ร า ย วิ ช า โ ล ก ด า ร า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ อ ว ก า ศ จั ด ทำ โ ด ย น า ย มั่ น ชิ ต เ ม ธ า กู ล ม . 5 . 1 เ ล ข ที่ 2 3 น า ย นั น ท พ ง ค์ ช า ติ สุ น ท ร ม . 5 . 1 เ ล ข ที่ 2 5
ข้ อ มู ล แ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ ท า ง อุ ตุ นิ ย ม วิ ท ย า ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ร ว บ ร ว ม เ ป็ น ข้ อ มู ล อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ล ม ฟ้ า อ า ก า ศ ใ น รู ป แบบสารสนเทศเพื่อนำเอาไปใช้ในการพยากรณ์อากาศ เช่น แผนที่อากาศ ข้อมูลเรดาห์ ภาพดาวเทียม 1 แผนที่อากาศผิวพื้น เ ป็ น ส า ร ส น เ ท ศ ท า ง อุ ตุ นิ ย ม วิ ท ย า ที่ เ อ า ข้ อ มู ล จ า ก ส ถ า นี ภ า ค พื้ น มาแสดงเป็นแผนที่ ซึ่งประกอบด้วยสัญลักษณ์ อุณหภูมิอากาศ ปริมาณเมฆปกคลุม ความเร็วและทิศทางของลม
2 ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ด า ว เ ที ย ม อุ นิ ย ม วิ ท ย า เ ป็ น ด า ว เ ที ย ม ซึ่ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ต ร ว จ วั ด ข้ อ มู ล ทางอุตุนิยมวิทยาที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง เนื่องจากสามารถตรวจ วั ด ข้ อ มู ล อ า ก า ศ ใ น ที่ ๆ ม นุ ษ ย์ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ทำ ก า ร ต ร ว จ วั ด ไ ด้ โ ด ย ต ร ง จากเครื่องมือตรวจอากาศชนิดอื่น ๆ เนื่องจากข้อมูลเหล่านี้อยู่ ในที่มนุษย์ไม่สามารถเข้าถึงได้ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบ่งออก เป็น 2 ลักษณะ คือ 2.1 ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคลื่นอินฟราเรด 2.2 ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคลื่นแสง
2.1 ภาพถ่ายดาวเทียมช่วงคลื่นอินฟราเรด เ ป็ น ภ า พ ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ต ร ว จ วั ด ป ริ ม า ร รั ง สี อิ น ฟ ร า เ ร ด ที่ แ ผ่ อ อ ก ม า จ า ก วั ต ถุ แ ล้ ว จ ะ ไ ด้ ภ า พ ที่ มี เ ฉ ด สี ที่ แ ต ก ต่ า ง ไ ล่ จ า ก ดำ ไ ป ข า ว เ ม ฆ ชั้นสูงมี อยู่สูง อุณหภูมิต่ำ เป็นสีขาว เมฆชั้นต่ำอยู่ต่ำ อุณหภูมิ สูง สีดำ บริเวณที่มีเมฆอุณหภูมิใกล้เคียงกันแล้วสีภาพจะมี ค ว า ม ใ ก ล้ เ คี ย ง กั น ม า ก จึ ง มี ภ า พ ถ่ า ย ด า ว เ ที ย ม ช่ ว ง ค ลื่ น อิ น ฟ ร า เ ร ด ที่ ป รั บ สี ไ ด้ เ พื่ อ ใ ห้ มี ค ว า ม ล ะ เ อี ย ด ม า ก ขึ้ น 2.2 ภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาช่วงคลื่นแสง เ ป็ น ภ า พ ที่ ต ร ว จ วั ด ป ริ ม า ณ รั ง สี ที่ วั ต ถุ ส ะ ท้ อ น อ อ ก ม า แ ล้ ว ไ ป ห า ด า ว เ ที ย ม เ ป็ น ภ า พ ถ่ า ย ที่ ใ ช้ ใ น ช่ ว ง เ ว ล า ที่ มี แ ส ง รั ง สี ที่ ส ะ ท้ อ น ม า ก แปลว่า เมฆมีความหนาแน่นมากจึงทำให้รังสะท้อนออกไปเยอะ
3 ข้อมูลเรดาห์ตรวจอากาศ เป็นข้อมูลที่ใช้เรดาห์ในการตรวจหาข้อมูล โดยการปล่อยคลื่น ไ ม โ ค ร เ ว ฟ อ อ ก ไ ป ก ร ะ ท บ กั บ ห ย า ด น้ำ ฟ้ า ห รื อ เ ม ฆ ฝ น แ ล้ ว ใ ห้ ส ะ ท้ อ น กับมาที่ตัวรับสัญญาณ ข้อมูลเมฆที่มีฝนจะบอกเป็นระดับสีตาม ความเข้มของรังสีที่กลับมา ความเข้มของคลื่นมีหน่วยเป็น เดซิ เบล คลื่นที่อ่อนสุดมี 20 เดซิเบล
ประโยชน์ของเรดาร์ตรวจอากาศมีอะไรบ้าง 1. ใช้ตรวจจับหาบริเวณที่มีฝนหรือฝนฟ้าคะนอง รวมทั้ง ร า ย ง า น ค ว า ม แ ร ง ทิ ศ ท า ง แ ล ะ ค ว า ม เ ร็ ว ใ น ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง ก ลุ่ ม ฝ น นั้ น ๆ ด้ ว ย 2. ใช้ตรวจและติดตามการเคลื่อนตัว รวมทั้งหาศูนย์กลางของ พายุหมุน เช่น พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น
ประโยชน์ของเรดาร์ตรวจอากาศมีอะไรบ้าง 3. ใช้ตรวจหาหิมะ ลูกเห็บ เมฆ 4. ช่วยในการพยากรณ์อากาศระยะสั้น 5. ใช้วิเคราะห์ทิศทางและความเร็วลมชั้นบนในระดับต่างๆ
ประโยชน์ของเรดาร์ตรวจอากาศมีอะไรบ้าง 6. ช่วยในการเตือนภัยและเตรียมการป้องกันน้ำท่วม
สัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศ สัญลักษณ์ ความหมาย เส้นทางเดินพายุ รัศมีเส้นแนวลม ตำแหน่งพยากรณ์ของ พายุในอนาคต เส้นทางพยากรณ์ หย่อมความกดอากาศต่ำ พายุดีเปรซชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: