Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแนวทางการดำเนินงานวัณโรค 65 061065

คู่มือแนวทางการดำเนินงานวัณโรค 65 061065

Description: คู่มือแนวทางการดำเนินงานวัณโรค 65 061065

Search

Read the Text Version

43 บทที่ 9 การควบคมุ ปองกนั การแพรก ระจายเชอ้ื วัณโรคใน สถานบริการสาธารณสขุ และในชุมชน Infection Control in Health care Facilities and Communities นโยบายของสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร คือ ศูนยบริการสาธารณสุขทุกแหง ตองมีการดำเนิน การควบคุมปองกันการแพรกระจายเช้ือวัณโรค เพื่อลดความเส่ียงของการติดเชื้อและปวยเปนวัณโรคของบุคลากร สาธารณสขุ และเพอื่ พัฒนางานดานการปองกันและควบคุมการแพรกระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาลตามขอเสนอแนะ ของผูเช่ียวชาญดา นวัณโรค การดำเนินงานควบคุมปองกันการแพรกระจายเชื้อวัณโรค แบงเปน 2 ระดับ ไดแก ในสถานบริการ สาธารณสขุ (Healthcare Facilities) และชุมชน (Communities) การควบคมุ การแพรก ระจายเชอ้ื วณั โรคในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ การควบคมุ การติดเช้ือวัณโรคมีมาตรการหลกั 3 ขอ ดังน้ี 1. การบรหิ ารจดั การท่ีมคี ุณภาพ 1) จัดใหมรี ะบบ One stop Service หรอื ระบบ Fast tract สำหรับบรกิ ารผปู วยวณั โรค 2) การวนิ จิ ฉยั ตอ งเปน ไปตามแนวทางของแผนงานวัณโรคแหง ชาติ (Early diagnosis in presumptiveTB) 3) การรกั ษาตองเปน ไปตามแนวทางของแผนงานวณั โรคแหง ชาติ (Proper drug regimens) 4) ใชกลวิธี DOT กับผปู วยวัณโรคทุกราย โดยเฉพาะอยางย่ิงผูปวยทีม่ เี สมหะระยะแพรเชื้อรวมทง้ั ควรมกี ารบรกิ ารอืน่ ๆ ท่สี นบั สนนุ กลวิธี DOT ดว ย เชน การสนบั สนุนทางจติ ใจ สังคม และเศรษฐกิจ 5) คลนิ ิกวัณโรคควรจดั ในพืน้ ท่ี หรอื วันทใี่ หบ ริการแยกจากคลินิกเสีย่ งอืน่ ๆ เชน คลนิ ิกเอชไอวี คลนิ กิ เบาหวาน คลนิ ิกยาเสพติด คลินิกโรคเร้ือรงั และผปู ว ยเดก็ 6) สถานทที่ ีใ่ หผ ูป ว ยเก็บเสมหะสงตรวจ ควรมีอากาศถายเทสะดวก เชน นอกอาคาร ระเบยี ง อาคาร ไมอนุญาตใหเก็บเสมหะในหองน้ำ สถานบริการสาธารณสุขอาจพิจารณาจัดใหมีตูเก็บเสมหะตามความเหมาะสม ในกรณีท่ีสถานที่จำกัด ไมเอื้ออำนวยตอการจัดการตามแนวทางขางตนได อาจใหผูปวยเก็บเสมหะที่บานและมาสงตรวจ 2-3 วนั ติดตอ กัน คูมือ แนวทางการดำเนนิ งานวัณโรคของสำนกั อนามยั กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

44 2. การบริหารจัดการระบบถา ยเทอากาศ 1) เนนระบบถา ยเทอากาศตามธรรมชาต(ิ Natural Ventilation) ทิศทางลมตอ งพดั จากจดุ ท่ี สะอาดกวา ไปสูจดุ ทีป่ นเปอ นมากกวา และพัดออกนอกอาคาร 2) ในพ้ืนที่ท่ีไมสามารถเนนหรืออาศัยการถายเทอากาศตามธรรมชาติ เชน หองที่ติดต้ัง เครื่องปรบั อากาศ อาจมคี วามจำเปน ตอ งติดตั้งเครอื่ งมอื ในการลดหรือทำลายเชอ้ื เชน • UV lamps อาจเปน bare bulb (หลอด UV เปลอื ย), Upper air UV, duct UV • HEPA Filter. ทั้งน้กี ารตดิ ตงั้ เครื่องมอื ในการลดหรือทำลายเชื้อ ตองปรึกษาวิศวกร/ผูเชยี่ วชาญ 3. การปอ งกนั สว นบคุ คลหรือการใชห นากากอนามยั 1) สถานบรกิ ารสาธารณสุขตอ งจัดใหม สี ถานที่สำหรับการคัดกรองผปู วยและสอบถามอาการสงสยั วัณโรคกบั ผูทม่ี าใชบ รกิ ารทกุ ราย รายใดมอี าการไข ไอ นำ้ หนักลด ควรแนะนำใหสวมหนา กากอนามยั ต้ังแตจุดคัดกรอง 2) ผปู วยวัณโรค ผทู ี่สงสัยเปน วัณโรค ไดรับการแนะนำเพ่อื สวมหนากากอนามยั ขณะรอตรวจหรือ ขณะใชบ ริการอื่นๆ ในสถานบริการสาธารณสขุ 3) แพทย พยาบาล เจา หนาท่ีอ่ืนๆ ท่ีทำหนา ท่ีดูแลผูปว ยวณั โรค ควรสวมหนากาก N 95 ตลอดเวลาที่ใหบริการ การควบคุมการแพรก ระจายเชอ้ื วัณโรคในบา น/ชุมชน 1. ผปู ว ยวัณโรคเสมหะพบเชื้อควรแยกหองนอนจากคูส มรส ลูกหลาน ญาติ อยา งนอ ย 2 สัปดาห หรือ จนผลเสมหะดวยวิธี smear ไมพ บเชื้อวัณโรค 2. ติดตามผูสัมผัสในครอบครัว ผูดูแลใกลชิด มารับการตรวจวินิจฉัยทุกคน เพื่อเปนการคนหาผูปวย หรือตดิ เชอื้ วณั โรคตง้ั แตเ ร่มิ แรก (Early Case Detection) 3. ใหค วามรแู กผปู ว ยในการปฏิบตั ิตนทีถ่ กู ตอง การจัดท่ีพักอาศยั ใหโลง การระบายอากาศดี ไมอยูใ นที่ ชุมนุม ไมบวนน้ำลายในที่สาธารณะ กำจัดเสมหะใหถูกตอง โดยบวนใสภาชนะที่มีฝาปดแลวนำไปเทท้ิงในชักโครกหรือ โถสวม ราดน้ำตามใหสะอาด เปนตน 4. สนับสนนุ ใหผ ูปวยสวมหนากากอนามยั Surgical mask อยา งนอ ย 2 เดือน หลังจากรกั ษาดว ย ระบบยาทเี่ หมาะสมอยา งเครง ครัด 5. ใหค วามรแู กป ระชาชน รวมทง้ั กลมุ ผูติดเชื้อเอชไอวี ใหทราบถงึ ความเสยี่ งตอ การปว ยเปนวัณโรค อาการสงสยั วัณโรคและปองกนั การไดร บั เช้อื วณั โรคจากผอู ่ืน คูมือ แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนกั อนามัย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

45 แนวทางการประเมนิ มาตรฐานการควบคุมการแพรก ระจายเชอ้ื วณั โรคในสถานพยาบาล จะตองทำเปนระยะๆ อยางนอยปล ะ 1 ครงั้ สิ่งท่ตี อ งประเมนิ ไดแก 1. สถานพยาบาลมแี ผนงานการควบคุมการแพรกระจายเช้ือ (Infectious control) หรอื ไม เชน มีงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมน้ีหรือไม เพียงพอหรือไม มีผูรับผิดชอบ มีทีมงาน และมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard operation Procedure : SOP) ของพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านตา งๆ ใหเห็นอยา งชัดเจนหรือไม 2. มีระบบเฝา ระวังการปวยเปนวัณโรคของบุคลากรสาธารณสุขและมีการเฝา ระวงั การติดเช้ือวัณโรคใน บุคลากรสาธารณสขุ หรือไม เชน - มีการตรวจรางกายประจำปข องขา ราชการ/เจาหนาท/ี่ พนักงาน - มกี ารทำ TST สำหรบั บคุ ลากรใหม บรรจุใหม และแผนการจัดการ ถาหากบคุ ลากร มีผล TST เปนบวก มีแผนดำเนินการตอ ไปอยางไร 3. มีการประเมนิ พ้ืนทีเ่ ปา หมายตางๆ อยา งเปน ทางการหรือไม เชน - มี Triage Unit : จดุ คดั กรอง - มีระบบทางดว น (Fast Tract) - มีคลินิกวณั โรคเฉพาะวนั หรอื ไม - มีระบบถายเทอากาศทีด่ เี พียงพอ 4. แผนกผูปวยนอก มีระบบตา งๆเหลา น้หี รือไม - Standing Order สำหรับการตรวจเอกซเรยป อดและการตรวจเสมหะ - การนัดเวลากอ นสง ผูป ว ยไปตรวจเอกซเรย - ถงั ขยะทิง้ ส่งิ ปนเปอ น (Colored code garbage bin ) - หนว ยชันสูตร ไกลจากคลนิ กิ วัณโรค หรอื หนว ยตรวจผปู วยนอก หรือไม เพยี งไร - ควรประเมิน “ความลาชา ในการวินจิ ฉยั วณั โรคและการใหก ารรกั ษาวณั โรค” โดยใชขอ มลู จาก OPD Card 5. คลนิ ิกวัณโรค มีการบริหารจัดการอยางไร เชน - พ้นื ท่ีรอตรวจมรี ะบบระบายอากาศที่ดีหรือไม - มีการบรหิ ารจดั การแบบ One Stop Service หรือไม - ผปู ว ยและญาตมิ กี ารสวมหนา กากอนามัย (Surgical mask) หรือไม - จัดใหมีถงุ ขยะ/ภาชนะ รองรบั ขยะตดิ เชอื้ หรอื ไม - มกี ารบริหารจดั การใหพ ัดลมพดั จากพื้นท่ีสะอาดไปยังพืน้ ทปี่ นเปอนหรือไม อยางไร - แพทย พยาบาล มีการสวมหนากากอนามัย N 95 หรือไม - ในกรณีทต่ี ิดเครือ่ งปรับอากาศ มีการจดั หาอปุ กรณข จัดเช้อื วณั โรคและตดิ ตง้ั และดแู ลที่ ถูกตอ งตามหลกั วิชาการหรอื ไม คมู ือ แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนกั อนามยั กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

46 6. หอ งเอกซเรย - จดั ใหมรี ะบบระบายอากาศทดี่ หี รอื ไม - จัดใหม ีระบบนดั ผูปวยวณั โรค/สงสัยวณั โรค ในชวงเวลาท่ีเหมาะสมหรือไม - การติดตั้ง UV ถกู ตองตามหลักวิชาการหรอื ไม 7. หนวยชันสูตร - มีเครอ่ื งหมาย “หา มขากเสมหะ” ติดทห่ี องน้ำ บรเิ วณท่รี อผลหรอื ทางเดิน - มี Biosafety Carbinet Class II หรือไม โดยเฉพาะถามกี ารทำการเพาะเช้อื - เจาหนา ที่ใชห นา กากอนามัยชนิด N 95 หรือไม - กรณี ทำ smear เจา หนาที่ใส surgical mask - มีการติดตงั้ หลอดไฟ UV ทเ่ี หมาะสมหรือไม - มีสถานที่เก็บเสมหะทเี่ หมาะสมหรือไม - การรายงานผลชนั สูตรไปยงั แพทย ไดเร็วเพียงใด การเลือกใชเครือ่ งมือเพ่อื ลดหรือทำลายเชื้อวณั โรค UVGI (Ultraviolet Germicidal Irradiation(1-3) UVGI ท่ีมีการติดตั้งและบำรุงรักษาอยางเหมาะสม สามารถทำลายหรือยับย้ัง (inactivate) เช้ือวัณโรค และแบคทีเรีย ไดดีกวาสปอรของเช้ือรา โดยตองระมัดระวังรังสียูวีในระดับลางของคนทำงาน สามารถใชเปนทางเลือก เสริมเรื่องการควบคุมการระบายอากาศในสถานที่ตางๆ เชน โถงรอตรวจ บริเวณที่มีคนมาอยูรวมกัน หองเก็บเสมหะ หอ งพน ยา (aerosolized medication) UVGI แบงไดเปน 1. Duct irradiation ติดต้ังอยูในทอเพ่ือแผรังสีใหกับอากาศที่อยูในทอ กอนปลอยอากาศออกจากหอง หรอื ติดต้งั ใน air-recirculation units 2. Upper-room irradiation ติดต้ังท่ีผนังหอง หรือเพดาน ซึ่งยูวีจะแผรังสีเฉพาะดานบนของหอง ผลกระทบตอสุขภาพ หากสัมผสั UVGI เกนิ ขนาดในระยะเวลาสน้ั ๆ ทำใหเกดิ เยอื่ บตุ าอกั เสบ กระจกตา อักเสบ (Keratoconjunctivitis) นอกจากนี้ทำใหเกิดผิวหนังอักเสบ (Dermatosis) ได ดงั นั้น CDC/NIOSH (Centers for disease control and prevention/ National institute for occupational safety and health) จึ งได แ น ะ น ำ ขอจำกัดในการสัมผัส (Recommended exposure limit, REL) หากสัมผัสยูวีที่ความยาวคล่ืน 254 นาโนเมตร ในเวลา ทำงาน 8 ช่ัวโมง สัมผัสไดไมเกิน 6 มิลลิจูลตอตารางเซนติเมตร (mJ/cm2) หรือ 0.2 (µW/cm2) ไมโครวัตตตอตาราง เซนติเมตร คมู อื แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนักอนามยั กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

47 ปจ จัยทม่ี ีผลตอ ประสิทธผิ ลของ Upper room UVGI ไดแ ก - การแผรงั สตี กกระทบตอหนว ยพน้ื ท่ี (UVGI Irradiance and dose) อยูในชวง 30-50 ไมโครวัตตต อ ตารางเซนติเมตร (µW/cm2) - การระบายอากาศโดยวิธกี ล (Upper-room UVGI systems and mechanical ventilation) ไดถ ึง 6 ACH (air changes per hour) - การผสมอากาศ (Air mixing) ตอ งมีการเคลอ่ื นทีข่ องอากาศระหวา งดานลา งของหองที่มีการปลอย droplet nuclei และดานบนหองท่ีมี UVGI โดยปองกันไมใหอากาศหยุดนิ่ง หากมีการหยุดน่ิงของอากาศควรใชพัดลม ชวยใหมีการผสมอากาศ หรอื ปรบั ตำแหนง ของอากาศทีร่ ับเขาและปลอยออก - ความช้ืนสมั พัทธใ นอากาศ (Relative humidity, RH) ควรนอยกวาหรอื เทา กับรอ ยละ 60 อณุ หภูมิ ควรอยใู นชวง 20-24 องศาเซลเซียส วิธีติดต้งั Upper-room UVGI หลอดยูวี (UV lamps) จะมีอายุการใชง านประมาณ 8,000-9,000 ช่วั โมง การเปล่ียนหลอดยูวีพรอมกัน ปล ะ 1 ครั้ง ทำใหคุม คา มากกวาทยอยเปลี่ยน หากเพดานหอ งสงู 2.4 เมตร (8ฟตุ ) - 2.7 เมตร (9 ฟตุ ) ควรติดตง้ั หลอดยวู ี แบบมีบานเกล็ด (louvers) อาจเปนแบบติดตั้งที่กลางหอง (pendant type) หรือติดที่ผนังหัอง มุมหอง (รูป A, B) หาก เพดานหอ งสงู 2.7 เมตร (9 ฟตุ ) ขน้ึ ไป อาจใชห ลอดยวู แี บบไมม บี านเกล็ด (รูป C) AB C ในหองท่ีมีความสูงประมาณ 2.4เมตร(8 ฟุต)ตองมีการแผรังสียูวีซี 1.87 วัตตตอตารางเมตร(W/m2) วิธใี ช UVGI (Ultraviolet Germicidal Irradiation ตอ งใชตามคำแนะนำของวิศวกรผูต ิดตงั้ ประกอบกับการใชงานตามคูมอื อยา งเครง ครัด คมู ือ แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนักอนามยั กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

48 การบำรงุ รกั ษา • หลอดยวู ี ไมค วรมองเห็นได ไมวา จากมุมไหนของหอง • สวทิ ซปมุ เปด /ปด สามารถติดตง้ั ไดต ำแหนงเดยี วกับสวทิ ซไ ฟธรรมดา และติดปา ยเตอื น(ระวงั รงั สยี วู ี หากเขาไปท่ีบรเิ วณดานบนของหอ ง) • หากในหองนัน้ มีการใชหลอดยูวีที่ไมไ ดปกปด (unshielded) ตองแยกสวทิ ซห ลอดยูวีจากหลอด ธรรมดา ทำสญั ลักษณใหเ หน็ ชัดเจน และตดิ ปายเตือน (ระวังรงั สยี วู ี หา มเขาไปในหองขณะเปด หลอดยูว)ี • หลอดยวู ีจะมปี ระสทิ ธภิ าพลดลงหากมฝี นุ จบั ดังนน้ั ตอ งทำความสะอาดและมกี ารตรวจดหู ลอดเปน ระยะ เชน ปล ะ 4 ครง้ั และเชด็ ทำความสะอาดหลอดยูวีดว ยแอลกอฮอล หามใชน ้ำ • ควรมสี มดุ บนั ทึก (logbooks) วนั เวลา ตำแหนงท่ีวดั รงั สียูวี คา ทอี่ านได และอบุ ตั กิ ารณของการ สมั ผสั ยวู เี กนิ ขนาด ควรวดั เมอ่ื มกี ารตดิ ต้งั ครัง้ แรก หรือมกี ารติดต้ังใหม หรือเกดิ อบุ ตั ิการณข องการสัมผสั รังสียวู เี กินขนาด HEPA filter (High-Efficiency Particulate Air) มีประสทิ ธิภาพในการจบั สิ่งสกปรกในอากาศทมี่ ีอนภุ าคขนาดเล็ก ขนาดมากกวา หรือเทากับ 0.3 ไมครอน ไดท่ีรอยละ 99.97 ควรใชเปนทางเลือกที่เสริมเร่ืองการควบคุมการระบายอากาศ HEPA filter มี 2 ประเภท ไดแก แบบติดฝงกับผนงั หรือเพดานหอง และแบบเคลื่อนยายได (portable) ใชใ นกรณีทเี่ ปน หองปด และการระบายอากาศไมดี (ไมสามารถเปดประตู หรือหนาตางเพ่ือระบายอากาศ) Portable HEPA filter มี 2 ขนาด ขนาดเล็กกรองอากาศได 150 -250 CFM (cubic feet per minute) ใชในหองขนาดเล็ก และขนาดใหญกรองอากาศได 300-1,000 CFM ใชในบริเวณท่ีกวาง เชน โถงรอตรวจ หากอากาศไหลเวียนไปไดท่ัว ทุกตำแหนงภายในหอง แสดงวา Portable HEPA filter ทำงานไดผลดี ตำแหนงท่ีวางเคร่ือง พิจารณาวางใหใกลกับตำแหนงของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานเพื่อใหอากาศบริสุทธ์ิเปน อันดับแรก รองลงมาคอยพิจารณาการกำจัดเช้ือในอากาศ ควรเปดเครื่องตลอดเวลาท่ีมีผูปวยในหอง และเปดตออยาง นอยอกี 1 ชวั่ โมงภายหลังผปู ว ยออกไป Small Hepa Filter Unit Large Hepa Filter Unit การเลอื ก HEPA filter ควรเลือกเครอ่ื งท่สี ามารถกรองอากาศไดอยา งนอ ย 6 ACH โดยคำนวณจาก คูม ือ แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนกั อนามัย กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

49 ปรมิ าตรหอ ง (ลูกบาศกฟ ตุ ) = ดานกวา งX ดา นยาว X ดานสูง(หนว ยเปน ฟุต, 1ฟตุ เทา กบั 30เซนติเมตร) การไหลของอากาศท่ีตองการ 6 ACH = ปรมิ าตรหอง X 6 (หนวยเปนลูกบาศกฟุตตอชัว่ โมง) = ปรมิ าตรหอ ง X 6 (หนวยเปน ลกู บาศกฟ ตุ ตอนาที) 60 (cubic feet per minute, CFM) หากคำนวณไดคาท่ีตองการแลว ใหเผ่อื การสญู เสียรอยละ 25 (เนื่องจากคาท่ีวดั ไดจรงิ มกั นอยกวาคาที่โฆษณา) นำคาที่ได X 1.25 จะไดคาที่ตองการ หนวยเปน CFM เวลาเลือกซ้ือเคร่ือง ใหเลือกคาที่คำนวณได เปนคาต่ำสุด เชน คำนวณได 95 CFM ใหเลือกซ้ือเคร่ืองท่ีมีประสิทธิภาพ 100, 150, 200 CFM เนื่องจากมักจะเปดความเร็วพัดลมท่ี ความเรว็ ต่ำสุด เพื่อไมใ หเครอื่ งมีเสยี งดงั ขณะทำงาน การบำรุงรกั ษา ควรมกี ารตรวจดแู ผนกรอง (filters) เพือ่ ดกู ารรว่ั และ filter loading ไดแ ก Quantitative filter performance test เชน dioctyl phthalate penetration test ควรทำเม่ือเริ่มติดต้ัง และเปล่ียน แผนกรอง, Leakage test เชน Particle counter หรือ Photometer ควรทำทุก 6-12 เดือนในตำแหนงที่มีการใชงาน ตามปกติ และ Pressure sensing device เชน Manometer เพ่ือดูความเท่ียงและตรวจวัดความจำเปนในการเปล่ียน แผน กรอง คมู อื แนวทางการดำเนนิ งานวัณโรคของสำนกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

50 บทท่ี 10 การดูแลผปู วยรบั ประทานยาโดยการสงั เกตตรง DOT (directly observed treatment) ในการรักษาวณั โรค ยาอาจจะไมใ ชค ำตอบเดียวของการทำใหผปู วยหายจากโรค เพราะในสถานการณท ่ี เปนจริง จะมีผูปวยสวนหนึ่งที่ไมมีวินัยในการกินยา กลาวคือบางรายอาจกินยาบาง หยุดยาบา ง บางรายลดจำนวนเม็ดยา ลงเพราะทนตอผลขางเคียงไมไหว ทำใหผูปวยท่ีมีพฤติกรรมแบบนี้ จะย่ิงมีความทุกขทรมานเรื้อรังจากวัณโรค และ กอใหเกิดปญหาวัณโรคดื้อยาในสังคม อันจะสงผลใหผูสัมผัสผูปวยมีโอกาสรับเชื้อวัณโรคท้ังดื้อยาและไมด้ือยาได และ ผสู ัมผสั สวนหน่งึ จะเปนวัณโรคในอนาคต วงจรลักษณะนท้ี ำใหวณั โรคยังคงอยูในโลก รวมทง้ั ประเทศไทยดวย การท่ีทำให ผูปว ยวัณโรคอยใู นระบบรักษาจนกระทั่งส้ินสุดการรักษา จะตองจัดใหมีระบบท่ีทำใหเ กิดความมัน่ ใจวาผูปว ยวณั โรคกินยา ครบถวน และถูกตองทุกเม็ด ทุกมื้อ คงเปนที่ยอมรบั วา การเห็นผปู วยกินและกลืนยานาจะเปนวธิ ีการท่ีดีทส่ี ุด ทท่ี ำใหเกิด ความมั่นใจได DOT (directly observed treatment) เปนวิธีการอันหน่ึงท่ีไดรับการยอมรับวามีประสิทธิภาพมากใน การชวยทำใหผูปวยวัณโรคกินยาครบถวนและถูกตอง ทำใหมีผลสำเร็จตอการรักษาอยูในระดับท่ีสูงมาก สงผลให อุบัติการณของวัณโรคลดลงได อยางไรก็ตาม DOT เปนเรื่องที่ทำใหเกิดภาระงานมาก (service burden) เพราะตองจัด ใหมีบริการท่ที ำใหส ามารถกำกับการกนิ ยาของผูปวยอยางถูกตอง ในอดีตองคก ารอนามัยโลกเนนการทำ DOT โดยตองให ผปู ว ยกินยาตอหนา เจาหนา ที่สาธารณสขุ ซ่ึงในความเปนจรงิ อาจจะไมเหมาะสมกบั บางประเทศ ตอมาองคก ารอนามัยโลก ไดผอนคลายมาตราการ DOT โดยเนนการทำ DOT เปนการบริหารจัดการของชุมชน (community DOT) และดวย การพัฒนาของเทคโนโลยี ทำใหประชาชนสวนใหญเขาใจและเขาถึงการใชโทรศัพทมือถือ องคการอนามัยโลกจึงให ขอแนะนำวาสามารถใชเทคโนโลยีเพื่อความสะดวกในการทำ DOT โดยเฉพาะในชุมชนเมืองใหญๆ เรียก การทำ DOT โดยใชเทคโนโลยีโทรศพั ทมอื ถือวา VOT (Video Observed Treatment) DOT แบง ไดเ ปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. Person DOT 2. Non person DOT Person DOT เปนการกำกับการกินยา หรือมีพี่เล้ียงในการกินยา โดยพี่เล้ียงเปนบุคคลากรสาธารณสุข หรืออาสาสมัครสาธารณสุข หรือ ผูที่ผูปวยใหความไววางใจได เชน ครู ผูใหญบาน ผูนำชุมชน ตลอดจนญาติ เปนตน สง่ิ ที่จะตองคำนึง คือ การส่ือสารอบรมใหผ ูทำหนาท่ีน้ี เขาใจในบทบาทและประโยชนข องการกำกับการกินยาอยางแทจริง (Trained health volunteer) Non-Person DOT เปน การกำกบั การกนิ ยาโดยใชเ ทคโนโลยี เชน การใชโทรศัพทม ือถือ มกี ารศึกษา ยืนยันวา การใชเ ทคนิค VOT นั้นใหผ ลดีไมด อยกวา Person DOT อยางไรก็ดยี ังมรี ายละเอยี ดเลก็ นอยของการทำ VOT คมู ือ แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนักอนามัย กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

51 ทผ่ี เู รียนพงึ ตระหนักและนำไปปรับใช โดยที่ CDC (USA) ไดแนะนำใหการทำ VOT ตอ งเปนในลกั ษณะ การตดิ ตอส่ือสาร สองทาง (Two ways communication) กลา วคือ เจา หนาทีค่ วรสอบถามอาการผูปวยหรือใหก ำลงั ใจผปู วยโดยใชเวลาสั้นๆ DOTS/DOT คำวา DOTS ซ่ึงยอมาจาก Directly Observed Treatment Short course) คำนีเ้ ปน Brand name (เคร่ืองหมายการคา ) ซ่ึงเปน นโยบายท่ีองคการอนามัยโลกใชก ระตนุ ใหประเทศตา ง ๆ นำไปใชเ พื่อควบคุมวณั โรค ใหม ี ประสทิ ธิภาพโดยมงุ เนนการรักษาผปู วยวณั โรคใหห ายมากท่สี ดุ นโยบายนี้ประกอบดวย 5 แนวทางหลกั ดังน้ี 1. ประเทศตองมีพันธะสัญญา (Commitment) ในการทจี่ ะควบคมุ วัณโรคอยางมปี ระสิทธิภาพ หมายความวา จะตองมีการทุมเทสรรพกำลัง ไมวาจะเปนเรือ่ งงบประมาณหรือกำลังคน เพอ่ื การจัดการกับปญ หาวณั โรค โดยท่ี Commitment นี้จะตองมลี ักษณะตอเนอ่ื ง (Sustainable) 2. ประเทศจะตอ งมีการพฒั นาการตรวจทางหองปฏบิ ตั กิ าร เพอ่ื การวนิ ิจฉัยวัณโรคใหถ ูกตอ งและรวดเรว็ 3. ประเทศจะตอ งจดั หาใหมีระบบยาระยะส้นั (6 เดือน) ใหกับผูปว ยวณั โรคทกุ คน 4. ประเทศจะตอ งบรหิ ารยาใหเพียงพอ และไมขาดแคลน 5. ประเทศตองพัฒนา และจัดใหมีระบบบันทกึ ขอ มูล และประเมินผลดานการรักษาผปู วยวัณโรค โดยสรุป DOT เปนนโยบายของสำนักอนามยั ทใ่ี ชกับผูป วยวัณโรคทุกราย (Universal DOT) โดยเนน ทผ่ี ปู วยวัณโรค เสมหะพบเชอื้ และควรทำ DOT ตลอดระยะเวลาของการรักษา การสนบั สนนุ ทางสงั คม(Social support) เปนความจริงที่วัณโรคเปนโรคของคนจนสวนใหญ (Disease of the Poor) ผูที่กำลังปวยเปนวัณโรค ยอมมคี วามไมสบายตวั และไมสามารถทำมาหากินไดตามปกติ ทำใหม ีปญ หาทางเศรษฐกิจ สง ผลใหการรักษาวณั โรคไมไ ด ผลดีนัก ผูเ ชยี่ วชาญไดเสนอแนะวาการสนับสนุนทางสังคม เปนอกี ประเดน็ หนงึ่ ที่แผนงานวณั โรคแหงชาติจะตอ งส่ือสารไป ยังหนวยตรวจรักษาตาง ๆ ใหมีการจัดการเพื่อการสนับสนุนทางสังคมแกผูปวยวัณโรคที่มีความจำเปน (ผูปวยสวนใหญมี ความจำเปน) คูม ือ แนวทางการดำเนินงานวัณโรคของสำนักอนามยั กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

52 การสนบั สนนุ ทางสังคมประกอบดว ย 1. การเงิน เชน คาเดินทาง คาอาหาร เปนตน 2. อาหารสงเสรมิ สุขภาพ เชน ไข ตลอดจนอาหารที่จำเปน อนื่ ๆ เชน ขาวสาร เปนตน 3. ของใชท ี่จำเปนอื่น ๆ เชน ผาเช็ดหนา หนา กากอนามัย สบู ยาสฟี น แปรงสีฟน เปน ตน 4. การใหก ำลงั ใจ คมู อื แนวทางการดำเนนิ งานวัณโรคของสำนกั อนามัย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022

53 กองควบคุมโรคเอดส วณั โรคและโรคตดิ ตอทางเพศสัมพนั ธ สำนกั อนามัยกรงุ เทพมหานคร โทร 02860 8205 /02 860 8751-6 ตอ 505,515 www.bangkok.go.th/health คมู ือ แนวทางการดำเนนิ งานวัณโรคของสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2565 ,Guidelines on managing Tuberculosisin Bangkok, Department of Health 2022