นางสาวนารนิ เพง็ แสน รหสั 63941900426 กล่มุ ท่ี 4 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกับส้มเขียวหวาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี เรอื่ ง ประวตั แิ ละลักษณะทัว่ ไปของส้มเขยี วหวาน เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง ครูผู้สอน นางสาวนาริน เพง็ แสน ––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––– มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ง ๑.๑ เขา้ ใจการทำงาน มีความคิดสรา้ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการการทำงาน ทักษะ การจดั การ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี คุณธรรม และลกั ษณะนิสัยในการทำงาน มีจติ สำนึกในการใชพ้ ลงั งาน ทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อม เพือ่ การดำรงชีวิตและครอบครวั ตัวชว้ี ัด ง ๑.๑ ป.๒/๑ อธิบายวิธีการและประโยชนก์ ารทำงาน เพอ่ื ช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. เพือ่ ให้นักเรียนมีความร้แู ละเขา้ ใจเก่ยี วกับความเปน็ มาของส้มเขียวหวาน 2. เพอ่ื ให้นกั เรยี นไดร้ ูจ้ กั ลกั ษณะและหน้าท่ีของส้มเขยี วหวาน 3. เพื่อใหผ้ เู้ รียนเกดิ ทักษะในการสังเกตและสามารถแยกส่วนต่าง ๆ ได้ สาระสำคญั ส้มเขียวหวานได้รับความนยิ มอยา่ งมากในการบรโิ ภคและอปุ โภค คนส่วนใหญจ่ งึ เลง็ เห็น ความสำคัญในการปลกู สม้ เขยี วหวานมากขน้ึ เพราะสามารถสร้างรายได้ให้กบั ครอบครวั มตี ลาดรบั ซ้ือ ใกลบ้ า้ น ส่ิงท่มี ุ่งหวงั ใหน้ ักเรียนได้เรยี นรู้ คือ อยากใหน้ กั เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึง ความสำคญั ของสม้ เขยี วหวาน สาระการเรยี นรู้ 1. ความเปน็ มาของสม้ เขยี วหวาน 2. ศกึ ษาลกั ษณะและหน้าท่ีส่วนต่าง ๆ ของสม้ เขียวหวาน แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย การตอบคำถาม การแสดงความคิดเหน็ วิทยาศาสตร์ การเขียนอธิบายลักษณะและหน้าท่ีของตน้ ส้ม ศลิ ปะ วาดภาพระบายสีสว่ นต่าง ๆ ของต้นสม้
วิธกี ารกำเนนิ การ / กจิ กรรมการสอน 1. ขั้นนำ 1.1 ครูผู้สอนกล่าวทกั ทายนกั เรียน ทำความรจู้ กั กับนกั เรยี นและแนะนำตนเอง 1.2 ครผู ู้สอน ช้ีแจงเก่ียวกับการเรียนการสอน โดยใหน้ กั เรยี นปฏิบัติตามดงั น้ี 1.2.1 ครผู ู้สอน อธิบายประวัติความเปน็ มาและลักษณะสว่ นตา่ ง ๆ ของสม้ เขียวหวาน 1.2.2 ครผู ู้สอน นำภาพส่วนตา่ ง ๆ ของสม้ เขยี วหวานใหน้ ักเรยี นไดเ้ หน็ ถงึ ส่วนประกอบที่ สำคัญของตน้ สม้ 2. ขัน้ สอน 2.1 ครูผ้สู อน ทำการอธบิ ายประวัติความเปน็ มา ลกั ษณะและหนา้ ที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ สม้ เขียวหวาน และแจกใบความร้ใู ห้กับนักเรยี น 2.2 ครูผู้สอน สนทนาซกั ถามนักเรียน และแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ความรู้ ความเข้าใจ ประวตั ิ ลกั ษณะและหน้าทสี่ ่วนประกอบต่าง ๆ ของสม้ เขียวหวาน 2.3 นักเรยี นแบ่งกลุม่ ๆ ละ 2-3 คน วาดภาพตน้ ส้มพรอ้ มทัง้ บอกลักษณะและหน้าที่ของส่วน ต่าง ๆ ของต้นสม้ 3. ข้นั สรปุ ครผู ้สู อนและนักเรยี น สรปุ รว่ มกันและรว่ มแสดงความคิดเห็น เรื่องประวัติและลักษณะสว่ นต่าง ๆ ของส้มเขยี วหวาน สอ่ื การเรยี นการสอน - ใบความรู้ที่ 1 ประวัตแิ ละส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของส้มเขยี วหวาน - ใบงานที่ 1 ลักษณะและหน้าที่ส่วนต่าง ๆ ของต้นส้ม - รปู ภาพ การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรม -สงั เกต -แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม -รายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ -รายกล่มุ -ใบงาน 2. ตรวจใบงาน -ร้อยละ 80 ผา่ นเกณฑ์
บันทกึ ผลหลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนการสอน 1.1 การประเมนิ ดา้ นความรู้ - นักเรียนทราบถงึ ขอบเขตเน้ือหารายวิชา การวัดและประเมินผล รวมถึงการปฏิบัติตน ในการเรยี นรายวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี คดิ เปน็ ร้อยละ 80 - นักเรยี นสว่ นใหญ่เข้าใจเน้อื หา สามารถบอกท่ีมา ลักษณะและหน้าท่ีส่วนตา่ ง ๆ ของต้น สม้ รวมถึงบอกเลา่ หรือบรรยายร่วมกบั ผู้อ่นื ได้ 1.2 การประเมินดา้ นทกั ษะกระบวนการ - นกั เรยี นสามารถศกึ ษาค้นคว้าข้อมลู จากใบงานด้วยตนเอง รู้จักสังเกต รวมถงึ แยก ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของต้นส้มได้ 1.3 การประเมินดา้ นคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ - นักเรียนสว่ นใหญ่มีความรับผดิ ชอบ สามารถทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้เปน็ อยา่ งดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90 แต่มนี กั เรียนบางคนคิดเปน็ รอ้ ยละ 10 ท่ยี งั คุยและหยอกลอ้ เล่นกนั ในห้องเรยี น 1.4 การประเมินเจตคติของผเู้ รยี น - นักเรียนทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมายด้วยความต้ังใจและเตม็ ใจ 78% เนอ่ื งจากเปน็ วาด ภาพระบายสแี ละเขยี นบรรยาย เด็กบางคนไม่ถนัดในการวาดภาพทำใหไ้ มค่ อ่ ยมคี วามกระตอื รือรน้ หรือ อยากจะทำงาน บางคนไมม่ ีความมน่ั ใจกลัวทำงานผิดพลาด กลวั เพือ่ นหัวเราะเยาะ ดังนนั้ ครูไดใ้ ช้วธิ ีการ ชแ้ี นะโดยการใหแ้ บง่ งานกันทำตามความสามารถของคนไหนกล่มุ ไมค่ วรจะดถู ูกหรือตำหนิเพื่อน ควร ส่งเสริม ให้กำลังใจ และให้โอกาสเพ่ือนได้แสดงความสามารถ - เดก็ ส่วนใหญ่มีความรสู้ ึกช่นื ชมและภาคภูมใิ จต่อผลสำเรจ็ ของงาน บางกล่มุ ก็ยังไมพ่ อใจ ในผลงานของตนเอง ไดข้ อใบงานเพ่อื ทำใหม่ให้ดีย่ิงข้นึ 2. ปัญหาและอปุ สรรค - มนี กั เรยี นบางคนยังขาดระเบียบวนิ ยั ในการเรียน และในการปฏบิ ัติตน คยุ และหยอกลอ้ เล่น กันในหอ้ ง - มเี นื้อหาการบรรยายมากเกนิ ไป ทำใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ความเบอื่ หน่าย 3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข - สร้างข้อตกลงร่วมกันระหวา่ งครูและนกั เรียนว่า “หากนกั เรียนคนใดส่งเสียงดังและไม่ตัง้ ใจ เรียนจะหักคะแนนความประพฤติ แตถ่ ้านกั เรยี นคนใดสนใจ ตงั้ ใจเรียนและให้ความรว่ มมอื ในการจดั การ เรยี นการสอนทุกครง้ั จะเพมิ่ คะแนนจติ พิสยั ให้ แต่ถ้าหากไมป่ ฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง หรือตักเตอื นแล้วไม่ เช่ือฟงั จะให้ออกมาทำแบบฝกึ หัดหนา้ ช้ันเรียนให้เพือ่ นดู และจะส่ังงานเพ่มิ ให้เป็นกรณพี เิ ศษ” - ลดเน้ือหาบางส่วนทไี่ ม่สำคัญออกไป เน้นย้ำเน้อื หาทส่ี ำคัญบ่อยคร้งั เพื่อให้ผู้เรยี นจดจำ และ ถามคำถามบอ่ ย ๆ เพอื่ ให้ผู้เรียนมีความกระตอื รอื รน้ โดยการเสรมิ แรงทางบวกดว้ ยการ กล่าวชมเชยคน ทต่ี อบคำถามได้
4. สะท้อนคดิ /สงั เกต เด็กสว่ นใหญใ่ ห้ความสนใจในเร่อื งท่คี รูสอน เพราะเปน็ เร่อื งแปลกใหมจ่ ากทเี่ คยไดเ้ รยี นมา ทำ ใหเ้ กดิ การอยากรู้อยากเหน็ เวลาตอบคำถามครัง้ แรก ๆ จะมีแค่ 3-4 คนที่ตอบเพราะยังไมค่ นุ้ เคยกบั ครู และยังกลา้ ๆ กลัว ๆ เมื่อเริ่มค้นุ เคยมากข้นึ ทำให้เดก็ เกดิ การตอบสนอง เมื่อครูถามมกี ารโต้ตอบทันที แตย่ งั มีนกั เรยี นบางคนท่ีไม่สนใจ หรอื คุยกับเพ่ือน เนื่องจากเนื้อหาเยอะและการอธบิ ายค่อนข้างนาน ดงั น้นั ตอ้ งใช้วธิ กี ารถามคำถามบอ่ ย ๆ เพอ่ื กระตุ้นความสนใจในการเรยี น รวมถงึ การแลกเปลย่ี นความ คิดเห็นกนั เร่ืองทีส่ อน ลงชือ่ .............................. (นางสาวนารนิ เพ็งแสน) ตำแหน่ง ครผู ูส้ อน ……… / ……… /………. ความเห็นของผบู้ รหิ าร/ผไู้ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. .............................. ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................. ลงชื่อ........................................... (..........................................) ตำแหน่ง............................................ ............../......../..............
ใบงานท่ี 1 ลกั ษณะและหนา้ ท่ีสว่ นตา่ ง ๆ ของตน้ ส้ม สมาชกิ กล่มุ 1............................................................. 2............................................................. 3............................................................ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2
ใบความรู้ท่ี 1 เรื่อง ประวัตแิ ละลกั ษณะสว่ นตา่ ง ๆ ของสม้ เขยี วหวาน 1. ประวตั แิ ละความเปน็ มาของสม้ เขียวหวาน ส้มเขียวหวาน คือ ตน้ ไมช้ นดิ ไมผ้ ลและเปน็ ไมย้ ืนตน้ มีอายยุ าวนานหลายปี พฒั นาสายพันธุ์มาจากส้ม จนี ในประเทศไทยมผี ู้สนั นิษฐานว่ามีผู้นำเข้าต้นพนั ธุ์มาจากประเทศจนี เมื่อระยะเวลากวา่ 100 ปมี าแลว้ โดย ลักษณะทวั่ ไปของสม้ เขียวหวานมีรูปกลมมน แป้นเล็กน้อย ฐานผลกลมมน ด้านล่างเปน็ แอง่ ตืน้ ๆ ผิวผลเรยี บ มีเปลือกบาง เนื้อส้มภายในเป็นสีสม้ อมทอง ฉ่ำนำ้ กลบี แยกออกจากกนั ไดโ้ ดยงา่ ย ส้มบางชนดิ มีรสเปรย้ี ว บางชนดิ มีรสหวานอมเปรี้ยว และบางชนดิ มีรสหวานอรอ่ ยเม่ือแกะออกมาแล้วกลิน่ จะตดิ จมกู ทำให้เป็นทน่ี ยิ ม กนั เปน็ อยา่ งมาก ท้งั ในรปู ของผลไม้สดและในรปู ของน้ำสม้ คนั้ ซึง่ นอกจากจะให้คุณค่าทางอาหารสูงแล้ว การ บริโภคในลักษณะทรี่ วมทั้งเส้นใยและกากจะเปน็ ยาระบายอ่อนๆไดเ้ ปน็ อย่างดี ส้มชนดิ อนื่ ๆ ที่มีในประเทศ ไทย ไดแ้ ก่ สม้ จ๊ดี ส้มแก้ว สม้ จุก และส้มสายนำ้ ผึ้งซ่ึงมชี อ่ื เรยี กอีกอย่างหนึ่งวา่ สม้ เพชรยะลาหรือส้มโชกุน สม้ แตล่ ะชนดิ จะนยิ มปลูกในพ้นื ที่ท่แี ตกต่างกัน สม้ จี๊ดมกั นยิ มปลูกในกระถางเป็นไมป้ ระดบั เพราะมขี นาดต้นเล็ก ออกผลงา่ ย ผลมสี ีสม้ สดจำนวนมากแลดูสวยงาม สม้ แกว้ มปี ลูกมากในภาคกลางท่ีจังหวัดสมุทรสงคราม ส่วน สม้ จกุ มปี ลูกในภาคใตท้ ่ีจงั หวัดสงขลา สรุ าษฎร์ธานี และนครศรธี รรมราช ส้มท่ปี ลกู มากที่สุดในประเทศไทยคอื สม้ เขียวหวาน ซึง่ พนั ธุ์ทมี่ รี สหวานอร่อย ไดแ้ ก่ ส้มเขียวหวานพันธบ์ุ างมด จงั หวัดทม่ี กี ารปลกู สม้ เขยี วหวาน พันธ์บุ างมดมาก ได้แก่ ปทุมธานี นครนายก สระบรุ ี และลพบุรี สว่ นสม้ เขียวหวานทเ่ี รยี กวา่ สม้ สีทองหรอื สม้ ผวิ ทองมีปลกู มากที่จังหวดั แพร่ น่าน เชยี งใหม่ เชียงราย และสโุ ขทัย ส้มเขียวหวานท่ีผลิตในแต่ละปีจะใช้ บริโภคทงั้ ภายในประเทศและส่งออกไปจำหนา่ ยประเทศเพือ่ นบา้ น นำรายได้เขา้ ประเทศปีละหลายล้านบาท 2.ลักษณะและหน้าทขี่ องของส้มเขยี วหวาน สว่ นต่าง ๆ ท่สี ำคัญของสม้ ไดแ้ ก่ ลำตน้ กง่ิ กา้ น ใบและก้านใบ หนาม ดอก ผล เมลด็ และราก ใช้ เป็นขอ้ มลู พ้ืนฐาน เพอ่ื อธิบายลกั ษณะของสม้ แต่ละชนิดแตล่ ะพันธ์ุ และใช้จำแนกความแตกต่าง ตลอดจนใช้ ประโยชนใ์ นการพัฒนาปรับปรงุ สายพนั ธ์ุ ตน้ ส้มเขยี วหวาน
ตน้ ส้มเขียวหวาน มถี นิ่ กำเนดิ ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จดั เปน็ พรรณไม้พุ่มขนาดย่อม มีความสงู ของ ตน้ ได้ประมาณ 3-5 เมตร ลำต้นแตกกงิ่ กา้ นมาก กง่ิ อ่อนมีหนาม ต้นสม้ เขยี วหวานมถี น่ิ กำเนดิ ในแถบเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ จัดเป็นพรรณไมพ้ ุ่มขนาดยอ่ ม มีความสงู ของต้นไดป้ ระมาณ 3-5 เมตร ลำตน้ แตกกิง่ ก้าน มาก กง่ิ อ่อนมีหนาม ใบส้มเขียวหวาน ใบสม้ เขียวหวาน ใบเป็นใบเด่ยี ว ออกเรยี งสลบั ลักษณะของใบเปน็ รูปไขม่ นรี ปลายใบแหลม สว่ น ขอบใบเรยี บหรือมีฟนั เล่ือยเลก็ นอ้ ย ใบมขี นาดกว้างประมาณ 2.5-4 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 5.5-8 เซนติเมตร แผ่นใบเปน็ สีเขยี วเรยี บเป็นมัน เนือ้ ใบแข็ง มีตอ่ มน้ำมันอยตู่ ามแผ่นใบ ดอกสม้ เขียวหวาน ดอกส้มเขยี วหวาน ออกดอกเดย่ี วหรอื ออกเปน็ ช่อบรเิ วณง่ามใบและปลายยอดกงิ่ มกี าบใบ 5 ใบ มี 5 กลบี ดอกมขี นาดเล็กเป็นสีขาวอมเหลอื ง ดอกมีเกสรเพศผู้ประมาณ 18-24 อัน สว่ นเกสรเพศเมียมปี ระมาณ 3-5 อัน มีรงั ไข่ 9-15 อัน ผลส้มเขยี วหวาน ผลสม้ เขยี วหวาน ผลมีลักษณะคอ่ นขา้ งกลม เน้ือนิ่ม มขี นาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 5-7 เซนติเมตร เปลอื กนอกเปน็ สเี ขยี ว เมอ่ื สกุ จะเปล่ียนเป็นสีเขียวอมเหลอื งหรือสีเหลอื งแดง ผวิ ผลเรียบเกล้ียง และเปน็ มัน เปลอื กออ่ น ผวิ หนา และมนี ้ำมันที่เปลอื ก ภายในมเี น้ือลักษณะฉ่ำน้ำ แบ่งออกเปน็ กลีบ ๆ มสี ีสม้ แต่ละกลบี จะมเี มลด็ สีขาวอยูภ่ ายใน เมลด็ มีลักษณะเปน็ รปู ไข่ ปลายแหลม สขี าวนวล (เปลือกสีเขียวนยิ ม นำมาตากแหง้ ใชเ้ ป็นยา มีรสปร่าหอมร้อน)
เมล็ด เมลด็ ส้ม มีการเจรญิ และพัฒนามาจากไข่ (oval) รูปรา่ งคลา้ ยหยดน้ำ ดา้ นแหลมเปน็ ด้านที่รากงอก ออกมา และดา้ นตรงขา้ มซึง่ มีลักษณะป้าน รูปร่าง ขนาดของเมล็ด และสีของด้านปา้ น สามารถนำมาใช้เปน็ ลกั ษณะ ในการจำแนกชนดิ และพันธ์สุ ้มได้ เมลด็ ประกอบดว้ ยส่วนสำคัญต่าง ๆ คือ เปลอื กหุ้มเมล็ด (seed coat) ซ่งึ มี ๒ ช้ัน ชั้นนอกมสี ีเหลอื งฟางข้าว สว่ นชนั้ ในมลี กั ษณะเป็นเยอื่ บางสีนำ้ ตาล ตน้ อ่อน หรือท่เี รยี กว่า เอม็ บริโอ (embryo) คอื สว่ นท่ีจะเจรญิ พัฒนากลายเปน็ ตน้ และส่วนท่ีสะสมอาหารซ่งึ เรียกวา่ ใบเลีย้ ง (cotyledon) ราก เม่ือเมลด็ เริม่ งอก สว่ นของรากปฐมภูมิ (primary root) จะเจรญิ ออกมาก่อน และมกี ารพัฒนากลายเป็นราก แก้ว (tap root) โดยปกติจะมีเพียงรากเดียว และมีการแตกแขนงออกไปเรียกวา่ รากทุตยิ ภมู ิ (secondary root) รากทีม่ ีขนาดใหญ่เรยี กวา่ ไพโอเนียรร์ ูต (pioneer root) และทม่ี ลี ักษณะเป็นรากขนาดเล็กเปน็ กระจุก เจรญิ มาจากรากแก้วเรยี กวา่ รากฝอย (fibrous root) โดยท่วั ไปรากสม้ จะอยูใ่ นดินระดับคอ่ นข้างต้ืนประมาณ ๕๐ เซนตเิ มตร รากจะทำหน้าท่ีหยง่ั ยึดลำต้นกบั พ้ืนดนิ ดูดแร่ธาตอุ าหารและน้ำ เนือ้ สม้ เขียวหวาน หมายเหตุ : ในวงศเ์ ดยี วกันยังมีสม้ อกี ชนดิ หนึง่ คือ Citrus tangerina Hort. ซึ่งมี ลกั ษณะและสรรพคุณท่ีใกล้เคยี งกัน สามารถนำมาใชแ้ ทนกันได้
รปู สวนสม้ เขียวหวาน พนั ธุ์สที อง ของชาวบา้ นหาดร่วั
สม้ เขียวหวานบา้ นหาดร่วั
แบบประเมนิ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบุคคล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรวู้ ันที่ ....... เดอื น..................... พ.ศ. ............. เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลำดบั ชอื่ – สกุล ความ ความ การตอบ มสี ว่ นรว่ ม รวม ระดบั ท่ี ตั้งใจใน สนใจและ คำถาม ใน (16) คุณภาพ การเรียน การ (4) กิจกรรม (4) ซกั ถาม (4) (4) 1 เด็กชายวรี วฒุ ิ ปรชี า 2 เดก็ หญิงชวลั รตั น์ เครือกุลนา 3 เดก็ หญิงกฤชอร บญุ อนิ ทร์ 4 เดก็ ชายณฐั ภัทร พรมศรีดางาม 5 เดก็ หญงิ ณฐั ยา ใจยุ 6 เดก็ ชายธนวนิ ท์ วังโพธิ์ 7 เด็กชายณรงคฤ์ ทธิ์ เตม็ เขยี ว 8 เด็กชายสรวศิ กันธุ 9 เดก็ หญิงจริ ัชยา กกึ แกว้ 10 เดก็ ชายชยพล ทรัพย์สิน 11 เดก็ หญิงณฉตั ร ฆอ้ งชยั 12 เด็กหญิงวรัญญา เชียงดี 13 เด็กชายปรญิ ญาวัฒน์ ทองนอ้ ย 14 เด็กชายรวิพล สบื เต็ม 15 เดก็ หญิงสิรนิ ทร์ทิพย์ สอนแก้ว 16 เด็กหญงิ ธัญพิชชา อุดปา่ คา 17 เดก็ หญงิ เขมิกา ผัดเอย้ 18 เด็กหญิงอรณิชา งาเกาะ 19 เด็กชายรชต ดวงจันทร์ 20 เดก็ หญิงภูริชญา แกว้ มงิ่ มงคล
21 เด็กหญงิ เพชรรัตน์ อย่าเกง่ 22 เด็กหญิงลภสั ญา เปลี่ยนสี 23 เด็กชายภคชนก์ บญุ เรือง 24 เดก็ ชายกันทรากร เครอื พรมมินทร์ 25 เดก็ หญงิ รจุ ริ า ใจตบ๊ิ 26 เด็กหญิงจารวุ รรณ แก้วตบิ๊ 27 เด็กชายอิทธิพล กำมะณี 28 เด็กชายมนัสวนิ พนิ จิ การ 29 เดก็ ชายชญตว์ ถาหล้า 30 เด็กชายวรี ภัทร พรมแสน 31 เด็กชายทนิ ภทั ร เครือจนั ตา 32 เดก็ ชายณัฏฐพัชร์ พนั ธ์นมิ านันท์ 33 เด็กหญิงธนวรรณ ตนั แปง ลงช่ือ................................................................ผ้ปู ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑ์การให้คะแนนดงั ตารางแนบทา้ ย เกณฑก์ ารประเมินในการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ ดงั นี้ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การสรุปผลการประเมนิ 14 - 16 ดีมาก นักเรยี นที่ได้ระดับคณุ ภาพพอใช้ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผ่าน 11 - 13 ดี 8 - 10 พอใช้ 0-7 ปรบั ปรุง
เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การ ดมี าก (4) เกณฑก์ ารให้คะแนน ตอ้ งปรับปรงุ (1) ประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) 1. ความตั้งใจใน สนใจในการเรยี นไม่คุย สนใจในการเรียนคยุ สนใจในการเรยี นคยุ ไมส่ นใจในการเรียน การเรียน หรือเลน่ กนั ในขณะ กนั เลก็ นอ้ ยในขณะ กนั และเล่นกนั คุยและเล่นกนั 2. ความสนใจ และการซักถาม เรียน เรียน ในขณะเรียนเป็น ในขณะเรียน 3. การตอบ บางครงั้ คำถาม มีการถามในหัวข้อท่ีตน มกี ารถามในหวั ข้อท่ี มกี ารถามในหัวขอ้ ที่ ไมถ่ ามในหัวข้อที่ 4. มสี ่วนรว่ มใน กิจกรรม ไม่เขา้ ใจทุกเร่ืองและ ตนไมเ่ ขา้ ใจเปน็ ตนไม่เข้าใจเป็น ตนไม่เขา้ ใจและไม่ กลา้ แสดงออก สว่ นมากและกลา้ บางครั้งและไม่ค่อย กล้าแสดงออก แสดงออก กล้าแสดงออก ร่วมตอบคำถามในเร่อื ง รว่ มตอบคำถามใน รว่ มตอบคำถามใน ไมต่ อบคำถาม ที่ครถู ามและตอบ เร่อื งทคี่ รูถามและ เรื่องท่ีครถู ามเปน็ คำถามถกู ทกุ ข้อ ตอบคำถามส่วนมาก บางครง้ั และตอบ ถูก คำถามถูกเป็น บางครงั้ รว่ มมอื และชว่ ยเหลือ ร่วมมือและช่วยเหลือ ร่วมมอื และช่วยเหลือ ไม่มคี วามรว่ มมอื เพอื่ นในการทำ เพอื่ นเปน็ ส่วนใหญ่ใน เพ่ือนในการทำ ในขณะทำกิจกรรม กจิ กรรม การทำกจิ กรรม กิจกรรมเป็นบางครัง้
แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรวู้ ันที่ .......... เดือน........................ พ.ศ. ........... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลำดบั กลุ่ม การ การสนทนา การ พฤตกิ รรมการ รวม ระดับ ท่ี ปฏิสมั พนั ธก์ ัน เรอ่ื ง ติดต่อสื่อสาร ทำงานกล่มุ (16) คุณภาพ (4) ท่ีกำหนด (4) (4) (4) 1 เด็กชายวรี วุฒิ ปรชี า 2 เดก็ หญงิ ชวลั รตั น์ เครือกุลนา 3 เด็กหญิงกฤชอร บญุ อนิ ทร์ 4 เด็กชายณัฐภทั ร พรมศรดี างาม 5 เดก็ หญิงณฐั ยา ใจยุ 6 เดก็ ชายธนวินท์ วังโพธ์ิ 7 เดก็ ชายณรงค์ฤทธ์ิ เต็มเขียว 8 เด็กชายสรวศิ กนั ธุ 9 เด็กหญิงจริ ัชยา กกึ แก้ว 10 เด็กชายชยพล ทรัพย์สนิ 11 เด็กหญงิ ณฉัตร ฆ้องชยั 12 เดก็ หญิงวรญั ญา เชยี งดี 13 เด็กชายปรญิ ญาวัฒน์ ทองนอ้ ย 14 เดก็ ชายรวพิ ล สืบเต็ม 15 เดก็ หญิงสิรินทร์ทิพย์ สอนแกว้ 16 เด็กหญิงธญั พิชชา อดุ ปา่ คา 17 เดก็ หญิงเขมิกา ผดั เอย้ 18 เดก็ หญิงอรณชิ า งาเกาะ 19 เดก็ ชายรชต ดวงจนั ทร์ 20 เด็กหญิงภูรชิ ญา แก้วม่งิ มงคล 21 เดก็ ชายวีรวฒุ ิ ปรชี า 22 เด็กหญิงชวลั รตั น์ เครอื กลุ นา
23 เดก็ หญิงกฤชอร บุญอินทร์ 24 เดก็ ชายกนั ทรากร เครือพรมมนิ ทร์ 25 เด็กหญงิ รุจริ า ใจติบ๊ 26 เด็กหญงิ จารุวรรณ แกว้ ติ๊บ 27 เด็กชายอทิ ธพิ ล กำมะณี 28 เดก็ ชายมนัสวิน พนิ จิ การ 29 เด็กชายชญตว์ ถาหล้า 30 เด็กชายวรี ภทั ร พรมแสน 31 เดก็ ชายทินภทั ร เครือจนั ตา 32 เดก็ ชายณัฏฐพัชร์ พันธ์นิมานนั ท์ 33 เดก็ หญิงธนวรรณ ตนั แปง เกณฑ์การให้คะแนนดังตารางแนบทา้ ย ลงชือ่ ................................................................ผูป้ ระเมิน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ...................../..................../................... ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14 - 16 ดีมาก เกณฑ์การสรปุ ผลการประเมิน 11 - 13 ดี นกั เรียนท่ีไดร้ ะดับคุณภาพพอใช้ข้ึนไป ถือว่า ผา่ น 8 - 10 พอใช้ 0-7 ปรบั ปรุง
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายกลุ่ม (Rubric) ประเดน็ การ ดีมาก (4) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ต้องปรับปรงุ (1) ประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) 1. การปฏสิ มั พนั ธ์ ร่วมมอื และช่วยเหลือ ร่วมมอื และชว่ ยเหลอื รว่ มมือและชว่ ยเหลอื ไมใ่ ห้ความรว่ มมือ กัน เพือ่ นในการทำกจิ กรรม เพือ่ นเปน็ ส่วนใหญใ่ น เพอ่ื นในการทำ ในขณะทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม กจิ กรรมเปน็ บางครั้ง 2. การสนทนา สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเดน็ สนทนาตรงประเด็น สนทนาไมต่ รง เรือ่ งที่กำหนด ครอบคลุมเนอ้ื หา ครอบคลุมเนือ้ หา ประเด็น บางสว่ น 3. การ มกี ารปรกึ ษาครูและ มีการปรึกษาครแู ละ มกี ารปรึกษาครแู ละ ไมม่ ีการปรึกษาครู ติดต่อสื่อสาร เพอ่ื นกลุ่มอืน่ ๆ เพือ่ นกลมุ่ อ่นื ๆ เปน็ เพอื่ นกลุ่มอื่น ๆ เปน็ และเพอื่ นกล่มุ อืน่ ๆ ส่วนใหญ่ บางครง้ั 4. พฤติกรรมการ มีการวางแผนอย่าง มีการวางแผนอย่าง มีการวางแผนอย่าง ไม่มกี ารวางแผน ทำงาน เป็นระบบ และแบง่ เป็นระบบ และแบง่ เป็นระบบ และแบง่ อยา่ งเปน็ ระบบ หนา้ ที่ของสมาชิก หนา้ ท่ีของสมาชิก หนา้ ท่ีของสมาชกิ และไมม่ ีการแบง่ ในกลุ่ม ในกลุ่มเปน็ สว่ นใหญ่ ในกลุ่มเปน็ บางครัง้ หน้าท่ขี องสมาชิก ในกลุ่ม
ภาพการปฏิบตั กิ ารสอน หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: