็นเชือ้ สาเหตุของโรคพชื บางชนิดได้ คมู่ อื การปรับปรุงดินเปรยี้ วจดั เพอ่ื ปลูกพืชผกั พชื ไร่ 191

2) การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของดนิ โดยใส่ปุย๋ หมักอตั รา 3 - 5 ตนั ต่อไร่ เพอ่ื ปรับปรงุ ดินใหร้ ว่ นซุย และมโี ครงสรา้ งดี 4.3 ขน้ั ตอนการปลูกพืชผกั พืชไร่ ในดนิ เปร้ียวจัด พืน้ ทด่ี ินเปรยี้ วจดั ท่ผี ่านการปรับปรงุ แล้วสามารถปลูกพืชผกั พืชไร่ ได้หลายชนิด เช่น พืชผักกนิ ฝักกนิ ผล ผักกนิ ใบ พืชไร่จำ� พวกขา้ วโพดหวาน ออ้ ย และถวั่ ลสิ ง เป็นต้น 1) การปลูกพืชผกั กินฝักกินผล ผักกินฝกั กินผลท่ีนิยมปลูกในพื้นท่ีดนิ เปร้ยี วจดั เชน่ แตงกวา มะเขอื พรกิ ขห้ี นู พรกิ หยวก บวบเหลย่ี ม บวบหอม ถว่ั ฝกั ยาว มะระขนี้ ก และกระเจยี๊ บ เขยี ว ซง่ึ เป็นพชื ทีต่ ้องใชค้ วามเอาใจใสเ่ ปน็ อย่างมาก จึงจะท�ำให้ผกั เจริญเติบโต อยา่ งสมบรู ณจ์ นถงึ ระยะเกบ็ เกย่ี ว ซง่ึ มขี นั้ ตอนการปลกู การดแู ลและบำ� รงุ รกั ษา ดงั นี้ (1) การปลกู - การเพาะกลา แลว ยายกล้าปลกู โดยน�ำเมลด็ ห่อผ้าแช่น�้ำ ไว้ 1 คนื กอ่ นทำ� การเพาะชำ� ในถาดหลมุ เมอ่ื ตน้ กลา้ อายปุ ระมาณ 10 วนั ทำ� การ ยา้ ยกล้าลงถงุ ชำ� หลังจากนัน้ ประมาณ 20 วัน จึงยา้ ยกล้าลงแปลง โดยมรี ะยะ ปลูก 50x80 เซนตเิ มตร เชน่ พรกิ ชนดิ ตา่ งๆ มะเขือ กระเจีย๊ บเขียว - การปลกู โดยการหยอดเป็นหลุม หลุมละ 3 - 5 เมล็ด นิยม ใชก บั ผกั ทมี่ เี มลด็ ขนาดใหญ่ เชน ถวั่ ฝก ยาว แตงกวา บวบชนดิ ตา่ งๆ มะระขน้ี ก โดยเตรยี มหลมุ ให้มีระยะปลกู 50x50 เซนติเมตร หลงั จากงอกแล้วท�ำการถอน แยกให้เหลอื 2 ตน้ ตอ่ หลมุ 120 ค่มู ือการปรับปรุงดนิ เปร้ยี วจดั เพื่อปลกู พืชผักพืชไร่

(2) การดแู ลและบำ� รงุ รกั ษา (2.1) การให้ปุ๋ย มี 2 ระยะ คอื - การใส่ปุ๋ยรองพ้นื คือ ใส่ในขน้ั ตอนการปรบั ปรุงดิน โดยใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก คลุกกับดินให้ท่ัวก่อนปลูก เพื่อปรับโครงสร้างดิน ให้โปรง่ รว่ นซยุ ช่วยในการอ้มุ นำ้� และรกั ษาความช้นื ในดนิ - การใสป่ ุ๋ยบำ� รุง ควรใส่ป๋ยุ เคมี โดยแบ่งใส่ 2 คร้งั ครั้งแรกหลังย้ายกล้าไปปลูกแล้วประมาณ 7-10 วัน ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 หรือ 21-0-0 อตั รา 50 กโิ ลกรมั /ไร่ และใส่ครั้งที่ 2 หลังจากยา้ ยกลา้ แล้วประมาณ 30 วัน ใส่สูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ ส�ำหรับบ�ำรุงฝักและผล โดยโรยบางๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยชิดกับต้นเกินไป เม่ือใส่ปุ๋ยแล้ว ให้พรวนดินและรดน้�ำทนั ที (2.2) การใหน้ ำ้� ตอ้ งใหน้ ำ�้ อยา่ งเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ ของพืชแตล่ ะชนดิ ควรให้น้ำ� ชว่ งเชา้ และเย็น ไม่ควรรดน�้ำตอนแดดจัด คู่มือการปรับปรุงดินเปร้ยี วจัดเพ่ือปลูกพชื ผักพืชไร่ 131

(3) การเกบ็ เกยี่ ว (3.1) การเก็บเกยี่ ว การเก็บเกย่ี วผกั กนิ ฝกั กินผลนน้ั ขึ้นอยูกับชนิด เช่น พริกและมะเขือเทศ สามารถดูไดจากสีผล หรือดูการเริ่ม เปลย่ี นแปลงของสี ซ่งึ จะบอกถงึ การสกุ แกของผกั (3.2) การปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกย่ี ว ผักเปน็ พืชทีอ่ วบน�้ำ จงึ บอบบางไมท่ นทานตอ แรงกระแทก การเกบ็ เกย่ี วและการปฏบิ ตั ใิ ดๆ หลงั การ เกบ็ เกย่ี ว ควรกระทำ� อยา่ งระมดั ระวงั รวดเรว็ และมนี อ้ ยขน้ั ตอนทส่ี ดุ ซงึ่ จะชว่ ย ลดความเสียหายลงได้ 142 คูม่ อื การปรับปรุงดนิ เปรยี้ วจดั เพือ่ ปลูกพชื ผักพชื ไร่

2) การปลูกพชื ผักกินใบ ผกั กนิ ใบท่ีนยิ มปลูกในพ้นื ทด่ี นิ เปรี้ยวจัด เชน่ ผักบงุ้ ผกั กวางตงุ้ คะนา้ ผักกาดขาว ผกั กาดเขยี วปลี ขน้ึ ฉา่ ย กะเพรา และโหระพา ซึ่งเป็นพชื ที่ต้องใช้ความเอาใจใส่เป็นอย่างมาก จึงจะท�ำให้ผักเจริญเติบโตดีจนถึงระยะ เกบ็ เกีย่ ว ซ่ึงมขี ัน้ ตอนการปลูก การดแู ลและบ�ำรุงรกั ษา ดงั นี้ (1) การปลกู (1.1) การปลูกด้วยเมล็ดโดยตรง เป็นวธิ ที ี่ใช้กันทวั่ ไป มี 2 วิธี คอื - การหว่านเมลด็ โดยตรงในแปลงปลกู พชื ผกั ทนี่ ิยมใช้ วิธีน้ี ได้แก่ ผักบุ้ง ขึ้นฉ่าย ซ่ึงก่อนท�ำการหว่านจะน�ำเมล็ดห่อผ้าแช่น้�ำไว ้ 1 คืน โดยใชเ้ มล็ดพันธ์ุ 10 - 15 กิโลกรมั /ไร่ - การเพาะกล้าแล้วจงึ ย้ายกล้า พืชผกั ท่นี ิยมใชว้ ธิ นี ้ี ไดแ้ ก่ คะน้า ผกั กาดขาว ผกั กาดเขยี วปลี โดยทำ� การถอนแยกหลังหว่านเมลด็ แล้ว 2 สัปดาห์ (1.2) การปลูกโดยอาศัยส่วนต่างๆ ของต้นพืช คือ ราก ลำ� ตน้ และใบ น�ำมาตัดชำ� แยกกอ แยกหน่อ เช่น กะเพรา และโหระพา เปน็ ต้น (2) การดแู ลและบ�ำรุงรกั ษา (2.1) การให้ปยุ๋ มี 2 ระยะ คือ - การใสป่ ุย๋ รองพื้น คอื ใสใ่ นข้นั ตอนการปรับปรงุ ดนิ โดยใช้ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก คลุกกับดินให้ทั่วก่อนปลูก เพ่ือปรับโครงสร้างดิน ใหโ้ ปร่งร่วนซุย ชว่ ยในการอมุ้ น�้ำและรกั ษาความชื้นในดนิ - การใส่ปยุ๋ บำ� รงุ ควรใสป่ ๋ยุ เคมี โดยแบ่งใส่ 2 ครงั้ ครงั้ แรกหลังยา้ ยกล้าไปปลกู แลว้ ประมาณ 10 - 20 วนั ใส่ปยุ๋ สูตร 46-0-0 หรือ 21-0-0 อัตรา 50 กิโลกรมั /ไร่ และใสค่ รัง้ ที่ 2 หลังจากยา้ ยกล้าแล้วประมาณ 30 วนั ใสส่ ตู ร 15-15-15 อัตรา 50 กโิ ลกรมั /ไร่ โดยโรยบางๆ ระหวา่ งแถว ระวังอยา่ ใหป้ ๋ยุ ชดิ กับตน้ เกนิ ไปเมอ่ื ใสป่ ๋ยุ แลว้ ให้พรวนดนิ และรดน�ำ้ ทันที คมู่ ือการปรับปรุงดนิ เปรยี้ วจดั เพ่ือปลูกพืชผักพืชไร่ 153

(2.2) การให้น�้ำ ต้องให้นำ�้ อยา่ งเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการ ของพืชแต่ละชนดิ ควรให้น�้ำชว่ งเช้าและเย็น ไม่ควรรดนำ�้ ตอนแดดจัด (3) การเกบ็ เกีย่ ว (3.1) การเกบ็ เกย่ี ว ควรเกบ็ เกยี่ วในเวลาเชา้ โดยใหเ้ กบ็ ตามอายุ การเกบ็ เกีย่ วทร่ี ะบตุ ามชนิดและสายพนั ธุ์ โดยผกั ใบสามารถเกบ็ รับประทานได้ ทกุ ระยะ แตไ่ มค่ วรเกนิ อายกุ ารเกบ็ เกยี่ วของพชื เพราะผกั จะแก่ เหนยี ว มเี สน้ ใยมาก และเสียรสชาติ (3.2) การปฏิบัติหลังการเกบ็ เก่ียว ผักเปน็ พชื ท่ีอวบนำ�้ จงึ บอบบางไมท่ นทานตอ แรงกระแทก การเกบ็ เกย่ี วและการปฏบิ ตั ใิ ดๆ หลงั การ เกบ็ เกี่ยว ควรกระทำ� อยา่ งระมดั ระวังรวดเรว็ และมนี อ้ ยขัน้ ตอนทส่ี ดุ ซึง่ จะช่วย ลดความเสยี หายลงได้ 164 คูม่ อื การปรบั ปรุงดนิ เปรย้ี วจดั เพื่อปลกู พืชผักพชื ไร่

3) การปลกู พืชไร่ พืชไรเ่ ป็นพชื ตอ้ งการน�ำ้ น้อย ทนความแหง้ แลง้ สูง ไมต่ ้องการ ความพิถีพิถันในการปลูก และการดูแลรักษา เป็นท้ังพืชล้มลุกปีเดียวหรือนาน หลายปี ซงึ่ พืชไร่ทน่ี ิยมปลกู ในพน้ื ที่ดนิ เปร้ียวจดั เช่น ข้าวโพดหวาน ออ้ ย และ ถั่วลิสง (1) การปลกู (1.1) การหยอดเมล็ด การปลูกโดยหยอดเมล็ดใสห่ ลุม หลุมละ 3-4 เมลด็ หลังจากงอกแลว้ 10 วนั ถอนให้เหลือ 1 ต้น ระยะปลกู 25x75 เซนติเมตร (1.2) การปลกู โดยใชท้ อ่ นพันธ์ุ จะตอ้ งเป็นท่อนพันธุ์ท่ี ปราศจากโรค ไม่อ่อนหรือแก่จนเกนิ ไป ระยะปลกู 50 x 75 เซนติเมตร (2) การดแู ลและบ�ำรุงรักษา (2.1) การใหป้ ยุ๋ การใสป่ ยุ๋ บำ� รงุ ควรใสป่ ยุ๋ เคมี โดยโรยบางๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยชิดกับต้นเกินไปเม่ือใส่ปุ๋ยแล้วให้พรวนดิน และรดน้�ำ ทนั ที สตู รปุย๋ ที่ใชก้ บั พืชไร่ ไดแ้ ก่ ปยุ๋ ยูเรยี (46-0-0) อตั รา 25 กโิ ลกรัมต่อไร่ สำ� หรบั บ�ำรุงตน้ และใบ และปุย๋ สูตร 15-15-15 อตั รา 50 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ ทั้งนี้ ข้นึ อยกู่ ับความอุดมสมบูรณข์ องดิน (2.2) การให้นำ้� ต้องใหน้ ้�ำอย่างเพียงพอตอ่ ความต้องการ ของพืชแต่ละชนิด ไมค่ วรรดน�ำ้ ตอนแดดจัด คู่มอื การปรบั ปรงุ ดนิ เปร้ยี วจดั เพอ่ื ปลูกพชื ผกั พชื ไร่ 157

(3) การเกบ็ เกยี่ ว (3.1) การเกบ็ เกีย่ ว จะตอ้ งค�ำนึงถงึ อายุทเ่ี หมาะสมของ ผลิตผลที่จะท�ำการเก็บเก่ียว อุปกรณ์เก็บเก่ียว ภาชนะบรรจุ และวิธีการเก็บ เกี่ยวต้องสะอาด ไม่เกิดอันตรายต่อคุณภาพของผลผลิตและปนเปื้อนสิ่งท่ี อันตรายท่ีมีผลต่อความปลอดภัยในการบริโภค ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมส�ำหรับการเก็บ เก่ียว คือ ช่วงเชา้ จะดกี ว่าชว่ งบ่าย (3.2) การปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เก่ยี ว ผลติ ผลพืชไร่ หลังการ เก็บเก่ียวให้รีบน�ำผลผลิตเข้าในที่ร่มเพ่ือไม่ให้ถูกแสงแดดโดยตรง สถานท่ีเก็บ ชวั่ คราวควรมีการถ่ายเทอากาศดี หา่ งไกลจากสิง่ ปฏกิ ูล สารปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรู พชื และมูลสตั ว์ เพ่อื ปอ้ งกนั การปนเปอ้ื น นอกจากน้ันการขนยา้ ย รถบรรทกุ จะต้องสะอาด 186 คู่มอื การปรบั ปรงุ ดินเปร้ียวจดั เพอื่ ปลกู พชื ผักพชื ไร่

5. โรคและแมลงศตั รพู ชื โรคและแมลงศัตรูพืชจัดว่าเป็นปัญหาท่ีส�ำคัญ เนื่องจากเป็นตัวการ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายให้กับพืชท้ังด้านปริมาณและคุณภาพเป็นจ�ำนวนมาก ซง่ึ โรคทพี่ บบอ่ ยในพชื ผกั พชื ไร่ สว่ นใหญเ่ กดิ จากเชอ้ื รา เชอื้ แบคทเี รยี และไวรสั นอกจากนยี้ งั มแี มลงศตั รพู ชื เชน่ ดว้ งหมดั ผกั หนอนกระทู้ ทสี่ รา้ งความเสยี หาย ให้กับพืชผกั พืชไร่ ซง่ึ มีวธิ กี ารป้องกันกำ� จดั ดังนี้ โรค ลกั ษณะอาการ การปอ้ งกนั โรคราน�ำ้ ค้าง จะพบจดุ ฉำ�่ นำ้� มลี กั ษณะเปน็ จดุ เหลย่ี ม 1. การฆ่าเชื้อท่ีติดมากับ ต่อมาแผลจะเร่ิมเป็นสีน�้ำตาลแห้ง เมล็ดพันธุ์ โดยการแช่เมล็ด กระจายทั่วไป ในเวลาที่มีอากาศชื้น ในน้�ำอุ่นอุณหภูมิ 50 องศา จะมเี สน้ ใยของราสขี าวอมมว่ งออ่ นขนึ้ เซลเซียส นาน 20 - 30 นาที เป็นกลุ่มปกคลุม และตามแผล ด้านลา่ งของใบมกั เป็นสีเหลืองอ่อน โรคแอนแทรคโนส โรคแอนแทรคโนสทเี่ กดิ บนใบ ถา้ เกดิ 1. การฆา่ เชอื้ ทตี่ ดิ มากบั เมลด็ พนั ธ์ุ กบั ใบออ่ นทำ� ใหใ้ บหงกิ งอ อาการเรม่ิ จาก โดยการแช่เมล็ดในน้�ำอุ่น จุดสีเทาและเปล่ียนเป็นสีน�้ำตาลเข้ม อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส อยูก่ ระจัดกระจาย เน้อื เย่อื กลางแผล นาน 20 - 30 นาที บางและฉีกขาดเป็นรู ถ้าเกิดกับผล 2. ตัดแต่งส่วนท่ีเป็นโรคออก จะเรมิ่ จากจดุ แผลแหง้ เลก็ ๆ สนี ำ�้ ตาล ทำ� ความสะอาดมดี และกรรไกร แล้วค่อยๆ เข้มข้ึนขยายออกเป็น หลังการตัดแต่งในแต่ละครั้ง วงกลมหรือวงรีซ้อนกันเป็นช้ันๆ และเก็บเศษซากออกจาก อาการของโรคจะเห็นชัดเจนในระยะ พ้ืนทแี่ ปลง ทผ่ี ลเรมิ่ สกุ นอกจากนโี้ รคแอนแทรคโนส ยังสามารถเข้าท�ำลายกิ่งท�ำให้เกิด อาการไหมไ้ ดอ้ ีกด้วย คูม่ อื การปรบั ปรุงดนิ เปรย้ี วจดั เพื่อปลกู พืชผกั พืชไร่ 179

โรค ลักษณะอาการ การป้องกัน โรคราสนมิ ขาว เกิดจุดสีเหลืองขนาดเล็ก บริเวณ 1.เก็บท�ำลายเศษซากพืช สว่ นบนของใบซงึ่ จะคอ่ ยๆ ขยายใหญข่ น้ึ ท่ีเป็นโรคโดยการน�ำไปเผาไฟ ถึ ง เ ส ้ น ผ ่ า ศู น ย ์ ก ล า ง ป ร ะ ม า ณ หรอื ฝังดนิ ลึกๆ 5 มิลลิเมตร ส่วนใต้ใบ ณ ต�่ำแหน่ง 2. กำ� จดั วชั พชื ทอ่ี าจเปน็ ทอี่ าศยั เดียวกันจะเห็นจุดสีขาวนวล ต่อมา ช่ัวคราวของเช้ือนอกฤดูปลูก จะขยายใหญ่ขึ้นเป็นจุดนูนกลม อย่าให้มีหลงเหลืออยู่ในบริเวณ ออกสีชมพู และเปลี่ยนเป็นสีขาว ใกลเ้ คียงหรอื ใกล้เเปลงปลูก เมื่อเจริญเต็มที่ หากระบาดมาก 3. หากเป็นไปไดค้ วรงดปลูกพชื จะท�ำให้ใบมีสีเหลือง และลามแห้ง ชนิดเดียวกันในดินที่เคยปลูก ไปท่ัวท้ังใบ ในดอกจะมีการไหม้แห้ง และเคยมีโรค โดยหาพืชอื่น จากปลายกลบี ดอกเข้ามา มาปลกู แทนอย่างน้อย 2 - 3 ปี โรคเห่ยี วเขียว ใ บ เ ห่ี ย ว ข ณ ะ ใ บ ยั ง มี สี เ ขี ย ว 1. ป้องกนั โดยการขุด เผาซากพืช อยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะในเวลากลางวนั ทเ่ี ปน็ โรค ที่มีอากาศร้อน และตน้ กลา้ ทเี่ ปน็ โรค 2.ในแปลงท่ีเคยทราบว่ามีการ จะเห่ียวฟุบตัวลงอย่างเห็นได้ชัด ระบาดของโรคควรรมดินด้วย ต้นแก่จะแสดงอาการแคระแกรน ยเู รีย + ปนู ขาวอัตรา 80 + 800 ใบยอ่ ยลลู่ ง และกา้ นใบออ่ นตวั โนม้ ลง กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ ก่อนปลูก ขอบใบบิดมว้ นลงด้านลา่ ง 3. เม่ือพบการระบาด ฤดูปลูก ถัดไปไม่ควรปลูกพืชในตระกูล เ ดี ย ว กั บ พื ช ที่ เ กิ ด ก า ร ร ะ บ า ด ควรมกี ารปลูกพชื หมุนเวียน 4. ก�ำจัดโดยการใช้แบคทีเรีย ปฏิปักษ์ Bacillus subtilis, B. amyloliquefaciens/subtilis (ลามนิ ่า, บีเค33) 2108 ค่มู อื การปรบั ปรุงดินเปรี้ยวจดั เพ่อื ปลกู พืชผักพืชไร่

โรค ลกั ษณะอาการ การป้องกนั หนอนใยผัก หนอนใยผกั เมอ่ื ฟกั ออกมาจากไขใ่ หมๆ่ 1. ปลูกผกั กางมุง้ ตัวหนอนจะแทะกินผิวใบด้านล่าง 2. เก็บเศษผักออกจากแปลง เป็นวงกว้างและมักท้ิงผิวใบด้านบน หลังเก็บเกี่ยว หากท้ิงไว้จะเป็น ซ่ึงมีลักษณะโปรง่ แสงเอาไว้ หากมีการ แหล่งเพาะพันธ์ุ ระบาดรนุ แรง หนอนใยผักจะกัดกินใบ 3. หม่นั ตรวจดแู ปลง เมอ่ื พบตวั จนเป็นรูพรุนเหลือแต่ก้านใบ หรือถ้า หนอนควรรบี ทำ� ลายทันที 4.ใช้เช้ือบาซิลลัส ทรูริงเยนซีส เกดิ กบั ผกั ในระยะตน้ ออ่ น หนอนจะกดั (บที )ี ฉีดพน่ ทุก 4 - 7 วัน เมือ่ ท�ำลายส่วนยอดจนชะงักการเจริญ พบการระบาด อตั ราการใชต้ าม เติบโต ส�ำหรับผักในระยะที่ออกดอก ค�ำแนะน�ำในฉลาก ตดิ ฝัก ดอกและฝกั อาจถูกทำ� ลายหมด 5. ใช้การปล่อยแตนเบียนไข่ ไปได้ 600,000 ตัว/ไร่ทุก 10 วนั ดว้ งหมดั ผัก หรือ ตัวอ่อนชอบกัดกินหรือเจาะไชเข้าไป 1. ท�ำความสะอาดในแปลง ด้วงหมดั กระโดด กินอยู่ตามโคนต้นและรากของผัก และบรเิ วณรอบแปลงปลกู อยา่ ใหม้ ี ท�ำให้ผักเหี่ยวเฉา ตัวเต็มวัยชอบอยู่ วัชพืชที่ด้วงหมัดผักใช้เป็นอาหาร รวมกันเป็นกลุ่ม กัดกินอยู่ตามยอด และพืชอาศัย ควรพลิกหน้าดิน เมอื่ ถกู รบกวนชอบกระโดดหรอื บนิ ไป ตากแดดฆ่าเช้ือโรคและตัวอ่อน ไดไ้ กล ของแมลงตา่ งๆ หลงั การเกบ็ เกยี่ ว เป็นเวลาอย่างน้อย 1 สัปดาห์ ก่อนเร่ิมปลูกรอบต่อไป วิธีนี้ นอกจากลดความเสยี่ งการระบาด จากตัวอ่อนของด้วงหมัดผักแล้ว ยงั จะชว่ ยลดการเกดิ โรคไดอ้ กี ดว้ ย 2. ระยะไขฉ่ ดี พ่นดว้ ย บิววาเรยี + เมธาไรเซยี ม + พาซโิ ลมยั ซสิ อตั รา 50-100 กรัมตอ่ นำ้� 20 ลติ ร ทกุ 3 วนั ชว่ งเชา้ หรอื เยน็ และฉดี ลงดนิ ดว้ ย เพอ่ื กำ� จดั ไขข่ องดว้ งหมดั ผกั ปรมิ าณ ด้วงหมัดผกั จะลดลงอย่างชัดเจน 3. ระยะหนอน ใชเ้ ชอ้ื บาซลิ ลสั ทรู รงิ เยนซสี (บที )ี ฉดี พน่ ทกุ 4 - 7 วนั เมื่อพบการระบาด อัตราการใช้ ตามค�ำแนะนำ� ในฉลาก คูม่ ือการปรบั ปรุงดินเปรย้ี วจดั เพอื่ ปลูกพชื ผักพชื ไร่ 1219

โรค ลักษณะอาการ การปอ้ งกนั หนอนกระทผู้ ัก จะกัดกินเกือบทุกส่วนของพืช ได้แก่ 1. ปลกู ผกั กางมงุ้ ใบ กา้ น ดอก ผล มกั จะเขา้ ทำ� ลายเปน็ 2. เก็บกลุ่มไข่และหนอน หย่อมๆ ท�ำลาย วิธีน้ีพบว่าได้ผลด ี และลดการระบาดลงไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพ 3. การใช้เช้ือจุลินทรีย์ ได้แก่ ไวรัส NPV ของหนอนกระทู้ผัก อตั รา 30 มลิ ลลิ ติ ร/นำ�้ 20 ลติ ร ผสมสารจับใบอัตราตามฉลาก ฉีดพ่นในช่วงเวลาเย็นทุก 5 วันครั้ง เมื่อพบหนอนระบาด หนอนเจาะล�ำตน้ ขา้ วโพด หนอนจะเจาะกนิ ใบสว่ นยอด เจาะกนิ 1.เลือกพันธุ์ข้าวโพดท่ีค่อนข้าง ภายในช่อดอก และเจาะเข้าท�ำลาย จะต้านทานต่อหนอนเจาะล�ำต้น ภายในล�ำต้น หนอนที่ฟักออกจากไข่ เช่น พันธุ์สุวรรณ 1 หรือพันธุ์ ระยะแรกๆ จะกัดกินใบที่ม้วนอยู ่ สวุ รรณ 2 แต่ถ้าระบาดระยะท่ีข้าวโพดก�ำลัง 2.โดยท่ัวไปในสภาพธรรมชาต ิ ออกเกสรตัวผู้จะอาศัยกินอยู่ท ี่ มีแมลงศัตรูธรรมชาติที่คอย ช่อดอกตัวผู้ ซ่ึงอาจจะท�ำให้ช่อดอก ท�ำลายหนอนเจาะล�ำต้นข้าวโพด ไม่คล่ีได้ ต่อมาจึงเจาะเข้าล�ำต้น เช่น แตนเบียนในวงศ์ไทรโคร ด้านบริเวณก้านใบเหนือข้อและ แกรมมา แมลงหาง โคนฝัก การท�ำลายของหนอนเจาะ ล� ำ ต ้ น นี้ จ ะ กั ด กิ น เ ป ็ น รู ย ้ อ น ข้ึ น ทางด้านบน แต่ถ้าในแหล่งที่มีการ ระบาดมากจะเจาะกินฝักด้วย 220 คู่มือการปรบั ปรงุ ดนิ เปรย้ี วจดั เพอ่ื ปลูกพชื ผักพืชไร่

6.เอกสารอา้ งอิง กิรยิ า สังขท์ องวเิ ศษ. ม.ป.ป.. การจ�ำแนกพชื ไร่. ภาควิชาพชื ศาสตร์และทรพั ยากร การเกษตร สาขาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://ag.kku.ac.th/suntec/index109101.files (ออนไลน)์ . สืบค้นเม่ือวนั ท1ี่ 3 เมษายน 2563. กรมวิชาการเกษตร. 2548. ค�ำแนะน�ำการใชป้ ยุ๋ กับพชื เศรษฐกิจ. กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ 121 หน้า. กรมพฒั นาทีด่ ิน. 2558. สถานภาพทรพั ยากรดินและท่ดี ินของประเทศไทย. กรมพฒั นาทด่ี ิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. คริษฐ์สพล หนูพรหม. 2558. การผลิตผักอนิ ทรีย์. ว.วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี 23: 955-969. พสิ ทุ ธ์ิ วจิ ารสรณ์ ชยั วฒั น์ สทิ ธบิ ศุ ย์ อภชิ าต จงสกลุ และคณะ. 2553. คมู่ อื การปรบั ปรงุ ดนิ เปร้ียวจัดเพื่อการเกษตร ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาพกิ ุลทอง อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ.75 หนา้ . ยงยทุ ธ โอสถสภา. 2546. ธาตุอาหารพชื . สำ� นกั พิมพม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ กรุงเทพฯ. 424 หน้า. ส�ำนกั งานเกษตรจังหวดั นราธิวาส. 2560. ข้อมูลพื้นฐานการเกษตร ปี 2560. กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เข้าถึงได้จาก http://www.narathiwat.doae.go.th/indexnara.htm (ออนไลน์). สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 13 เมษายน 2563. คมู่ ือการปรับปรุงดินเปรีย้ วจดั เพื่อปลูกพืชผกั พืชไร่ 213

สถานที่ติดต่อ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาพิกุลทองอันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ เลขที่ 95 หมู่ 6 ต.กะลวุ อเหนือ อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 โทร. 073-631033 , 073-631038 โทรสาร 073-631034 E-mail : cpt_1@ldd.go.th Website : www.pikuthong.com ท่ีปรกึ ษา นางสายหยุด เพช็ รสขุ ผู้อำ� นวยการศนู ย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองฯ คณะผจู้ ัดทำ� นางสายใจ มณรี ตั น์ นักวชิ าการเกษตรชำ� นาญการพเิ ศษ ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทองฯ นางสาวบญุ ญา จนิ ดาวงศ์ นกั วชิ าการเกษตรปฏบิ ัตกิ าร ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองฯ 242 คู่มอื การปรบั ปรงุ ดินเปรยี้ วจัดเพอ่ื ปลูกพชื ผกั พชื ไร่