หลกั ธรรมของผสู้ ่ัง สอนหรือให้ การศึกษา
1 รองปก
2 คำนำ
3
4 สำรบัญ
5 บทท่ี ๑ หลักธรรมของผู้ส่ังสอนหรือใหก้ ำรศกึ ษำ (ครู อาจารย์ หรอื ผู้แสดงธรรม) ผ้ทู าหนา้ ท่ีสง่ั สอน ให้การศึกษาแกผ่ ู้อื่น โดยเฉพาะครู อาจารย์ พงึ ประกอบด้วยคุณสมบัติ และประพฤตติ ามหลักปฏิบัติ ดงั นี้ ก. เป็นกัลยาณมติ ร ข. ต้งั ใจประสิทธค์ิ วามรู้ ค. มีลลี าครคู รบท้งั สี่ ง. มหี ลกั ตรวจสอบสาม จ. ทาหน้าทีค่ รตู อ่ ศิษย์ ก. เป็นกัลยาณมิตร คือ ประกอบดว้ ยองค์คุณของกัลยาณมิตร หรือ กัลยำณมิตรธรรม ๗ ประการ ดงั นี้ ๑. ปโิ ย น่ำรัก คือ มีเมตตากรุณา ใส่ใจคนและประโยชนส์ ขุ ของเขา เขา้ ถงึ จิตใจ สรา้ งความรสู้ กึ สนทิ สนมเปน็ กันเอง ชวนใจผู้เรียนให้อยากเขา้ ไปปรกึ ษาไต่ถาม ๒. ครุ นำ่ เคำรพ คือ เปน็ ผ้หู นกั แน่น ถือหลักการเปน็ สาคัญ และมี ความประพฤติสมควรแกฐ่ านะ ทาใหเ้ กิดความร้สู ึกอบอุน่ ใจ เปน็ ท่ีพ่ึงได้ และปลอดภัย ๓. ภาวนโี ย น่ำเจริญใจ คือ มีความรูจ้ ริง ทรงภมู ิปัญญาแท้จริง และเปน็ ผู้ฝึกฝนปรับปรุงตนอย่เู สมอ เปน็ ทนี่ ่ายกยอ่ งควรเอาอย่าง ทาให้ ศิษยเ์ อย่ อา้ งและราลึกถึงดว้ ยความซาบซงึ้ มั่นใจ และภาคภมู ิใจ ๔. วตฺตา รู้จกั พดู ใหไ้ ด้ผล คือ ร้จู ักชี้แจงให้เขา้ ใจ รู้ว่าเมื่อไรควร พดู อะไร อย่างไร คอยใหค้ าแนะนาวา่ กลา่ วตักเตือน เปน็ ท่ีปรกึ ษาทีด่ ี
6 ๕. วจนกขฺ โม อดทนตอ่ ถ้อยคำ คอื พรอ้ มทจ่ี ะรับฟงั คาปรึกษา ซกั ถามแม้จุกจิก ตลอดจนคาลว่ งเกินและคาตักเตือนวิพากษว์ จิ ารณ์ต่างๆ อดทน ฟังได้ ไมเ่ บื่อหน่าย ไม่เสียอารมณ์* ๖.คมฺภรี ญฺจ กถํ กตฺตา แถลงเรอ่ื งลำลึกได้ คอื กล่าวชแี้ จงเรอื่ ง ต่างๆ ที่ยงุ่ ยากลกึ ซึ้งใหเ้ ข้าใจได้ และสอนศิษย์ใหไ้ ด้เรยี นรู้เร่อื งราวที่ลกึ ซึ้ง ยิ่งขึ้น ๗. โน จฏฐฺ าเน นิโยชเย ไม่ชกั นำในอฐำน คือ ไม่ชักจงู ไปในทางที่ เสอ่ื มเสยี หรือเร่ืองเหลวไหลไมส่ มควร (องฺ.สตตฺ ก. ๒๓/๓๔/๓๓) ข. ตั้งใจประสิทธ์ิความรู้ โดยตง้ั ตนอยู่ในธรรมของผู้แสดงธรรม ท่เี รียกว่า ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คือ ๑. อนบุ ุพพิกถา สอนให้มีขันตอนถูกลำดับ คือ แสดงหลักธรรม หรอื เนอ้ื หาตามลาดบั ความง่ายยากลุ่มลึก มีเหตุผลสัมพนั ธต์ อ่ เน่ืองกันไป โดยลาดบั ๒. ปริยายทสั สาวี จบั จุดสำคญั มำขยำยให้เขำ้ ใจเหตุผล คอื ช้ีแจง ยกเหตผุ ลมาแสดง ให้เข้าใจชัดเจนในแตล่ ะแง่แตล่ ะประเดน็ อธิบาย ยักเยื้องไปตา่ งๆ ใหม้ องเหน็ กระจา่ งตามแนวเหตผุ ล ๓. อนทุ ยตา ตงั จิตเมตตำสอนด้วยควำมปรำรถนำดี คอื สอนเขา ด้วยจิตเมตตา ม่งุ จะใหเ้ ปน็ ประโยชน์แกผ้ รู้ ับคาสอน ๔. อนามสิ นั ดร ไม่มจี ิตเพ่งเลง็ เห็นแกอ่ ำมสิ คอื สอนเขามใิ ชม่ ใิ ช่ มุ่งทตี่ นจะได้ลาภ สินจา้ ง หรือผลประโยชน์ตอบแทน ๕. อนุปหัจจ*์ วำงจิตตรงไม่กระทบตนและผอู้ ืน่ คือ สอนตาม หลักตามเนือ้ หา มงุ่ แสดงอรรถ แสดงธรรม ไมย่ กตน ไม่เสียดสขี ม่ ขีผ่ ู้อ่นื (องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕)
7 ค. มลี ีลาครคู รบท้ังสี่ ครูที่สามารถมีลลี าของนักสอน ดงั น้ี ๑. สันทัสสนา ชีใหช้ ัด จะสอนอะไร ก็ช้ีแจงแสดงเหตุผล แยกแยะ อธบิ ายให้ผูฟ้ งั เข้าใจแจ่มแจง้ ดังจูงมอื ไปดูเหน็ กับตา ๒. สมาทปนา ชวนให้ปฏบิ ัติ คือ สิ่งใดควรทา กบ็ รรยายให้ มองเห็นความสาคญั และซาบซ้งึ ในคุณคา่ เห็นสมจรงิ จนผ้ฟู งั ยอมรบั อยากลงมอื ทา หรือนาไปปฏบิ ตั ิ ๓. สมุตเตชนา เร้ำใหก้ ลำ้ คอื ปลุกใจใหค้ ึกคัก เกิดความ กระตือรอื รน้ มีกาลังใจแข็งขัน ม่ันใจจะทาใหส้ าเรจ็ ไมก่ ลัวเหน็ดเหน่อื ย หรอื ยากลาบาก ๔. สัมปหงั สนา ปลุกใหร้ ่ำเริง คอื ทาบรรยากาศให้สนุกสดช่นื แจม่ ใส เบิกบานใจ ให้ผ้ฟู งั แช่มช่นื มคี วามหวัง มองเหน็ ผลดีและทางสาเรจ็ จําง่ายๆ วา่ สอนให้ แจม่ แจ้ง จงู ใจ แกลว้ กล้า ร่าเรงิ (เช่น ที.ส.ี ๙/๑๙๘/๑๖๑) ง. มีหลักตรวจสอบสาม เม่ือพูดอย่างรวบรดั ทีส่ ุด ครอู าจตรวจสอบตนเอง ด้วยลกั ษณะการสอนของพระบรมครู ๓ ประการ คือ ๑. สอนด้วยความรจู้ รงิ รจู้ ริง ทาไดจ้ รงิ จึงสอนเขา ๒. สอนอย่างมีเหตุผล ใหเ้ ขาพจิ ารณาเขา้ ใจแจง้ ดว้ ยปญั ญาของ เขาเอง ๓. สอนใหไ้ ด้ผลจรงิ สาเร็จความมุ่งหมายของเรอ่ื งท่สี อนนัน้ ๆ เชน่ ใหเ้ ขา้ ใจไดจ้ รงิ เห็นความจริง ทาได้จรงิ นาไปปฏิบตั ิได้ผลจริง เป็นตน้ (อง.ฺ ติก. ๒๐/๕๖๕/๓๕๖)
8 จ. ทาหนา้ ท่คี รูตอ่ ศษิ ย์ คือ ปฏิบัติตอ่ ศษิ ย์ โดยอนเุ คราะห์ตามหลกั ธรรม เสมอื นเป็น ทศิ เบื้องขวา* ดังนี้ ๑. แนะนาฝึกอบรมใหเ้ ปน็ คนดี ๒. สอนใหเ้ ขา้ ใจแจม่ แจง้ ๓. สอนศิลปวิทยาใหส้ ้นิ เชงิ ๔. ส่งเสริมยกย่องความดีงามความสามารถให้ปรากฏ ๕. สรา้ งเคร่อื งคมุ้ ภยั ในสารทิศ คอื สอนฝกึ ศิษย์ให้ใช้วชิ าเลย้ี งชพี ได้จรงิ และรูจ้ ักดารงตนด้วยดี ท่ีจะเปน็ ประกันใหด้ าเนินชีวิตดงี ามโดยสวสั ดี มีความสุขความเจรญิ ** (ท.ี ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)
9 บทท่ี ๒ หลักธรรมของผ้เู ลำ่ เรียนศึกษำ (นักเรยี น นักศกึ ษำ นักคน้ ควำ้ ) คนทีเ่ ลา่ เรยี นศึกษา จะเป็นนักเรียน นักศึกษา หรอื นักคน้ ควา้ ก็ ตาม นอกจากจะพึงปฏิบัตติ ามหลกั ธรรมสาหรับคนทจี่ ะประสบ ความสาเร็จ คอื จกั ร ๔* และอทิ ธิบาท ๔* แลว้ ยังมีหลกั การท่ีควรรู้ และ หลกั ปฏิบัตทิ ่ีควรประพฤติอกี ดังต่อไปน้ี ก. รูห้ ลกั บพุ ภาคของการศึกษา ข. มีหลักประกันของชีวิตทีพ่ ัฒนา ค. ทาตามหลกั เสริมสรา้ งปัญญา ง. ศกึ ษาให้เป็นพหูสูต จ. เคารพผูจ้ ุดประทีปปัญญา ก. ร้หู ลักบพุ ภำคของกำรศึกษำ คือ รู้จกั องคป์ ระกอบท่ีเปน็ ปัจจัยแห่งสัมมาทฏิ ฐิ ๒ ประการ ดังนี้ ๑. องคป์ ระกอบภายนอกท่ีดี ได้แก่ มีกลั ยาณมติ ร หมายถึง รูจ้ กั หาผู้แนะนาส่ังสอน ท่ีปรึกษา เพอ่ื น หนังสือ ตลอดจนสิ่งแวดลอ้ มทาง สงั คมโดยท่ัวไปที่ดี ท่ีเก้ือกลู ซึง่ จะชักจูง หรือกระตนุ้ ใหเ้ กิดปญั ญาได้ดว้ ย การฟงั การสนทนา ปรกึ ษา ซักถาม การอ่าน การค้นคว้า ตลอดจนการ รู้จักเลือกใชส้ อ่ื มวลชนใหเ้ ป็นประโยชน์ ๒. องคป์ ระกอยภายในทดี่ ี ได้แก่ โยนิโสมนสิการ หมายถงึ การใช้ ความคิดถูกวิธี รู้จกั คิด หรอื คิดเปน็ คอื มองสงิ่ ท้ังหลายด้วยความคดิ พจิ ารณา สืบสาวหาเหตุผล แยกแยะสง่ิ นั้น ๆ หรือปัญหาน้ัน ๆ ออกให้เหน็
10 ตามสภาวะและตามความสมั พันธ์แห่งเหตปุ จั จัย จนเข้าถงึ ความจรงิ และ แกป้ ญั หาหรือทาประโยชนใ์ ห้เกิดข้ึนได้ กล่าวโดยยอ่ วา่ ขอ้ หน่งึ รจู้ ักพึ่งพาให้ไดป้ ระโยชนจ์ ากคนและสิง่ ท่แี วดล้อม ขอ้ สอง รู้จกั พึ่งตนเอง และทาตัวใหเ้ ป็นทีพ่ ึ่งของผอู้ ่ืน (ม.มู. ๑๒/๔๙๗/๕๓๙) ข. มหี ลักประกันของชีวติ ทพี่ ัฒนำ เมอ่ื รู้หลกั บุพภาคของการศึกษา ๒ อยา่ งแล้ว พึงนามาปฏิบตั ิใน ชวี ิตจรงิ พรอ้ มกับสรา้ งคณุ สมบตั ิอืน่ อกี ๕ ประการใหม้ ีในตน รวมเป็นองค์ ๗ ทเี่ รยี กวา่ แสงเงนิ แสงทองของชีวิตทีด่ งี าม หรอื รงุ่ อรุณของการศึกษา ที่ พระพทุ ธเจ้าทรงเปรยี บวา่ เหมือนแสงอรุณทเี่ ปน็ บพุ นิมิตแห่งอาทิตย์อทุ ัย เพราะเป็นคณุ สมบตั ิต้นทุนที่เป็นหลกั ประกนั ว่า จะทาให้กา้ วหนา้ ไปใน การศึกษา และชวี ติ จะพัฒนาสู่ความดีงามและความสาเร็จท่สี งู ประเสรฐิ อยา่ งแนน่ อน ดังต่อไปนี้ ๑. แสวงแหล่งปัญญาและแบบอยา่ งท่ดี ี ๒. มวี ินยั เปน็ ฐานของการพัฒนาชีวิต ๓. มีจติ ใจใฝร่ ู้ใฝ่สร้างสรรค์ ๔. มุง่ มน่ั ฝกึ ตนจนเตม็ สดุ ภาวะทค่ี วามเป็นคนจะให้ถึงได้ ๕. ยดึ ถือหลกั เหตปุ ัจจัยมองอะไรๆ ตามเหตแุ ละผล ๖. ตั้งตนอยใู่ นความไม่ประมาท ๗. ฉลาดคดิ แยบคายให้ไดป้ ระโยชนแ์ ละความจริง ค. ทำตำมหลักเสริมสร้ำงปัญญำ
11 ในทางปฏบิ ัติ อาจสรา้ งปจั จัยแห่งสมั มาทิฏฐิ ๒ อยา่ งขา้ งต้นน้ันได้ ด้วยการปฏบิ ัติตามหลกั วุฒิธรรม* (หลักการสร้างความเจริญงอกงามแห่ง ปัญญา) ๔ ประการ ๑. สปั ปรุ ิสสังเสวะ เสวนาผรู้ ู้ คอื รจู้ กั เลือกหาแหลง่ วิชา คบหา ท่านผู้รู้ ผู้ทรงคณุ ความดี มภี ูมธิ รรมภมู ปิ ญั ญาน่านบั ถือ ๒. สัทธมั มัสสวนะ ฟงั ดคู าสอน คอื เอาใจใส่สดับตรับฟังคา บรรยาย คาแนะนาส่งั สอน แสวงหาความรู้ ท้ังจากตวั บุคคลโดยตรง และ จากหนงั สอื หรือสือ่ มวลชน ตั้งใจเลา่ เรยี น ค้นคว้า หมนั่ ปรึกษาสอบถาม ให้ เข้าถึงความรู้ทีจ่ ริงแท้ ๓. โยนโิ สมนสิการ คดิ ให้แยบคาย คอื รู้ เหน็ ได้อ่าน ไดฟ้ ังส่ิงใด ก็ร้จู ักคิดพจิ ารณาด้วยตนเอง โดยแยกแยะให้เหน็ สภาวะและสืบสาวให้เหน็ เหตผุ ลว่านนั่ คืออะไร เกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร ทาไมจงึ เป็นอย่างน้ัน จะเกิดผล อะไรต่อไป มีขอ้ ดี ขอ้ เสีย คุณโทษอยา่ งไร เป็นตน้ ๔. ธรรมานุธรรมปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ ูกหลกั นาส่ิงที่ไดเ้ ลา่ เรียนรับ ฟังและตรติ รองเห็นชดั แลว้ ไปใชห้ รอื ปฏบิ ตั หิ รือลงมือทา ใหถ้ กู ต้องตาม หลักตามความมุ่งหมาย ใหห้ ลักยอ่ ยสอดคล้องกบั หลักใหญ่ ขอ้ ปฏิบตั ิย่อย สอดคล้องกับจุดหมายใหญ่ ปฏิบตั ิธรรมอย่างรู้เป้าหมาย เช่น สันโดษเพ่อื เกอ้ื หนนุ การงาน ไมใ่ ชส่ ันโดษกลายเปน็ เกยี จคร้าน เปน็ ตน้ (องฺ.จตกุ ฺก. ๒๑/๒๔๘/๓๓๒) ง. ศึกษำให้เป็นพหูสตู คือ จะศกึ ษาเล่าเรียนอะไร ก็ทาตนให้เป็นพหูสตู ในดา้ นนัน้ ด้วย การสร้างความรู้ความเขา้ ใจใหแ้ จ่มแจง้ ชดั เจนถงึ ขน้ั ครบ องคค์ ุณของ พหูสตู (ผไู้ ด้เรียนมาก หรือผู้คงแก่เรยี น) ๕ ประการ คือ
12 ๑. พหสุ สฺ ตุ า ฟังมาก คือ เลา่ เรียน สดบั ฟัง รู้เหน็ อา่ น ส่ังสม ความรใู้ นดา้ นน้ันไว้ใหม้ ากมายกวา้ งขวาง ๒. ธตา จาได้ คือ จับหลักหรอื สาระได้ ทรงจาเร่ืองราวหรอื เนอ้ื หา สาระไว้ได้แม่นยา ๓. วจสา ปรจิ ติ า คลอ่ งปาก คือ ท่องบน่ หรือใช้พดู อยู่เสมอ จน แคล่วคลอ่ งจดั เจน ใครสอบถามก็พูดช้แี จงแถลงได้ ๔. มนสานเุ ปกขฺ ิตา เจนใจ คือ ใส่ใจนึกคิดจนเจนใจ นึกถึงคร้ังใด กป็ รากฏเนอื้ ความสวา่ งชัดเจน มองเห็นโล่งตลอดไปท้งั เร่ือง ๕. ทิฏฺฐยิ า สปุ ฏวิ ิทธฺ า ขบได้ด้วยทฤษฎี คอื เข้าใจความหมายและ เหตผุ ลแจม่ แจง้ ลึกซง้ึ รูท้ ่ีไปที่มา เหตผุ ล และความสัมพันธข์ องเน้ือความ และรายละเอียดตา่ งๆ ท้ังภายในเรอ่ื งนัน้ เอง และทเ่ี กยี่ วโยงกับเรื่องอนื่ ๆ ในสายวิชาหรอื ทฤษฎีน้นั ปรุโปร่งตลอดสาย (องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๘๗/๑๒๙) จ. เคำรพผู้จดุ ประทปี ปัญญำ ในดา้ นความสมั พนั ธก์ บั ครูอาจารย์ พงึ แสดงคารวะนับถือ ตาม หลักปฏิบตั ใิ นเรือ่ งทิศ ๖ ข้อว่าด้วย ทศิ เบือ้ งขวา* ดงั น้ี ๑. ลกุ ตอ้ นรับ แสดงความเคารพ ๒. เขา้ ไปหา เพื่อบารุง รบั ใช้ ปรึกษา ซกั ถาม รบั คาแนะนา เปน็ ตน้ ๓. ฟังด้วยดี ฟงั เปน็ รู้จกั ฟังใหเ้ กิดปัญญา ๔. ปรนนิบัติ ชว่ ยบรกิ าร ๕. เรยี นศลิ ปวทิ ยาโดยเคารพ เอาจริงเอาจัง ถือเปน็ กจิ สาคัญ (ท.ี ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓) บรรณานุกรม
13 บรรณำนุกรม พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). ธรรมนูญชวี ิต. มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลยั , กรุงเทพฯ : ๒๕๔๐.
14
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: