Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการออกแบบระบบฐานข้อมูล phpmyadmin

วิชาการออกแบบระบบฐานข้อมูล phpmyadmin

Published by deunnony, 2020-07-10 02:49:52

Description: วิชาการออกแบบระบบฐานข้อมูล phpmyadmin

Search

Read the Text Version

Chapter 10 PHP Database Management System (phpMyAdmin) 954242 Web Programming Sec.002 Semester 02/2555 Sakol Liamprawat [email protected]

วตั ถปุ ระสงค์ 2  สามารถอธบิ ายวิธีการจดั การฐานข้อมลู โดยใช้ phpMyAdmin ได้  สามารถจดั การฐานขอ้ มูลโดยใช้ phpMyAdmin ได้

Introduction to Database 3  โครงสรา้ งของขอ้ มลู  บิต (Bit) คอื หน่วยท่ีเลก็ ท่ีสดุ ของขอ้ มลู ที่คอมพิวเตอร์สามารถจัดเกบ็ ขอ้ มูลในหนว่ ยความจา ประกอบด้วยเลขฐาน สอง กค็ อื 0 และ 1  ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Characters) คือ การนากลมุ่ ของบติ 7 Bits หรอื 8 Bits มารวมกัน เปน็ ตวั อักษร ตัวเลขหรือสัญลักษณ์พเิ ศษ หนงึ่ ตวั อักษร เช่น รหัส ASCII 1 ไบต์ ซึ่งจะเก็บ ขอ้ มูล 01000001 แทนตัวอักษร A  ฟลิ ด์ (Field) คอื ขอ้ มลู ท่ีประกอบด้วยอักขระ เพอื่ ให้สามารถส่ือความหมายตามท่ีผใู้ ช้ต้องการ เชน่ ช่อื นักศกึ ษา นามสกุลนกั ศกึ ษา เป็นตน้  ระเบียน (Record) คือ การรวมกลมุ่ ของฟลิ ด์หลายๆ ฟิลดท์ ม่ี คี วามหมายเก่ยี วพันกนั มารวมกัน อยา่ งมีความหมาย  ไฟล์หรือแฟม้ ข้อมูล (File) คือ เป็นการรวมกนั ของระเบียนหลายๆ ระเบียนทเี่ กีย่ วพันกนั มารวมกัน เช่น แฟ้มข้อมลู นักศึกษา แฟ้มข้อมูลการขายสนิ ค้า  ฐานข้อมลู (Database) คอื กลุม่ ของข้อมูลทีเ่ ป็นขอ้ เท็จจริง (Real Fact) ทถี่ ูกนามารวมไว้ในท่ี เดยี วกนั อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือนาไปใชใ้ นวตั ถุประสงคอ์ ย่างใดอย่างหนึง่ ข้อมูลน้ันอาจเป็นข้อความ รปู ภาพ ซึ่งแต่ละไฟล์ทนี่ ามารวมกนั จะมีความซา้ ซ้อนของข้อมูลนอ้ ยท่สี ุด

Introduction to Database 4 Bit 0 กบั 1 Byte or Character น Field นายเว็บ โปรแกรมมิ่ง Record 542110999 นายเว็บ โปรแกรมม่ิง 954242 A File รหัสนักศกึ ษา ชอื่ -สกลุ วิชา เกรด 542110999 นายเวบ็ โปรแกรมมิ่ง 954242 A 542111000 นายคอม โปรแกรมมิ่ง 954241 B+ ไฟลข์ อ้ มูลนกั ศกึ ษา Database ไฟล์ขอ้ มลู นักศกึ ษา ไฟล์ขอ้ มลู วิชา ไฟล์ขอ้ มูลการลงทะเบียน

Introduction to Database 5  การจัดเกบ็ แฟ้มข้อมลู ด้วยคอมพิวเตอรใ์ นยุคแรกๆ มรี ูปแบบจดั เก็บคล้ายการจดั เกบ็ แฟม้ เอกสารดว้ ยมอื แตเ่ ป็นการเกบ็ ไวใ้ นคอมพวิ เตอร์ การประมวลผลดว้ ยระบบแฟม้ ข้อมูล  แตล่ ะหน่วยงานมกี ารจัดเก็บขอ้ มูลเหมอื นกนั ไว้ท่ตี ่างกนั  เชน่ A คือแฟ้มขอ้ มูลพนกั งาน เวลาจะเรยี กใช้งานเรยี กใช้งานผา่ นโปรแกรมประยุกตข์ องตนเองท่ี สร้างข้นึ มา ทาให้ข้อมลู ผา่ นโปรแกรมตัวเอง  ขอ้ มูลในองค์กรมคี วามซ้าซอ้ นกนั กระจดั กระจาย ยากต่อการแก้ไข บารงุ รักษา สับสนขดั แยง้ กนั

Introduction to Database 6 ข้อดรี ะบบแฟม้ ข้อมูล ขอ้ จากดั ระบบแฟม้ ข้อมลู  ง่ า ย ต่ อ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ พั ฒ น า ค ว า ม • ข้อมูลซา้ ซอ้ น เช่น แฟ้มขอ้ มูล A B D E ถูกเกบ็ สลับซับซ้อนในข้ันตอนการออกแบบและการ โดยแตล่ ะ User • ยากต่อการปรับปรุงแก้ไข ถ้าต้องแก้ไขข้อมูลใน พัฒนามีไม่มาก เพราะพัฒนาระบบเพียงหน่ึงแอ แฟม้ ข้อมูล A ของ User 1 กต็ ้องไปแก้ไขข้อมูล พลิเคชนั (Single Application) ของ User 2 และ User 3 ดว้ ย  การประมวลแบบแฟ้มข้อมูลเป็นวิธีดั้งเดิม มี ความรวดเร็ว เพราะการประมวลผลข้อมูล • การผูกติดกับข้อมูล การเขียนโปรแกรมในยุคเก่า ต้องกาหนดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลในไว้ สามารถกาหนดแฟ้มท่ีเก่ียวข้องจากโปรแกรม โปรแกรม ยากต่อการปรับปรุงโครงสร้างของ ประยุกต์ที่เขียนไว้โดยตรง ทาให้ประมวลผล แฟ้มขอ้ มลู ขอ้ มลู ไดอ้ ย่างรวดเรว็ • ข้อมูลกระจัดกระจาย เช่นแฟม้ ข้อมูล A มีอยใู่ น พ้นื ทเี่ ก็บข้อมูลของผใู้ ช้ทั้งสามคน

Introduction to Database 7  ประเภทของแฟม้ ขอ้ มลู  แฟม้ หลัก (Master File) เป็นไฟล์ทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู ที่มกั ไมม่ ีรายการเปลีย่ นแปลง หรือมีสภาพ คอ่ นขา้ งคงท่ี  แฟม้ รายการธรุ กรรม (Transaction File) เป็นไฟล์ทจ่ี ัดเก็บขอ้ มลู การดาเนนิ ธุรกรรมประจา วนั ท่ีมักมคี วามเคลอื่ นไหวอยเู่ สมอ  แฟม้ อา้ งอิง (Reference File) เปน็ ไฟล์หรอื ตารางท่ีใช้สาหรบั การอ้างอิง เพ่ือใชง้ าน ร่วมกันโดยข้อมูลต่าง ๆ ทจ่ี ดั เกบ็ ลงในไฟล์น้คี อ่ นข้างคงทห่ี รือมักไม่ค่อยเปล่ียนแปลงใด ๆ  ฐานขอ้ มลู (Database) คือ กลมุ่ ของแฟม้ ข้อมลู ท่มี คี วามสมั พันธ์กันและถูกนามารวมกัน เชน่ ฐานขอ้ มลู ในมหาวทิ ยาลยั แห่งหนงึ่ ประกอด้วยแฟ้มขอ้ มูลต่างๆ ซงึ่ แต่ละแฟม้ ตา่ ง มีความสัมพันธก์ ัน เชน่ แฟม้ ขอ้ มูลนักศึกษา แฟม้ ขอ้ มูลกระบวนวิชา แฟม้ ข้อมูลอาจารย์ แฟม้ ขอ้ มูลการลงทะเบียน แฟ้มขอ้ มลู ผลการเรยี น เป็นต้น

Introduction to Database 8 การประมวลผลด้วยระบบฐานข้อมูล

Introduction to Database 9  ขอ้ ดขี องระบบฐานขอ้ มลู เปรียบเทียบกบั ระบบแฟ้มข้อมูล  ลดการเก็บข้อมลู ซา้ ซ้อน ขอ้ มูลในรูปแฟ้มขอ้ มลู ท่ีมีอยูห่ ลายๆ แหง่ เพราะมีผู้ใชข้ ้อมูล หลายคน เมือ่ ใช้ระบบฐานขอ้ มูลแล้วจะช่วยให้ความซ้าซ้อนของข้อมูลลดลง  รกั ษาความถูกต้องของขอ้ มลู เพราะมีเพียงฐานข้อมูลเดียว เมือ่ มีการแกไ้ ขข้อมลู ก็จะแกไ้ ข ท่ีเดียว  สามารถใชข้ ้อมูลรว่ มกนั ได้ ระบบฐานข้อมูลเปน็ ทีเ่ ก็บรวบรวมขอ้ มูลทุกอย่าง ผูใ้ ชง้ าน สามารถท่ีจะใช้ข้อมลู ท่อี ยูใ่ นระบบได้  ข้อมูลมอี สิ ระ เม่อื ผใู้ ช้งานตอ้ งการเปลย่ี นแปลงขอ้ มูลหรือนาขอ้ มลู มาประยุกตใ์ ช้ให้ เหมาะสมกบั โปรแกรมท่ีพัฒนาขึน้ สามารถสร้างขอ้ มูลนน้ั ขึน้ มาใชใ้ หม่ได้ โดยไม่มีผลกระทบ ตอ่ ระบบฐานขอ้ มลู  สามารถขยายงานไดง้ า่ ย หากตอ้ งการเพิ่มเติมข้อมูลที่เกย่ี วขอ้ ง สามารถเพม่ิ ได้ง่าย เพราะ ข้อมูลมีอิสระ ไมก่ ระทบต่อขอ้ มลู เดิมท่มี อี ยู่

Introduction to Database 10  ระบบจดั การฐานข้อมลู (Database Management System : DBMS) คอื ซอฟตแ์ วร์ ที่ใช้ในการจดั การฐานขอ้ มลู เปรยี บเสมือนตัวกลางระหว่างผใู้ ชง้ านกบั ฐานขอ้ มลู ทา หน้าท่สี ร้าง เรียกใชข้ อ้ มลู หรือปรับปรงุ ฐานขอ้ มลู โดยการทางานกับฐานข้อมลู จะต้อง ทางานอ่านผ่าน DBMS ซงึ่ ผู้ใช้งานทาหน้าท่อี อกคาสง่ั ให้กับ DBMS แล้ว DBMS จะทา หนา้ ทใี่ นการจดั การฐานขอ้ มูลตามคาสง่ั น้ัน

Introduction to Database 11  ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ (Relational Database) คิดค้นพฒั นาโดย อี เอฟ คอดด์ (E.F.Codd) เปน็ รปู แบบของฐานขอ้ มลู ท่ีนยิ มใชก้ ันมากในปัจจุบัน เนื่องจากการใชง้ าน งา่ ย ไมย่ งุ่ ยาก มเี ครอื่ งมอื ชว่ ยในการจดั การขอ้ มูลอยา่ งเช่นคาสงั่ SQL ตัวอยา่ งของ ระบบเช่น DB2, Oracle, Ingree, dBase, Foxpro และ Access เปน็ ตน้  ฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธ์ คอื กลมุ่ ของขอ้ มูลทมี่ กี ารจัดโครงสร้างในตารางที่สัมพนั ธ์กัน แต่ ละตารางเปน็ กล่มุ ของแบบแผนของสงิ่ ทส่ี นใจ ได้แก่ กลุม่ ลกู ค้า ผลติ ภณั ฑ์ แตล่ ะตาราง จะประกอบดว้ ยชุดของแถว (Row หรือ Record) และคอลัมน์ (Attribute หรือ Field) ที่แสดงถงึ ข้อมูลในตาราง แต่ละคอลมั นแ์ สดงถงึ ขอ้ มลู ชนดิ เดียวกนั เชน่ ช่ือ ตาแหน่ง ท่ี อยู่ สว่ นแต่ละแถวจะประกอบด้วยชุดของขอ้ มูลทส่ี มบูรณห์ นงึ่ รายการ ซึ่งก็คอื การ รวบรวม Entity อยรู่ ะบบทมี่ คี วามสัมพนั ธ์ระหว่างกนั เข้าไวด้ ว้ ยกนั

Introduction to Database 12  Entity เปน็ คาที่อา้ งถึงบุคคล สถานที่ และสงิ่ ของตา่ งๆ เช่น สินคา้ ใบสั่งซอื้ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมลู การส่ังซ้ือสนิ ค้า Entity ของระบบนจี้ ะประกอบด้วย Entity ลกู คา้ ใบสง่ั ซ้อื สินคา้ และสินค้า  Attribute เป็นข้อมลู ทีแ่ สดงลกั ษณะของ Entity เช่น Attribute ของ Entityลกู ค้า จะมีช่อื ที่อยู่ และรหสั ไปรษณยี ์ สว่ น Attribute ของ Entity ใบส่งั ซือ้ สินค้า มีรหสั ใบส่งั ซอื้ วนั ท่ีสง่ั ซ้ือ ช่ือสินคา้ จานวนสินค้าที่สัง่ และราคาสินค้า

Introduction to Database 13  ความสมั พนั ธ์ (Relationships) หมายถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ ง Entity ต่างๆในระบบ เช่น ในระบบการสัง่ ซ้อื สินค้า จะประกอบด้วย Entity ใบสั่งซอื้ สนิ คา้ และ Entity ลูกคา้ ซ่ึงมี ความสมั พันธ์จากลูกค้าไปยงั ใบส่ังซ้ือสินคา้ เปน็ แบบหน่งึ ต่อกลุม่ (One-to-Many) หมายความ ว่า ลูกคา้ สามารถสั่งสินค้าไดห้ ลายๆครัง้ คอื มีใบส่ังสนิ คา้ หลายใบนน่ั เอง แต่ใบสงั่ ซอ้ื แตล่ ะใบ จะมาจากลกู ค้าเพยี งรายเดียวเทา่ นน้ั เปน็ ตน้

Introduction to Database 14 EMPLOYEE Entity มี Attribute “DEPNO” เปน็ ตวั เชอื่ มความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งสอง Entity DEP Entity

Introduction to Database 15  ความสมั พันธห์ นึ่งต่อหนงึ่ (One-to-One Relationships) Record หน่ึงของตารางหนึ่ง จะมี ความสัมพนั ธก์ บั อกี Record ในอีกตารางหน่งึ เท่านัน้ ไม่สามารถมเี กนิ 1 ได้  ความสมั พันธแ์ บบหน่งึ ตอ่ กลุม่ (One-to-Many Relationships) เปน็ ความสัมพันธท์ ่ี Record หน่ึง ของตารางหนงึ่ จะสมั พันธ์กบั สอง Record หรอื มากกว่าในอกี ตารางหนงึ่  ความสมั พันธ์แบบกล่มุ ต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships) สามารถสร้างความสัมพันธ์แบบนี้ ได้ โดยสรา้ งตารางใหม่ทีค่ วามสมั พันธแ์ บบ Many-to-One กบั ตาราง 2 ตารางทม่ี คี วามสมั พันธ์แบบ Many-to-Many relationships

Introduction to Database 16  ชนดิ ของคียใ์ นฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์ ในระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พันธ์ ตอ้ งกาหนดชนดิ ของคยี ์ เพ่อื เป็น Attribute พิเศษทท่ี าหนา้ ที่บางอยา่ ง เชน่ เป็นตัวแทนของตาราง ซ่ึง ถกู กาหนดข้นึ มาเพอื่ ความสะดวกในการอ้างถงึ ทฤษฎเี กย่ี วกับ Normalization  Primary Key (คยี ห์ ลัก) จะเป็นฟิลด์ท่มี คี า่ ไมซ่ ้ากนั เลยในแต่ละ Record ในตารางนน้ั สามารถใชฟ้ ิลดท์ ่ีเป็น Primary Key นี้ เป็นตวั แทนของตารางน้ันไดท้ ันที  Candidate Key (คียค์ ่แู ข่ง) เปน็ ฟลิ ด์หน่งึ หรอื หลายฟิลดท์ ่มี ีคณุ สมบัติทเี่ ปน็ Primary Key ได้ แต่ไมไ่ ดเ้ ปน็ คยี ์หลกั เชน่ ชอื่ และนามสกุล สามารถรวมกนั เป็นคยี ์คแู่ ข่งได้ เป็นต้น  Composite Key (คยี ผ์ สม) เป็นฟิลดท์ ใี่ ช้รวมกบั ฟิลด์อน่ื ๆ ทีเ่ ป็น Composite Key เหมือนกนั มาใชเ้ ป็น Primary Key ของตาราง  คยี ์นอก (Foreign Key) เป็นฟลิ ดใ์ นตารางหนง่ึ (ฝงั่ Many) ทม่ี คี วามสมั พันธก์ ับฟลิ ดท์ ีเ่ ปน็ Primary Key ในอกี ตารางหน่ึง (ฝงั่ One) โดยท่ีตารางทั้งสองมีความสัมพันธแ์ บบ One- to-Many ต่อกัน

MySQL 17  MySQL เปน็ Database Server ท่ีเหมาะกับองค์กรขนาดเลก็ ที่มขี ้อมูลไมม่ ากนกั  เป็นระบบจดั การฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ (Relational Database Management System; RDBMS)  เป็น Freeware ด้านฐานขอ้ มลู ทไ่ี ด้รบั ความนิยมอยา่ งมากในปัจจุบนั  มีระบบการจัดการเขา้ ถึงขอ้ มลู จากผใู้ ชง้ านแตล่ ะคนได้การใชภ้ าษาสอบถามเชิง โครงสรา้ งขอ้ มลู ทเ่ี รยี กว่าเอสคิวแอล (SQL: Structured Query Language)  สนบั สนนุ การใช้งานระบบปฏิบัตกิ าร ตัวอย่างเชน่ Unix, Mac และ Windows  ทางานร่วมกับ Java, C, C++, PHP, ASP หรือ Pert

phpMyAdmin 18  เปน็ สคริปต์ตดิ ต่อฐานข้อมลู ทส่ี รา้ งโดยภาษา php ซง่ึ ใช้จัดการฐานขอ้ มลู MySQL ผา่ น Web Browser เขียนขึน้ โดยนาย Tobias Retschiller และเปน็ โปรแกรมแบบ Open Source ดว้ ย เพราะวา่ เขียนด้วย PHP ท้ังหมด มีความสามารถดังนี้  สร้างและลบ Database  สรา้ งและจดั การ Table เชน่ แทรก record, ลบ record, แก้ไข record หรอื ลบ Table, เพม่ิ หรอื แก้ไข field ในตาราง  โหลด Text file เข้าไปเก็บเป็นขอ้ มลู ในตารางได้  หาผลสรปุ (Query) ด้วยคาสง่ั SQL

phpMyAdmin 19  การเรียกใชง้ าน ใหเ้ รียกผา่ น Web Browser โดยพิมพ์ URL ไปยงั Directory ของ phpMyAdmin http://localhost/phpMyAdmin หรือเรยี ก localhost แลว้ Click ท่ีน่ี ระบบจะเรยี กหา username กับ password ให้ใส่ เหมือนกบั ตอนติดตั้ง โดยปกติ จะเป็น root , 1234

phpMyAdmin 20

phpMyAdmin – Create database 21 พิมพ์ช่อื ฐานขอ้ มลู Click สร้าง

phpMyAdmin – Create database 22 คาสั่ง SQL สร้างฐานขอ้ มลู พิมพช์ ื่อตาราง และจานวนคอลัมน์ รูปแบบคาส่งั ภาษา SQL ในการสรา้ งฐานข้อมลู CREATE DATABASE ‘ช่ือฐานขอ้ มูล’ ;

phpMyAdmin – Create TABLE 23 กาหนดชนดิ ข้อมูล เลอื กลักษณะ null=ไม่มีกไ็ ด้ Index และความยาวให้ เฉพาะของข้อมูล ช่อื ฟลิ ด์ เหมาะสม not null - ตอ้ งมี Primary key Unique key key ค่าเริ่มตน้ Autonumber อัตโนมตั ิ หรอื ไมก่ าหนด

phpMyAdmin – Create TABLE 24

phpMyAdmin – Create TABLE 25 รปู แบบคาส่ังภาษา SQL ในการสรา้ งตาราง CREATE TABLE ช่ือตาราง ( ช่อื ฟลิ ดท์ ่ี 1 ชนดิ ของฟิลด์ (ขนาดของฟลิ ด์), ชือ่ ฟลิ ด์ที่ 2 ชนิดของฟิลด์ (ขนาดของฟิลด์), ..., ช่ือฟลิ ดท์ ี่ n ชนิดของฟลิ ด์ (ขนาดของฟลิ ด์), PRIMARY KEY (‘ช่อื ฟิลด์’) );

phpMyAdmin – INSERT field into TABLE 26

phpMyAdmin – INSERT field into TABLE 27

phpMyAdmin – INSERT field into TABLE 28 รูปแบบคาสง่ั ภาษา SQL ในการแทรกฟลิ ด์ใหม่ในตาราง 1. การแทรกฟิลด์ทา้ ยของตาราง ALTER TABLE ‘ชือ่ ตาราง’ ADD ‘ชอ่ื ฟิลดท์ ต่ี อ้ งการแทรกเพิ่มเตมิ ’ ชนดิ ของฟลิ ด์(ขนาดของฟลิ ด)์ , การกาหนดคุณลกั ษณะของฟลิ ด์ ; 2. การแทรกฟลิ ด์ท่ีจุดเริ่มต้นของตาราง ALTER TABLE ‘ชื่อตาราง’ ADD ‘ชอื่ ฟลิ ด์ทีต่ ้องการแทรกเพม่ิ เตมิ ’ ชนิดของฟลิ ด์(ขนาดของฟลิ ด)์ , การกาหนดคุณลกั ษณะของฟิลด์ FIRST ; 3. การแทรกฟิลด์หลังฟิลดใ์ ดฟิลดห์ นง่ึ ALTER TABLE ‘ชอื่ ตาราง’ ADD ‘ชื่อฟลิ ดท์ ีต่ อ้ งการแทรกเพ่มิ เตมิ ’ ชนดิ ของฟิลด์(ขนาดของฟิลด)์ , การกาหนดคุณลกั ษณะของฟิลด์ AFTER ‘ช่ือฟลิ ดท์ อ่ี ยขู่ า้ งหน้า’ ;

phpMyAdmin – Insert data into TABLE 29

phpMyAdmin – Insert data into TABLE 30

phpMyAdmin – Insert data into TABLE 31

phpMyAdmin – Insert data into TABLE 32 รูปแบบคาสงั่ ภาษา SQL ในการเพมิ่ ขอ้ มูลในตาราง INSERT INTO ชือ่ ตาราง (‘ชื่อฟิลด์ที่ 1’, ‘ชื่อฟิลดท์ ่ี 2’, …, ‘ชื่อฟลิ ดท์ ่ี n’,) VALUES (‘คา่ ที่ 1’, ‘คา่ ที่ 2’, …, ‘คา่ ที่ n’,) ;

phpMyAdmin – Edit data in TABLE 33 Click เพ่ือแกไ้ ข

phpMyAdmin – Edit data in TABLE 34

phpMyAdmin – Edit data in TABLE 35 รูปแบบคาสัง่ ภาษา SQL ในการแก้ไขขอ้ มูลในตาราง UPDATE ‘ช่อื ตาราง’ SET ‘ชอื่ ฟิลดท์ ี่ 1’ = ‘คา่ ใหมข่ องฟิลดท์ ี่ 1’ , ‘ชื่อฟิลด์ท่ี 2’ = ‘คา่ ใหมข่ องฟิลด์ที่ 2’ , …, ‘ช่ือฟลิ ด์ที่ n’ = ‘คา่ ใหม่ของฟิลด์ท่ี n’ WHERE ‘ชื่อฟิลดท์ ่ีเปน็ คยี ์หลัก’ = ‘ค่าของคียห์ ลักของ Record ท่ีตอ้ งการแก้ไข’ ;

phpMyAdmin – Delete record from TABLE 36 รปู แบบคาสงั่ ภาษา SQL ในการลบรายการข้อมูลในตาราง DELETE FROM ‘ชื่อตาราง’ WHERE ‘ช่ือฟิลด์ท่เี ปน็ คีย์หลกั ’ = ‘คา่ ของคยี ห์ ลกั ของ Record ทต่ี ้องการลบ’ ;

phpMyAdmin – Delete TABLE 37 รูปแบบคาสั่งภาษา SQL ในการลบตาราง DROP TABLE ‘ชอ่ื ตาราง’ ;

phpMyAdmin – Delete DATABASE 38 รปู แบบคาสัง่ ภาษา SQL ในการลบฐานขอ้ มูล DROP DATABASE ‘ชือ่ ฐานข้อมูล’

phpMyAdmin – Data Type 39 ชนิดของขอ้ มลู ในคอลมั น์มี 3 ประเภท โดยมีขอบเขตการเก็บข้อมลู และขนาดในการใช้ พ้ืนท่ีในหนว่ ยความจาแตกต่างกัน  ชนิดตวั เลข (Numeric Type)  ประกอบดว้ ยเลขจานวนเต็มและเลขจานวนจรงิ  ชนิดวันและเวลา (Date and Time Type)  กาหนดเปน็ วนั หรอื /เวลาได้  ชนดิ ข้อความ (String Type)  ขอ้ ความขนาดสน้ั ไดแ้ ก่ CHAR และ VARCHAR  ขอ้ ความขนาดยาว ได้แก่ TEXT และ BLOB (Binary Large Objects)  ข้อความขนาดพเิ ศษ ได้แก่ SET และ ENUM

phpMyAdmin – Numeric Type 40 เลขจานวนเต็ม ช่วงข้อมูล เน้ือท่เี ก็บ ความหมาย (Byte) Type 1 เก็บ interger TINYINT 0…255 หรือ -128…127 ขนาดเล็กมาก SMALLINT 0…65535 หรือ -327868…32767 2 เกบ็ interger ขนาดเล็ก MEDIUMINT 0…16777215 หรือ -8388608…8388607 3 เกบ็ interger INT 0..4294967295 หรอื ขนาดกลาง BIGINT -2147483648…2147483647 4 เกบ็ interger 0…18446744073709551615 หรอื ขนาดปกติ -9223372036854775808…-922337203685477587 8 เก็บ interger ขนาดใหญ่

phpMyAdmin – Numerice Type 41  ขอ้ มลู ประเภทตัวเลขสามารถกาหนดสว่ นของ “แอตทรบิ วิ ต”์ เพ่ิมเป็น UNSIGNED หรอื UNSIGNED ZEROFILL ได้  UNSIGNED : จะหมายถึงเกบ็ ค่าตัวเลขแบบไมม่ ีเครอื่ งหมาย แบบนจ้ี ะทาใหส้ ามารถ เก็บค่าไดต้ งั้ แต่ 0 - 255  UNSIGNED ZEROFILL : เหมอื น UNSIGNED แตถ่ า้ ข้อมูลที่กรอกเขา้ มาไมค่ รบตาม จานวนหลักทก่ี าหนด MySQL จะเติม 0 ใหค้ รบหลักเอง เช่น กาหนดให้ใส่ 3 หลัก แล้วเกบ็ ข้อมูล 12 ลงไป เวลาทสี่ ืบคน้ ดู จะได้ค่าออกมาเป็น 012  ถ้าไมก่ าหนด \"แอตทริบิวต์“ จะได้ SIGNED คือตอ้ งเสีย 1 บติ เพ่ือเก็บเครื่องหมาย บวก/ ลบ ทาให้สามารถเกบ็ ข้อมลู ไดอ้ ยใู่ นชว่ ง -128 ถงึ 127 เทา่ น้ัน

phpMyAdmin – Numeric Type 42 เลขจานวนจริง ช่วงข้อมลู เนอื้ ทเ่ี กบ็ ความหมาย (Byte) Type 4 เกบ็ เลขจานวน FLOAT +1.175494351E-38…+3.402823466E+38 จริงขนาดปกติ DOUBLE +2.2250738585072014E-308… 8 เกบ็ เลขจานวน +1.7976931348623157E+308 จรงิ ขนาดใหญ่

phpMyAdmin – Date and Time Type 43 วนั และเวลา ช่วงข้อมูล เนอ้ื ท่เี ก็บ ความหมาย (Byte) Type 1000-01-10 หรอื 9999-12-31 เก็บข้อมลู เป็น คศ.-เดือน- DATE 3 วนั (YYYY-MM-DD) TIME -838:56:59…838:56:59 เก็บขอ้ มลู เปน็ ชั่วโมง:นาที: DATETIME 5 วินาที (HH-MM-SS) 1000-01-10 00:00:00 หรอื เก็บข้อมูลเปน็ คศ.-เดอื น- 9999-12-31 23:59:59 8 วัน ช่ัวโมง:นาที:วินาที (YYYY-MM-DD HH-MM- SS)

phpMyAdmin – Date and Time Type 44 วนั และเวลา ช่วงขอ้ มลู เน้อื ที่เก็บ ความหมาย (Byte) Type 19700101000000… 20371231235959 4 เกบ็ ขอ้ มูลเปน็ คศ.-เดอื น-วนั ชวั่ โมง: TIMESTAMP[M] 70-69 หรอื นาที:วินาที รูปแบบขึน้ กบั ค่า M 1970-2069 YEAR[(2|4)] 1 เก็บขอ้ มลู ปี (ระบเุ ป็น 2 จะได้ 70-69 ระบุ 4 จะได้ 1970-2069)

phpMyAdmin – Date and Time Type 45 การแสดงผลของ TIMESTAMP ชนดิ ทีก่ าหนด การแสดงผล TIMESTAMP YYYYMMDDHHMMSS TIMESTAMP(14) YYYYMMDDHHMMSS TIMESTAMP(12) YYMMDDHHMMSS TIMESTAMP(10) YYMMDDHHMM TIMESTAMP(8) YYYYMMDD TIMESTAMP(6) YYMMDD TIMESTAMP(4) YYMM TIMESTAMP(2) YY

phpMyAdmin – String Type 46  ข้อความขนาดสน้ั  CHAR ระบุจานวนตวั อักษรท่ีสามารถเกบ็ ได้ (Fixed length character) ถา้ มขี อ้ มลู ไม่ถงึ จานวนระบุ จะใสช่ ่องวา่ งในส่วนที่เหลือ การประมวลผลจะเร็วกวา่  VARCHAR ไม่ระบุจานวนตัวอกั ษรท่สี ามารถเก็บได้ (Variable length character) ใช้เน้ือ ทเ่ี ท่ากบั จานวนตวั อกั ษรที่เก็บ การประมวลผลจะช้ากวา่ Type ความยาวสงู สดุ ความหมาย CHAR CHAR(n) 1 สามารถเก็บจานวนตวั อักษรไดเ้ ท่ากับ 1 ตวั อักษร VARCHAR 255 สามารถเก็บจานวนตวั อักษรไดเ้ ท่ากับ n ตัวอักษร โดยมี ความยาวคงที่ (n) 65535 สามารถเก็บจานวนตวั อักษร โดยมคี วามยาวไมค่ งที่

phpMyAdmin – String Type 47  ข้อความขนาดสน้ั  CHAR และ VARCHAR โดยปกติแล้วการจดั เรียงข้อมูลเวลาสบื ค้น (query) เปน็ แบบ case sensitive  แตส่ ามารถเลอื ก \"แอตทรบิ วิ ต์\" เปน็ BINARY ได้ซง่ึ เวลาสืบคน้ (query) จะไมส่ นใจ ว่าตัวอักษรเป็นตัวใหญ่หรือตัวเล็ก  TINYTEXT ตา่ งจาก CHAR กับ VARCHAR ตรงทส่ี ามารถทา Full Text Search ได้

phpMyAdmin – String Type 48  ขอ้ ความขนาดยาว  TEXT เกบ็ ข้อความยาวๆ คานึงถงึ เร่อื ง Case Sensitive  BLOB (Binary Large Object) ทางานเหมอื นกับ TEXT เก็บข้อมูลประเภท Binary เช่น ไฟลข์ ้อมลู ต่างๆ ไฟล์รูปภาพ ไฟล์มลั ตมิ เี ดีย  ข้อความแบบพิเศษ  SET เปน็ การกาหนดใหค้ า่ ในคอลัมนน์ ัน้ ตอ้ งมาจากกล่มุ ของคาที่ระบเุ ทา่ นั้น ค่าท่ีอยู่ ในคอลมั นจ์ ะมมี ากวา่ 1 ค่าได้ แต่กลุ่มของคาทีจ่ ะระบสุ ามารถมไี ดถ้ ึง 64 ค่า  ENUM คลา้ ยกบั SET แต่คา่ ทอ่ี ยใู่ นคอลมั น์ต้องมีคา่ เดยี ว กล่มุ ของคาทร่ี ะบมุ ไี ด้ถงึ 65,535 ค่า

phpMyAdmin – String Type 49 ชนิดข้อความแบบ TEXT และ BLOB ความหมาย ชนดิ ความยาวสงู สดุ TINYBLOB 255 แบบ BLOB ขนาดเลก็ TINYTEXT 255 แบบ TEXT ขนาดเล็ก BLOB 65,535 แบบ BLOB ขนาดปกติ TEXT 65,535 แบบ TEXT ขนาดปกติ MEDIUMBLOB 16,777,215 แบบ BLOB ขนาดกลาง MEDIUMTEXT 16,777,215 แบบ TEXT ขนาดกลาง LONGBLOB 4,294,967,295 แบบ BLOB ขนาดยาว LONGTEXT 4,294,967,295 แบบ TEXT ขนาดยาว

phpMyAdmin – String Type 50 ชนดิ ข้อความพเิ ศษ SET และ ENUM ชนิด ความยาว ความหมาย สูงสุด SET(‘value1’,vulue2,…) เกบ็ คา่ ไดห้ ลายค่าจากกลมุ่ ข้อความทรี่ ะบุ ENUM(‘value1’,vulue2,…) 64 เกบ็ ค่าไดค้ า่ เดียวได้จากกล่มุ ขอ้ ความท่ี ระบุ 65,535


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook