CHAPTER 12การออกแบบระบบปฏสิ ัมพันธ์มนุษยก์ ับคอมพวิ เตอร์ อาจารย์ผ้สู อน อ.ณัฐพล ธนเชวงสกลุ อาจารย์ประจาสาขาวชิ าวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ วชิ าปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั คอมพวิ เตอร์SWE341 Human-Computer Interaction
หวั ข้อวันน้ี ความร้เู บือ้ งตน้ เกีย่ วกบั คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ประเภทของคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ทฤษฎีการพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน การพัฒนาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน
ความรเู้ บื้องต้นเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน
ความร้เู บื้องตน้ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนความหมายของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน การนาคอมพิวเตอร์มาเป็นเคร่ืองมือในการสร้างให้เป็นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ให้ผู้เรยี นนาไปศึกษาดว้ ยตนเอง ซง่ึ ในโปรแกรมประกอบไปด้วยเน้ือหาวิชา แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ลักษณะของการนาเสนอ อาจมีท้ังขอ้ ความตัวหนังสอื ภาพกราฟกิ ภาพเคล่ือนไหว วดิ ีโอ และเสยี งประกอบ เพ่อืดึงดูดให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจมากย่ิงขึ้น รวมทั้งการแสดงผลการเรียนให้ทราบทันทีด้วยข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และยังมีการจัดลาดับวิธีการสอนหรือกจิ กรรมต่างๆ เพ่ือใหเ้ หมาะสมกับผ้เู รียนในแตล่ ะคน ทั้งนี้จะตอ้ งมกี ารวางแผนการในการผลติ อยา่ งเป็นระบบ ในการนาเสนอเนือ้ หาในรปู แบบท่แี ตกตา่ งกัน
ความรู้เบ้อื งต้นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคาภาษาอังกฤษท่ีใช้เรยี ก คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1. Computer Assisted Instruction (CAI) : นิยมใชค้ านี้ 2. Computer Aided Instruction (CAI) 3. Computer Assisted Learning (CAL) 4. Computer Aided Learning (CAL) 5. Computer Based Instruction (CBI) 6. Computer Based Training (CBT) 7. Computer Administered Education (CAE) 8. Computer Aided Teaching (CAT)
ความรู้เบ้อื งต้นเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ช่วยสอนความหมายของ m-Learning m-Learning หมายถงึ เคร่ืองมอื ส่ือสารท่ีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการที่สามารถนาพกติดตัวไปไหนมาไหนได้สะดวก เช่น Smart Phone,Tablet และ PDA เป็นต้น รวมถงึ มีระบบปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งอปุ กรณก์ บั ผเู้ รียน
ความรูเ้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนองคป์ ระกอบของ m-Learning Context DataTask Model Intelligent Support Engine User Model Content Repository Interface
ความร้เู บอื้ งตน้ เก่ียวกับคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนองคป์ ระกอบของ m-Learning 1. ขอ้ มลู คาอธิบายต่าง ๆ เกี่ยวกบั บทเรียน (Context Data) 2. เคร่อื งมอื สนับสนนุ ท่ีอัจฉริยะ (Intelligent Support Engine) 3. หนว่ ยเก็บเนื้อหาบทเรยี น (Content Repository) 4. ส่วนของการติดตอ่ กบั ผเู้ รยี น (Interface) 5. ผู้ใช้งาน (User Model) 6. ข้อมลู ทีก่ าหนดไว้อยา่ งเป็นระบบ (Task Model)
ความร้เู บ้อื งตน้ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนความหมายของ e-Learning การจัดการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทางานบนระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยระบบจัดการเรียนรู้ (Learning Management System) คือ 1) ระบบจัดการเนอ้ื หา 2) ระบบจัดการกระดานข่าว 3) ระบบหอ้ งสนทนา 4) ระบบจัดการทดสอบออนไลน์ 5) ระบบอิเลก็ ทรอนิกส์เมล์
ความรู้เบ้อื งต้นเก่ียวกบั คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนความหมายของ e-Learning (ตอ่ ) 6) ระบบจดั การแฟ้มขอ้ มูล 7) ระบบจดั การขอ้ มูลนกั ศกึ ษา 8) ระบบจัดการขอ้ มูลคะแนนของนักศกึ ษา 9) ระบบจัดการขอ้ มลู สถติ กิ ารเข้าเรยี น
ความร้เู บื้องตน้ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน m-Learning e-Learning CAI
ความรูเ้ บ้อื งต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนCAI
ความร้เู บ้อื งตน้ เกีย่ วกับคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนe-Learning
ความร้เู บื้องต้นเกี่ยวกบั คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนm-Learning
ประเภทของคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน
ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนประเภทของบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1. แบบการสอน (Instruction) เพื่อใช้สอนความรู้ใหม่แทนครู ซ่ึงจะเป็นการพัฒนาแบบ SelfStudy Package เป็นรูปแบบของการศึกษาด้วยตนเอง จะเป็นชุดการสอนที่จะต้องใช้ความระมัดระวัง และทักษะในการพัฒนาที่สูงมาก เพราะจะยากเป็นทวีคูณกว่าการพัฒนาชุดการสอนแบบโมดูลหรือแบบโปรแกรมท่ีเป็นตาราโดยเฉพาะ IMMCAI : Interaction Multi Media CAI บน Internet
ประเภทของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนประเภทของบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน 2. แบบสอนซอ่ มเสริมหรอื ทบทวน (Tutorial) เป็นบทเรยี นเพอื่ ทบทวนการเรียนจากห้องเรียนหรือจากผู้สอนโดยวิธใี ดๆ จากทางไกล หรอื ทางใกลก้ ็ตาม การเรียนมักจะไม่ใช่ความรู้ ใหม่ หากแต่จะเปน็ ความร้ทู เ่ี คยไดร้ ับมาแลว้ ในรปู แบบอืน่ ๆ แลว้ ใช้บทเรียนซอ่ มเสรมิ เพ่ือตอกย้า ความเข้าใจท่ีถูกต้องและสมบูรณ์ดีขึ้น สามารถใช้ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ดังนนั้ CAIประเภทนจ้ี งึ ไมส่ ามารถนามาสอนแทนครูได้ทั้งหมด เพยี งแต่นามาใช้สอนเสริมหรือใช้ทบทวนในรายวิชาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนมาแลว้ ในชน้ั เรียนปกติ
ประเภทของบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนประเภทของบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน 3. แบบฝึกหัดและฝึกปฏบิ ัติ (Drill and Practice) เพ่ือใช้เสริมการปฏิบัติหรือเสริมทักษะ กระทาบางอย่างให้เข้าใจยิ่งข้ึนและเกิดทักษะท่ีต้องการได้ เป็นการเสริมประสิทธิผลการเรียนของผู้เรียนสามารถใช้ในห้องเรียน เสริมขณะที่สอนหรือนอกห้องเรียน ณ ที่ใด เวลาใดก็ได้สามารถใช้ฝึกหัดท้ังทางด้านทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์รวมท้งั ทางชา่ งอุตสาหกรรมด้วย
ประเภทของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนประเภทของบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน 4. แบบสรา้ งสถานการณจ์ าลอง (Simulation) เพือ่ ใชส้ าหรบั การเรยี นรู้ หรอื ทดลองจากสถานการณ์ที่จาลองจากสถานการณ์จรงิ ซ่งึ อาจจะหาไมไ่ ด้หรืออยู่ไกล ไม่สามารถนาเข้ามาในห้องเรียนได้ หรือมีสภาพอันตราย หรอื อาจสิ้นเปลอื งมากท่ีต้องใช้ของจริงซ้าๆ สามารถใช้สาธติ ประกอบการสอน ใช้เสริมการสอนในห้องเรียน หรือใช้ซ่อมเสริมภายหลังการเรยี นนอกห้องเรยี น ที่ได้ เวลาใดก็ได้
ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนประเภทของบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน 5. แบบสรา้ งเป็นเกม (Game) การเรียนรู้บางเร่ือง บางระดับ บางครั้ง การพัฒนาเป็นลักษณะเกมสามารถเสรมิ การเรียนรู้ได้ดีกว่า การใช้เกมเพื่อการเรียน สามารถใช้สาหรับการเรยี นรคู้ วามรูใ้ หม่หรอื เสรมิ การเรยี นในหอ้ งเรียนก็ได้ รวมทั้งสามารถสอนทดแทนครูในบางเรื่องได้ด้วย จะเป็นการเรียนรู้จากความเพลิดเพลิน เหมาะสาหรับผู้เรียนที่มีระยะเวลาความสนใจส้ัน เช่น เด็ก หรือในภาวะสภาพแวดล้อมท่ีไม่อานวย เปน็ ตน้
ประเภทของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนประเภทของบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน 6. แบบการแกป้ ัญหา (Problem Solving) เป็นการฝึกการคิด การตัดสินใจ สามารถใช้กับวิชาการต่างๆ ท่ีตอ้ งการให้สามารถคิด แก้ปญั หาใช้เพ่อื เสรมิ การสอนในห้องเรยี น หรอื ใชใ้ นการฝกึ ทว่ั ๆ ไป นอกห้องเรียนกไ็ ด้ เป็นสอื่ สาหรบั การฝึกผ้บู รหิ ารได้ดี 7. แบบทดสอบ (Test) เพื่อใช้สาหรับตรวจวัดความสามารถของผู้เรียน สามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน หรือใช้ตามความต้องการของครู หรือของผู้เรียนเอง รวมท้ังสามารถใชน้ อกหอ้ งเรียน เพอ่ื ตรวจวัดความสามารถของตนเองได้ด้วย
ทฤษฎีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
ทฤษฎีการพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนทฤษฎกี ารพัฒนาบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน ในการเรยี นคร้ังนีจ้ ะกลา่ วถงึ ทฤษฎีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ คอื ทฤษฎีบทเรียน คอมพวิ เตอร์ช่วยสอนการพฒั นาบทเรียน การพัฒนาบทเรยี น e-Learning m-Learning
ทฤษฎกี ารพฒั นาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน1. ทฤษฎีการพัฒนาบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Learning) ในการเรียนพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning นิยมยึดหลักทฤษฎีการพฒั นาบทเรียนตามแนวคิดของ Ritchie and Hoffman (1997)ซง่ึ มี 7 ขั้นตอนไดแ้ ก่ 1. การสรา้ งแรงจูงใจให้กับผเู้ รยี น (Motivating the Learning) 2. บอกวตั ถุประสงคก์ ารเรยี น (Identifying what is to be Learned) 3. ทบทวนความรเู้ ดิม (Reminding Learners of Past Knowledge) 4. การสรา้ งความกระตือรอื รน้ ท่ีจะเรยี นรู้ (Requiring Active Involvement)
ทฤษฎกี ารพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน1. ทฤษฎีการพฒั นาบทเรยี นอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Learning) (ตอ่ ) 5. ใหค้ าแนะนาและใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ (Providing Guidance and Feedback) 6. ทดสอบความรู้ (Testing) 7. นาเสนอข้อมูลหลังการซ่อมเสริม (Providing Enrichment andRemediation) หมายเหตุ : ในการวิจัยมักใช้เพียง 6 ขั้นตอน โดยขั้นตอนท่ี 7 ไม่ได้นามาใช้เป็นกรอบในการพฒั นา
ทฤษฎีการพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน2. แบบจาลองการพัฒนาเชิงววิ ัฒน์ (Evolutionary Development) ตามแนวคดิ ของญาใจ ลมิ่ ปยิ ะกรณ์ (2557) ประกอบด้วย 7 ระยะ คือ 1. การสร้างขอ้ กาหนดท่ีเป็นนามธรรม (Establish Abstract Spec) 2. พัฒนาระบบตน้ แบบ (Develop Prototype) 3. ประเมินระบบต้นแบบ (Evaluate Prototype) 4. กาหนดระบบจริง (Specify System) 5. พัฒนาซอฟตแ์ วร์ (Develop Software) 6. การยันสอบการใชง้ านจริงของระบบที่พฒั นา (Validate System) 7. การสง่ มอบระบบ (Delivered Software System)
ทฤษฎีการพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน2. แบบจาลองการพฒั นาเชิงวิวฒั น์ (Evolutionary Development) การพัฒนาระบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่ายโทรศพั ท์เคลื่อนที่ เร่อื ง กระบวนการพฒั นาซอฟตแ์ วรแ์ บบ Scrum
ทฤษฎีการพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน3. วงจรการพฒั นาระบบงาน (SDLC)
การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน
ขัน้ ตอนการออกแบบและ พัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนภาพรวม
ข้ันตอนการออกแบบและ พัฒนาบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน1. ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ (Analysis)
การออกแบบบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนการสรา้ งแผนภมู ริ ะดมสมอง (Brain Storm Chart) โดยเร่ิมจากการเขียนชื่อวิชาไว้ตรงกลางกระดาน แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญในวชิ านัน้ ๆ จานวน 4-5 คน ช่วยกันระดมสมองบอกหัวขอ้ เรือ่ งทคี่ วรจะสอนในวิชาน้ัน เขยี นโยงกับชอ่ื วิชาอย่างอสิ ระ หรือหากเปน็ หวั ขอ้ เร่ืองยอ่ ย กใ็ ห้โยงกบั หัวขอ้เร่อื งหลกั ตอ่ ไป โดยไมท่ าการลอกแบบของตาราเล่มใดเล่มหนึ่งเลย แผนภูมิท่ีได้เรยี กวา่ แผนภูมิระดมสมอง (Brian Storm Chart) RAMจอภาพ ROM ฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา Hardware CD-ROMองค์ประกอบของ ฮาร์ดแวร์
การออกแบบบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนการสรา้ งแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart)
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการสรา้ งแผนภูมหิ วั เรอ่ื งสัมพันธ์ (Concept Chart) นาแผนภูมิระดมสมอง มาทาการวิเคราะห์ความถูกต้องของทฤษฎีหลักการ และเหตุผลความสมั พันธต์ ่อเน่ืองกนั อย่างละเอียด อาจมกี ารตัดหรอื เพ่มิหัวขอ้ เร่ืองตามเหตุผล และความเหมาะสม จนสามารถอธิบายและตอบคาถามได้ผลท่ไี ดเ้ ป็นแผนภูมทิ เ่ี รียกว่า แผนภูมหิ ัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart)
การออกแบบบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการสรา้ งแผนภมู ิโครงข่ายเน้อื หา (Content Network Chart) นาหวั ขอ้ เรอ่ื งตา่ งๆ จากแผนภูมิหัวเร่อื งสมั พันธ์ มาเขียนเป็นโครงข่ายตามหลักการเทคนคิ โครงข่าย โดยคานงึ ถึงลาดับการเรยี นเนอ้ื หาก่อน-หลัง ความต่อเน่ืองของเน้ือหา หรือเน้ือหาน้ันสามารถเรียนเน้ือหาขนานกันได้แล้วทาการวิเคราะหเ์ หตุผลความสัมพนั ธข์ องเนื้อหา โดยวธิ กี ารวเิ คราะหข์ ่ายงาน (NetworkAnalysis) จนสมบรู ณ์ ผลทีไ่ ด้จะเป็นโครงข่ายเนื้อหาทตี่ อ้ งการ เรียกว่า แผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart)
การออกแบบบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนสญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการสรา้ งแผนภมู ิโครงขา่ ยเน้อื หา
การออกแบบบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน
การออกแบบบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน
ขั้นตอนการออกแบบและ พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน2. ข้ันตอนการออกแบบ (Design)
แผนภูมิแสดงลาดับในการนาเสนอบทเรยี น(Course Flow Chart)
ข้นั ตอนการออกแบบและ พัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน3. ข้ันตอนการพฒั นา (Development)
การออกแบบบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเขยี นรายละเอียดเนอ้ื หาตามทกี่ าหนดไว้ (Script Development) โดยเขยี นเปน็ กรอบๆ จะต้องเขียนไปตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยเฉพาะถ้าเป็น Interactive Multi Media CAI : IMMCAI จะต้องกาหนด ข้อความ ภาพเสียง สี ฯลฯ และการกาหนดปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ไว้ให้สมบูรณ์ สาหรับแบบฟอร์มในการออกแบบกรอบบทเรียน (Frame Script) อาจใช้แบบฟอร์มท่ีสร้างขึ้นมาเป็นพิเศษ เพ่ือความสะดวกในการออกแบบกรอบบทเรียนท่ีประกอบดว้ ยมลั ติมเี ดียและง่ายต่อการกาหนดจุดที่มีการโต้ตอบหรือปฏิสัมพันธ์(Interactive) ในแต่ละเฟรม (Frame) ของบทเรยี น
แบบฟอรม์ การเขยี นรายละเอยี ดเนื้อหา (CAI Script)
ตวั อย่างการเขยี นรายละเอยี ดเนื้อหา (CAI Script)
ตวั อย่างการเขยี นรายละเอยี ดเนื้อหา (CAI Script)
ตวั อย่างการเขยี นรายละเอยี ดเนื้อหา (CAI Script)
ข้นั ตอนการออกแบบและ พฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน4. ขั้นตอนการสรา้ ง (Implementation)
ข้นั ตอนการออกแบบและ พฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน5. ขั้นตอนการประเมนิ ผล (Evaluation)
ข้ันตอนการออกแบบและ พฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน5. ข้ันตอนการประเมินผล (Evaluation) การประเมนิ ผล ประกอบดว้ ย 5.1 การประเมินคุณภาพดา้ นเนอื้ หา 5.2 การประเมินคุณภาพดา้ นเทคนิคการผลิตส่อื
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: