Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสำหรับผู้ถ่ายทอดความรู้

คู่มือสำหรับผู้ถ่ายทอดความรู้

Description: คู่มือสำหรับผู้ถ่ายทอดความรู้

Search

Read the Text Version

ค่มู ือสำ�หรับผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors) กองสรา้ งเสริมสุขภาพ สำ�นักอนามยั

ค่มู ือสำ�หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors) หนว่ ยงานผู้จดั ทำ� ส�ำนกั อนามัย กรุงเทพมหานคร ท่ปี รกึ ษา ผู้อำ� นวยการส�ำนกั อนามัย นายชวินทร์ ศิรนิ าค รองผู้อ�ำนวยการสำ� นักอนามยั นายวงวัฒน์ ล่วิ ลักษณ ์ ผอู้ �ำนวยการกองสร้างเสรมิ สุขภาพ นายสมชาย ตรีทิพยส์ ถติ ย ์ ผู้เชยี่ วชาญจากประเทศญป่ี นุ่ Prof. Takeo OGAWA JICA Project manager Mr. Mr. Hiroshi Morodomi Project Manager, Department of Public Health and Medical Affairs, Fukuoka Prefectural Government Mr. Hiroki SATOMICHI Fukuoka Prefectural Office คณะบรรณาธิการฝ่ายวิชาการ แพทย์หญงิ ณัฐิณี อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ผอู้ ำ� นวยการศูนยบ์ ริการสาธารณสุข 4 ดนิ แดง นายแพทยธ์ ีรวรี ์ วรี วรรณ ผู้อำ� นวยการศนู ยบ์ ริการสาธารณสุข 56 ทับเจรญิ นางสาวอำ� ภา จากนา่ น พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการพเิ ศษ นางนพวรรณ ภัทรวงศา พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการพเิ ศษ นางณฐั ธิตา ปัญญาคม พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการ นางสาวพรณิภสั ร์ พิมสุวรรณ พยาบาลวิชาชีพชำ� นาญการ นางนันทวดี พทุ ธสอน พยาบาลวิชาชพี ช�ำนาญการ นางภสมน ภชู ัชวนชิ กลุ พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ นางสาวนิราภร พลตือ้ นักวิชาการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ นางสาวนงนภสั พรมมิ นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัตกิ าร นางสาวสรุ รี ัตน์ นฤนริ นาท นักวิเทศสมั พนั ธ์ชำ� นาญการ คู่มือสำ�หรบั ผูถ้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

เกริ่นนำ� ประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางอายุของประชากรท่ีท�ำให้เกิดการเสียสมดุลทางประชากร คอื มผี สู้ ูงอายุเพ่ิมจ�ำนวนขึน้ อย่างรวดเรว็ ในขณะทสี่ ดั สว่ นของประชากรวยั เด็ก และวยั ทำ� งานมีแนวโน้มลดลง เห็นได้ชัดจากข้อมูลเชิงประจักษ์และการคาดประมาณแนวโน้มประชากรในอนาคต ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Ageing Society) ตงั้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๔๓ เปน็ ต้นมา โดย ๑ ใน ๑๐ ของประชากรไทยเปน็ ประชากร ที่มีอายุมากกว่า ๖๐ ปีข้ึนไป และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) และในราวปี พ.ศ.๒๕๗๘ ประมาณการว่าจะมีประชากรสูงอายุถึง ๑ ใน ๓ ของประชากรทั้งหมด หรอื กลายเป็น “สังคมสงู วยั ระดบั สดุ ยอด” (Super Aged Society กรุงเทพมหานครมผี ู้อยูอ่ าศัยมากกวา่ 5,592,057 ล้านคน และในจ�ำนวนกว่า 5 ล้านคนน้ี มีผสู้ งู อายุ อยู่ถึง 978,454 คน คิดเป็นร้อยละ 17.81 แสดงให้เห็นว่ากรุงเทพมหานครได้ก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” แล้วเช่นกัน ท�ำให้เราก�ำลังเผชิญกับความท้าทายหลายด้านท่ีจะตามมากับประชากรที่เข้าสู่วัยสูงอายุ ท้ังค่าใช้ จา่ ยในการรกั ษาพยาบาลที่เพ่ิมขึน้ ขาดโครงสรา้ งสนบั สนุนการดแู ลผสู้ ูงอายุท่ีบ้าน รวมทงั้ การขาดบุคคลากรที่มี ทักษะและความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุเชิงป้องกัน กรุงเทพมหานคร และจังหวัดฟูกูโอกะ ประเทศญ่ีปุ่น ได้จัดท�ำโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันในกรุงเทพมหานคร (Preventive Long-Term Care: PLC) ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างจงั หวดั ฟูกโู อกะ ประเทศญป่ี ุ่น และกรุงเทพมหานคร วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพการให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้ท่ีจะก้าวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ในกรุงเทพมหานคร โดยมีแนวคิดใหม่ซึ่งจะเตรียมประชาชนตั้งแต่เนิ่นๆ ที่ยังไม่เข้าสู่วัยสูงอายุเพ่ือให้เป็น ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีแข็งแรงป้องกันให้ผู้สูงอายุไม่ต้องได้รับการดูแลระยะยาวหรือชะลอความจ�ำเป็นในการ ดแู ลระยะยาว ป้องกนั ภาวะสขุ ภาพเสอ่ื มโทรมใหม้ ากที่สดุ เทา่ ทจี่ ะเปน็ ไปไดแ้ ละชว่ ยบรรเทาภาวะสุขภาพทีไ่ ม่ดี ไม่ให้รุนแรงเพิ่มมากข้ึน โดยน�ำองค์ความรู้ใหม่ในการสร้างเสริมสุขภาพ เน้นการสร้างความเข้มแข็งของ กล้ามเน้ือท่ีเก่ียวข้องกับการเคล่ือนไหวเพ่ือลดความเส่ียงของการพลัดตกหกล้ม และการฝึกบริหารสมอง เพ่ือป้องกันภาวะสมองเส่ือม โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน เพ่ือให้เกิดการพัฒนาท่ียั่งยืนต่อไป โดยส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันแก่เจ้าหน้าท่ีผู้ถ่ายทอด ความรู้ที่เรียกว่า (Instructors) และอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน หรือ(Community Trainers) ให้มีความรู้ ทักษะ และสามารถถ่ายทอดความรู้ได้ รวมท้ังพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันเพื่อเป็นต้น แบบและน�ำไปสูก่ ารขยายผลการด�ำเนนิ งานไปยงั พน้ื ท่อี ่ืนๆ ต่อไป คูม่ ือสำ�หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

คำ�นำ� คู่มือส�ำหรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructor ) มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการ ด�ำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันในกรุงเทพมหานคร ซึ่งแนวทางการด�ำเนินงานดังกล่าวมี การน�ำความรู้ ประสบการณ์ รูปแบบ และวิธีการด�ำเนินงาน จากประเทศญ่ีปุ่นมาปรับใช้ในประเทศไทย และ การน�ำประสบการณท์ �ำงานจรงิ ในพนื้ ทน่ี �ำร่อง 2 แหง่ มาเรยี บเรียงเนอ้ื หาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจงา่ ย ซง่ึ เน้อื หา ประกอบด้วย กลุ่มโรคท่ีเก่ียวกับการเคลื่อนไหว (Locomotive syndrome) ภาวะสมองเสื่อม (Dementia) กิจกรรมการดูแลเชิงป้องกันโดยผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) กลไกส�ำหรับการท�ำกิจกรรมอย่าง ต่อเนือ่ ง (Tips for community exercise) การดแู ลสุขภาพท่คี วรรสู้ ำ� หรบั ผู้สูงอายุ โดยคณะผู้จัดท�ำมีความมุ่งหวังให้หนังสือเล่มนี้เป็นแรงสนับสนุนท่ีส�ำคัญให้แก่อาสาสมัครผู้ฝึกสอน ในชมุ ชนซง่ึ จะเปน็ ผู้ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในการดูแลผู้สงู อายุในชมุ ชน 4 ค่มู อื สำ�หรับผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

สารบญั หนา้ บทนำ� บทที่ 1 ความหมายและความสำ�คัญ จดุ มุ่งหมายของคมู่ อื การดำ�เนินงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชงิ ป้องกนั 1 คำ�จำ�กัดความของการดูแลผู้สงู อายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน 2 วธิ กี ารใชค้ ูม่ ือการดำ�เนินงานการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั 2 บทที่ 2 วิธกี ารคัดเลือก สนบั สนนุ และติดตามการดำ�เนินงานอาสาสมัครผ้ฝู ึกสอนในชมุ ชน 4 (Community Trainer) ในโครงการการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน 1. แผนผงั การดำ�เนนิ งาน 4 2. การวินิจฉยั ชมุ ชน 4 3. การวางแผนและการจัดการระบบ 6 4. การฝกึ อบรมอาสาสมคั รผ้ฝู กึ สอนในชุมชน (Community Trainers) 5. การประชมุ ชี้แจงโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั แก่ผู้เขา้ รว่ มโครงการ 6. การสนับสนุนการดำ�เนินงานการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาวเชิงป้องกัน 7 7. การประเมนิ ผลโครงการการดแู ลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกนั 8 8. เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการทำ�กิจกรรมการดแู ลผู้สงู อายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน 1 ภาคผนวก: 13 วธิ ีการตรวจสอบ (Checklists) การคัดเลือกและตดิ ตามสนับสนุน 21 การจดั กระบวนการการดูแลผสู้ งู อายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกัน 5 คมู่ ือสำ�หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ 1 ตัวอยา่ งขอ้ มลู การวนิ ิจฉยั ชมุ ชนท่ีจำ�เป็นในการดำ�เนินงานโครงการ 5 การดูแลผสู้ งู อายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั ตารางท่ี 2 ตวั ชวี้ ดั การประเมินผลโครงการการดแู ลผู้สงู อายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั 9 รายการตรวจสอบที่ 1 การวินิจฉัยชุมชนกจิ กรรมการดูแลผสู้ ูงอายรุ ะยะยาวเชิงปอ้ งกัน 13 รายการตรวจสอบที่ 2 การจัดทำ�แผนการดำ�เนินงานการดูแลผ้สู งู อายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน 14 รายการตรวจสอบท่ี 3 การจดั การระบบการดูแลผสู้ งู อายุระยะยาวเชิงปอ้ งกนั 15 รายการตรวจสอบท่ี 4 การฝกึ อบรมอาสาสมคั รผู้ฝกึ สอนในชุมชน (Community Trainer) 16 รายการตรวจสอบที่ 5 การประชมุ ชี้แจงโครงการการดูแลผสู้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน 16 รายการตรวจสอบท่ี 6 การเรมิ่ ดำ�เนินกจิ กรรมการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั 17 รายการตรวจสอบที่ 7 การสนับสนุนการดำ�เนินงานในระยะเร่ิมต้นกจิ กรรมการดแู ลผสู้ งู อายุ 18 ระยะยาวเชิงปอ้ งกนั รายการตรวจสอบท่ี 8 การสนบั สนุนการดำ�เนนิ งานหลงั จากผา่ นไปชว่ งระยะเวลาหนึ่ง 18 รายการตรวจสอบที่ 9 การประเมนิ ผลโครงการการดูแลผู้สงู อายรุ ะยะยาวเชิงปอ้ งกัน 20 แผนภมู ิท่ี 1 รอ้ ยละของแต่ละกลุ่มอายทุ ่ีสามารถท่ยี ืนขนึ้ ไดจ้ ากระดับความสูงที่แตกต่างกัน 28 แผนภูมิที่ 2 เกณฑม์ าตรฐานตามอายุ การทดสอบการกา้ วเทา้ (Two Step Test) 30 6 คมู่ อื สำำ��หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ควาคมวหาบมมาทสยำท�แคี่ลญั 1ะ

บทท่ี 1 ความหมายและความสำ�คัญ จุดมุ่งหมายของคมู่ อื การดำ�เนินงานการดแู ลผู้สงู อายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน ž การเปล่ียนแปลงของจ�ำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วส่งผลให้กรุงเทพมหานครกลายเป็น สังคมผู้สูงอายุท่ีเติบโตอย่างรวดเร็ว กรุงเทพมหานครตระหนักและให้ความส�ำคัญกับการดูแลผู้สูงอายุ มาโดยตลอดจึงส่งเสริมให้มีการจัดท�ำโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันในกรุงเทพมหานครข้ึนมา บุคลากรของกรุงเทพมหานครและศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ควรน�ำแนวทาง การด�ำเนินงานน้ีไปสู่การด�ำเนินกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันให้กับผู้เข้าร่วมโครงการในพ้ืนท่ี ดำ� เนนิ งานอย่างมปี ระสิทธิภาพ ž ประเด็นส�ำคัญของโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันคือการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วม โครงการตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ดังนั้นบุคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุขในฐานะเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันควรฝึกอบรมอาสาสมัครที่สนใจเข้าร่วมโครงการและพัฒนาให้เป็นอาสา สมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) รวมทั้งติดตามตรวจสอบว่าสามารถด�ำเนินกิจกรรมการดูแล ผสู้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกนั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพหรอื ไม่ การตรวจสอบการดำ� เนนิ กิจกรรมการดแู ลผู้สูงอายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกันแบง่ ออกเป็น 5 ประเดน็ หลกั ประกอบไปด้วย j เปา้ หมายของโครงการ k การระบุประเด็นปัญหา l การวางแผนการด�ำเนนิ งาน m การนำ� แผนการด�ำเนินงานไปสกู่ ารปฏิบตั ิ n การประเมนิ ผลโครงการ ž โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกัน (Preven- tive Long Term Care (PLC)) เป็นความร่วมมือในการด�ำเนินงาน ระหว่างจังหวัดฟูกูโอกะ ประเทศญ่ีปุ่นและกรุงเทพมหานคร โดยมุ่งเน้น ไปท่ีประเด็นหลัก 2 ประด็น คือความเส่ียงท่ีส่งผลให้ผู้สูงอายุต้องได้รับ การดูแลระยะยาวและข้อบง่ ช้มี าตรการด�ำเนินงานในแตล่ ะประเดน็ 8 คมู่ อื สำ�หรบั ผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

ความเสยี่ ง มาตรการด�ำเนนิ งาน j ภาวะตดิ เตยี ง/ติดบา้ นเน่ืองจากการหกล้ม [ การฝึกเพ่อื ปอ้ งกันภาวะทมี่ ี ภาวะกระดูกหกั ความผดิ ปกตใิ นการเดนิ และ การใชช้ ีวติ ประจำ� วัน k โรคสมองเส่ือม [ การฝึกเพ่อื ปอ้ งกันโรคสมองเสอ่ื ม คำ�จำ�กดั ความของการดแู ลผู้สงู อายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกัน (1) การดแู ลผู้สูงอายุระยะยาว ( Long Term Care ) หมายถงึ การจดั ระบบบรกิ ารสาธารณสุขและ บริการทางสังคมท่ีจัดให้ส�ำหรับผู้ท่ีมีภาวะพ่ึงพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน ผูท้ ตี่ อ้ งการไดร้ ับการดูแลระยะยาวคอื ผ้ปู ว่ ยหรอื ผูส้ ูงอายุทน่ี อนติดเตยี ง ผู้สูงอายตุ ิดบา้ น หรอื ผู้ทีม่ ีความผิดปกติ เลก็ น้อยของความสามารถของสมอง (Mild Cognitive Impairment :MCI) (2) การดูแลผสู้ งู อายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน (Preventive Long Term Care) หมายถึงการปอ้ งกนั ให้ ผู้สูงอายุไม่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว (หรือชะลอความจ�ำเป็นในการดูแลระยะยาว) ป้องกันภาวะสุขภาพ เส่ือมโทรมใหม้ ากท่สี ดุ เทา่ ท่ีจะเป็นไปได้และชว่ ยบรรเทาภาวะสุขภาพท่ีไม่ดไี มใ่ ห้รนุ แรงเพ่ิมมากข้นึ (3) วตั ถุประสงคข์ องการดแู ลผูส้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกนั โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันช่วยปรับปรุงองค์ประกอบด้านสุขภาพของบุคคล ประกอบด้วย ระบบประสาทที่ควบคุมการเคล่ือนไหวและภาวะโภชนาการ การช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท้ังทาง รา่ งกายและจิตใจ รวมท้งั การสง่ เสรมิ ใหม้ ีสว่ นรว่ มในสงั คมหรือการมีบทบาททางสังคม เป็นการสนับสนนุ การมี ชีวติ อยูอ่ ยา่ งมีความหมาย และสง่ เสริมความสามารถของตนเองหรืออกี นยั หนง่ึ คอื มกี ารปรบั ปรุงคุณภาพชวี ิตให้ ดีย่ิงข้ึน โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันเป็นวิธีการบูรณาการงานที่ส่งผลให้เกิดความส�ำเร็จตาม ความมุ่งหมายดงั กล่าวข้างตน้ การเปลยี่ นแปลงของผสู้ งู อายทุ ีท่ �ำใหเ้ กดิ ความเสยี่ งต่อภาวะตดิ เตยี งหรือติดบา้ น การเปลย่ี นแปลง รายละเอยี ดของการเปล่ยี นแปลง - การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นจิตใจ - อาการซึมเศร้าจากโรค เช่น โรคสมองเส่ือม หรอื ความผดิ ปกติ ของสขุ ภาพ - การเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกาย - การลดลงของมวลกลา้ มเนอ้ื และหนา้ ท่ีทางร่างกายเนือ่ งมาจาก การสงู วัย - การเปลย่ี นแปลงในกิจกรรม - การปฎบิ ัตกิ ิจวัตรประจำ�วันลดลง - การเปลี่ยนแปลงของระบบ - การลดลงของความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื เนอ่ื งจากการหกล้ม/ กลา้ มเนื้อและข้อ ภาวะกระดกู หัก การทำ�กิจกรรมตา่ งๆลดลง เนื่องจากภาวะ กลัวการหกลม้ ภาวะกระดูกหัก 9 คู่มอื สำ�หรับผ้ถู ่ายทอดความรู้ (Instructors)

วิธีการใช้คู่มือการดำ�เนนิ งานการดแู ลผู้สงู อายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน กิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันควรด�ำเนินการควบคู่ไปกับแผนผังการด�ำเนินงาน โครงการซ่ึงได้แสดงรายละเอียดไว้ในบทต่อไปและคู่มือฉบับนี้ได้จัดท�ำแบบส�ำรวจการด�ำเนินการส�ำหรับเจ้า หนา้ ทผ่ี รู้ บั ผิดชอบโครงการของศนู ยบ์ ริการสาธารณสุขเพือ่ ตรวจสอบความคืบหนา้ ของการท�ำกิจกรรม ตัวอยา่ งเชน่ เม่อื พบข้อความวา่ “ดทู ีร่ ายการตรวจสอบที่ X (หนา้ ท่ี XX) ให้ไปดูท่ี ภาคผนวก (หนา้ 13-20) เพื่อตรวจสอบแต่ละรายการในการปฏิบัติเช่นนี้ศูนย์บริการสาธารณสุขแต่ละแห่งสามารถบันทึกข้อมูล การท�ำกิจกรรมและแบ่งบทบาทหน้าท่ีระหว่างเจ้าหน้าท่ีด�ำเนินการ ได้หากเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานอยู่มีการ เปลยี่ นแปลงการปฏิบัตงิ านภายในองค์กรหรือหากมีการโอนย้ายบุคลากรไปยังหน่วยงานอน่ื ๆ ตัวอยา่ ง 1.ท�ำเครือ่ งหมาย (X) ลงในคอลมั นร์ ายการตรวจสอบที่ด�ำเนินการและรายการอน่ื ทีไ่ มจ่ �ำเป็น ตารางตรวจสอบ รายการ - กำ�หนดกลุม่ เปา้ หมาย/กลุม่ ท่คี วรจดั ประชุมชแ้ี จงสำ�หรบั ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ - จดั ทำ�แผนการปฏบิ ตั ิงาน (กำ�หนดวัน เวลาสถานท่แี ละความถ่ใี นการ จดั ประชมุ ช้ีแจงผ้เู ข้าร่วมโครงการ) X - กำ�หนดผรู้ บั ผิดชอบในการประชุมชี้แจงในวนั ดงั กลา่ วและผูน้ ำ�เสนอ ในแตล่ ะช่วง การประชมุ - พิจารณารปู แบบการจัดประชุมชีแ้ จง 2.ตรวจสอบรายการทไ่ี ดร้ บั การยืนยนั และด�ำเนนิ การในขณะท�ำกิจกรรมตามโครงการ ตารางตรวจสอบ รายการ P - กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายหรอื กลุ่มท่ีควรจดั ให้มกี ารประชมุ บรรยายสรปุ P - จดั ทำ�แผนการปฏบิ ตั งิ าน (กำ�หนดวนั เวลาสถานทแ่ี ละความถใ่ี นการจดั ประชมุ บรรยายสรปุ ) X - กำ�หนดเจา้ หน้าทผ่ี รู้ บั ผิดชอบการประชมุ บรรยายสรุปในวันดังกล่าว และผู้นำ�เสนอ ในแตล่ ะช่วงการประชมุ P - พิจารณารูปแบบการจดั ประชมุ บรรยายสรปุ 10 คมู่ อื สำ�หรบั ผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

บทท่ี 2 การคดั เลอื กและติดตาม สนบั สนุนการดำ�เนินงาน� อาสาสมัครผ้ฝู ึกสอนในชุมชน ในโครงการการดูแลผู้สงู อายุ ระยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั

บทที่ 2 การคดั เลือกและตดิ ตามสนบั สนุนการดำ�เนนิ งาน อาสาสมัครผฝู้ กึ สอนในชุมชน ในโครงการการดูแล ผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน กิจกรรมตามโครงการการดแู ลผสู้ ูงอายุระยะยาวเชงิ ป้องกันคืออะไร ž การคัดเลือกอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) จากอาสาสมัครสาธารณสุข หรือบุคคลในชุมชนเพ่ือฝึกอบรมความรู้และพัฒนาทักษะด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันโดยที่อาสา สมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) มีบทบาทส�ำคัญในการเป็นผู้น�ำด�ำเนินกิจกรรมการดูแลผู้สูง อายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกันให้กบั ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ ž สร้างสภาพแวดล้อมให้ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โครงการ สามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการออกก�ำลังกายตามวัตถุประสงค์ของการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในลักษณะต่อเนื่องและโดยความ สมัครใจ แผนผังการด�ำเนินงาน การวินจิ ฉยั ชมุ ชน การประเมิน การวางแผน การด�ำเนนิ งาน ผลโครงการ คัดเลือกอาสาสมัครผฝู้ ึกสอนในชมุ ชน การประชมุ ชแี้ จงแนวทางการด�ำเนินงาน การสนบั สนุนการด�ำเนินงานการดูแลผสู้ งู อายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน 12 คูม่ ือสำ�หรับผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

1. การวินจิ ฉยั ชมุ ชน จุดประสงค์ : จ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการรวบรวมปัญหาท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ีเป้าหมายและลักษณะ เฉพาะของพื้นที่เป็นการล่วงหน้า เพื่อให้สามารถบ่งช้ีปัญหาในพื้นที่เป้าหมายได้ การวางแผนด�ำเนินกิจกรรม ดำ� เนนิ การจัดกจิ กรรมและประเมินผลภาพรวมของโครงการ วิธีการด�ำเนินการ : ตรวจสอบข้อมูลพ้ืนฐานในตารางข้างล่าง (ตารางท่ี 1) และตรวจสอบถ้าพ้ืนท่ี โครงการมคี วามเหมาะสมทจ่ี ะเป็นสถานที่ดำ� เนินกิจกรรมตามโครงการการดูแลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชิงปอ้ งกัน [ ดูทีร่ ายการตรวจสอบท่ี 1 ตารางที่ 1 ตวั อยา่ งข้อมูลการวินจิ ฉยั ชุมชนทจี่ �ำเป็นในการด�ำเนินงานโครงการการดูแลผ้สู ูงอายุ ระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน หมวดหมู่ รายการ ข้อมลู พืน้ ฐาน - ช่ือชุมชน ขนาดพน้ื ท่ี - ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ - จำ�นวนประชากรทัง้ หมด - จำ�นวนครัวเรือน - แนวโนม้ ทางเศรษฐกิจและสังคม(การกำ�หนดค่าครอบครวั ) - แนวโนม้ ทางดา้ นประชากรศาสตร์ ขอ้ มลู พื้นที่ ข้อมลู ผู้สูงอายุ - ประชากรอายุ 60 ปขี ้ึนไป ดำ�เนนิ งาน - ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป ของศนู ยบ์ รกิ าร - จำ�นวนครวั เรือนที่มผี สู้ ูงอายุ 65 ปขี ึน้ ไปหรอื มากกวา่ และจำ�นวน สาธารณสขุ และพืน้ ท่ี ครัวเรือนทมี่ ีผสู้ งู อายุ 65 ปขี ึ้นไปเท่านั้น โครงการ - อัตราประชากรอายุ 60 ปใี นประชากรทงั้ หมด (ชุมชน) - จำ�นวนผสู้ ูงอายุทต่ี อ้ งการได้รับการดูแลระยะยาวเชิงป้องกนั (จำ�นวนผู้สงู อายตุ ดิ เตยี ง ผู้สูงอายตุ ิดบา้ น ผู้สงู อายุตดิ สังคม และ ผู้พกิ ารดว้ ยโรคหลอดเลือดสมอง) - อตั ราการป่วยเป็นโรคความดันโลหติ สูง,โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง, การหกล้ม, ภาวะกระดกู หกั - องค์กรและจำ�นวนคนท่เี กีย่ วข้อง - ทรพั ยากรทางการแพทย์ (จำ�นวนโรงพยาบาล คลินิก จำ�นวนเตยี ง ในโรงพยาบาล เปน็ ตน้ ) สิง่ อำ�นวย - จำ�นวนผ้ใู ห้การดูแล ความสะดวก และ - การมหี รอื ไม่มชี มรมผสู้ งู อายุ, ชนดิ ของชมรม, จำ�นวนสมาชกิ สถานทีส่ ำ�หรบั ทขี่ ึน้ ทะเบียนโดยองคก์ ร (จำ�นวนผเู้ ข้ารว่ มชมรม) ผ้สู ูงอายุ - การมหี รอื ไมม่ สี ถานที่สำ�หรบั กิจกรรมในรม่ หรอื กิจกรรมกลางแจ้ง - วิธีการเดินทางมาเข้าร่วมกจิ กรรมของผูส้ งู อายุ 13 คมู่ อื สำ�หรบั ผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ค�ำส�ำคญั (Keyword)   องคก์ รท่เี กย่ี วข้อง (Organization Involved) : หมายถึง สถานทรี่ าชการในพ้นื ท่ี เชน่ โรงพยาบาล คลินกิ ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ สำ� นกั อนามัย ส�ำนกั การแพทย์ ส�ำนักพัฒนาสังคม สำ� นกั งานเขต โรงเรยี น และ มหาวิทยาลัย เปน็ ต้น   ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ (Geographical Featured) : หมายถึง ลักษณะทางธรณวี ิทยา สภาพแวดลอ้ ม และ ลกั ษณะท่ัวไปของชมุ ชน เปน็ ตนั 2. การวางแผนและการดำ�เนนิ งาน (2.1) การวางแผน จุดประสงค์ : จัดท�ำแผนด�ำเนินกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันที่สอดคล้องกับ ความต้องการของชุมชนทพี่ บจากขอ้ มูลการวินิจฉยั ชุมชน แนวทาง : กำ� หนดหน่วยงานและบคุ ลากรผู้รบั ผดิ ชอบโครงการการดูแลผูส้ งู อายุระยะยาว เชิงปอ้ งกันก�ำหนดเป้าหมายและเนือ้ หาของกิจกรรมท่อี ้างอิงจากขอ้ มลู การวินจิ ฉัยชมุ ชน [ ดูที่รายการตรวจสอบท่ี 2 (หน้าที่ 14) (2.2) การด�ำเนินงาน จดุ ประสงค์ : ชี้แจงบทบาทและหน้าท่ขี องแตล่ ะหนว่ ยงานและบุคลากรในโครงการเพ่ือให้การ ด�ำเนนิ งานด�ำเนนิ ไปอย่างถกู ต้องเหมาะสม แนวทาง : ผ้อู ำ� นวยการศนู ยบ์ ริการสาธารณสุขมอบหมายบคุ ลากรของศนู ย์บริการสาธารณสุข จ�ำนวน 1 คน เพ่ือเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการด�ำเนินงานตามโครงการฯ และสร้างทีมผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors) จ�ำนวน 5 คน พร้อมก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้รับผิดชอบแต่ละคน และร่วมจัดท�ำ แผนการด�ำเนินงานในการถ่ายทอดความรู้ และพัฒนาทักษะในการด�ำเนินกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เชิงปอ้ งกนั ใหก้ บั ผู้ทีอ่ าศยั อยใู่ นชุมชน เพ่อื เปน็ อาสาสมัครผฝู้ ึกสอนในชุมชน (Community Trainers) [ ดทู ี่รายการตรวจสอบท่ี 3 (หนา้ ท่ี 15) 3. การฝกึ อบรมอาสาสมคั รผู้ฝกึ สอนในชุมชน (Community Trainers) จุดประสงค์ : เพอ่ื สง่ เสริมและพัฒนาผ้นู ำ� ชุมชน ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และสามารถถ่ายทอด ความรู้ให้แก่ประชาชนท่ีอยู่อาศัยอยู่ในชุมชน โดยมีบทบาทส�ำคัญในการเป็นผู้น�ำในการท�ำกิจกรรมการดูแล ผูส้ งู อายุระยะยาวเชิงปอ้ งกนั แนวทาง : ผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructor) เชิญชวนผู้อยู่อาศัยในพื้นท่ีโครงการที่มีความสนใจเข้าร่วม โครงการ เพื่อถ่ายทอดความรู้และพัฒนาทักษะให้มีบทบาทเป็นอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainers) [ ดทู ร่ี ายการตรวจสอบท่ี 4 (หนา้ ท่ี 16) 14 คมู่ ือสำ�หรับผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

การฝกึ อบรมอาสาสมคั รผู้ฝกึ สอนในชมุ ชน (Community Trainer) ควรด�ำเนินการทงั้ 2 ด้าน ดงั นี้ วธิ ีด�ำ เนนิ การ ขอ้ ดี - คดั เลือกผสู้ มัครจากกลุ่มกิจกรรมที่มีอยูแ่ ลว้ และ - ผู้สมคั รมีแรงจูงใจเพียงพอ เนอื่ งจากตนเองเปน็ ผนู้ ำ� ฝึกอบรมพฒั นาใหเ้ ปน็ อาสาสมัครผู้ฝึกสอนใน ในพ้นื ทข่ี องตนเอง ชุมชน (Community Trainer) - ผอู้ ยอู่ าศัยในชมุ ชนมคี วามรสู้ ึกอบอ่นุ ใจที่จะเข้าร่วม ในการทำ�กจิ กรรม - คัดเลือกผูส้ มัครโครงการท่ีเลือกขึ้นมาใหมแ่ ละ - ผู้สมคั รจะถูกคาดหวังว่าจะได้เรยี นรู้จากการ ฝึกอบรมพัฒนาใหเ้ ป็นอาสาสมคั รผูฝ้ ึกสอน ฝึกอบรมได้และนำ�ไปปฏิบตั ไิ ด้ทนั ทีนำ�ไปสกู่ าร ในชมุ ชน(Community Trainer) ดำ�เนนิ กจิ กรรมทม่ี ีแรงจงู ใจสูงอยา่ งต่อเน่ือง 4. การประชมุ ช้ีแจงโครงการการดแู ลผ้สู ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั แกผ่ ้เู ขา้ ร่วมโครงการ จุดประสงค์ : ก่อนเร่ิมกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกัน ผู้เข้าร่วมโครงการควรเข้าใจ ความส�ำคัญของโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันและความจ�ำเป็นในการด�ำเนินกิจกรรมกับผู้เข้า ร่วมโครงการต้ังแต่ระยะเริ่มแรก แนวทาง : ศูนย์บริการสาธารณสุขควรจัดประชุมช้ีแจงส�ำหรับผู้เข้าร่วมโครงการและเจ้าหน้าท่ีผู้รับ ผิดชอบโครงการของศูนย์บริการสาธารณสุข (Instructor) เก่ียวกับรายละเอียดเน้ือหาและความส�ำคัญของ โครงการการดแู ลผ้สู ูงอายุระยะยาวเชิงป้องกัน [ ดูที่รายการตรวจสอบที่ 5 (หนา้ ท่ี 16) 5. การสนับสนุนการดำ�เนนิ งานการดูแลผ้สู งู อายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั (5.1) การจดั ใหม้ ีกิจกรรมการดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชิงปอ้ งกัน วัตถุประสงค์ : สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการด�ำเนินกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะ ยาวเชิงปอ้ งกนั ใหม้ ีความปลอดภัยและดำ� เนนิ การไดอ้ ย่างราบรื่น แนวทาง : เจา้ หนา้ ท่ผี ู้รับผดิ ชอบโครงการของศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ ที่เป็นผ้ถู ่ายทอดความรู้ (Instructor) และอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) ตรวจสอบเร่ืองการจัดเตรียมสถานที่ เพ่ือด�ำเนินกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกันและตรวจสอบสิ่งที่ควรจัดเตรียมข้ึนใหม่เพ่ือป้องกัน อันตราย [ ดทู รี่ ายการตรวจสอบท่ี 6 (หน้าที่ 17) (5.2) การสนับสนนุ การด�ำเนนิ กิจกรรมการดูแลผ้สู งู อายุระยะยาวเชิงป้องกัน (หลงั จากเร่มิ ด�ำเนิน กจิ กรรม) วัตถุประสงค์ : อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุตรวจสอบว่ามีปัญหาใดเกิดข้ึนในการด�ำเนินกิจกรรม โครงการการดแู ลผสู้ งู อายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกันและน�ำเสนอปญั หาเพ่อื แก้ไขโดยทันที 15 คู่มือสำ�หรบั ผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

แนวทาง : เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบโครงการท่ีเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructor) ให้การ สนับสนุนอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) เพื่อคงไว้ซึ่งบทบาทการเป็นผู้น�ำกิจกรรม เมื่อพบว่ามีช่องว่างระหว่างแผนการด�ำเนินงานที่วางแผน และกิจกรรมที่ด�ำเนินการจริง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ โครงการฯ ผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructor) ควรแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) และร่วมมอื กนั ในการแกไ้ ขปัญหาและด�ำเนนิ กิจกรรมตอ่ ไป [ ดูท่ีรายการตรวจสอบท่ี 7 (หนา้ ท่ี 18) (5.3) การสนบั สนุนการด�ำเนนิ กจิ กรรมการดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกนั (ระยะกลาง) วัตถุประสงค์ : น�ำเสนอปัญหาในการด�ำเนินกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพื่อป้องกันไม่ให้การด�ำเนิน กิจกรรมขาดความตอ่ เนื่อง แนวทาง: ติดตามการดำ� เนนิ กิจกรรมของอาสาสมัครผฝู้ ึกสอนในชุมชน (Community Trainer) และผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการอย่างสม�่ำเสมอ เพ่ือให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ันผู้ถ่ายทอด ความรู้ (Instructor) ควรรว่ มมอื กบั อาสาสมัครผู้ฝกึ สอนในชมุ ชน (Community Trainer) เพ่อื สร้างบรรยากาศ ให้ผู้เขา้ รว่ มโครงการด�ำเนนิ กิจกรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง [ ดทู รี่ ายการตรวจสอบท่ี 8 (หนา้ ที่ 18-19) การสร้างบรรยากาศที่ดีในการด�ำเนินกิจกรรมเป็นสิ่งท่ีจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ท่ีท�ำให้ผู้เข้าร่วมโครงการต้องการมาท�ำ กิจกรรมอย่างสม่�ำเสมอ เช่นมีความสนุกสนาน การได้รับการยอมรับ การให้ความช่วยเหลือ การสื่อสารและ การดูแลซง่ึ กนั ความมีเมตตา การให้ก�ำลังใจ การยกยอ่ งสรรเสรญิ การสัมผสั ท่เี ปน็ ที่ยอมรบั และอื่นๆ โดยสรุปแล้วมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเอาใจใส่ผู้เข้าร่วมโครงการด้วยความเต็มใจ เปน็ พ้ืนฐาน 6. การประเมนิ ผลโครงการ (6.1) วิธกี ารประเมินผลโครงการ วัตถุประสงค์: ช้ีแจงข้อมูลเพื่อเป็นพ้ืนฐานส�ำหรับการด�ำเนินการอย่างต่อเน่ืองและ การเผยแพรโ่ ครงการ แนวทาง : บันทกึ วิเคราะห์และสรปุ ผล ดังนี้ 1. ผู้เข้ารว่ มโครงการมีการดำ� เนนิ กจิ กรรมการดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชิงป้อง เปน็ อย่างไร 2. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการไดร้ ับผลลัพธท์ ี่ดขี ้ึนอยา่ งไรหลังท�ำกิจกรรมแล้ว [ ดทู ร่ี ายการตรวจสอบท่ี 9 (หนา้ ที่ 20) (6.2) ตัวช้วี ดั การประเมนิ ผลและการเกบ็ ขอ้ มูล (ตัวอยา่ ง) วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้เข้าใจอย่างถูกต้องว่าผลสัมฤทธ์ิท่ีเกิดจากกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เชงิ ป้องกันโดยการประเมนิ ผลกิจกรรมของโครงการจากดา้ นตา่ ง ๆ แนวทาง : ด�ำเนินการประเมินผลด้วยตัวชี้วัดการประเมินผลโครงการการดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว เชงิ ป้องกันตามตารางท่ี 2 ด้านล่างน้ี 16 คมู่ ือสำ�หรับผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

(6.3) เวลาส�ำหรับการประเมนิ ผลโครงการ วัตถุประสงค์ : เพ่ือเข้าใจถึงความเปล่ียนแปลงต่างๆท่ีเกิดขึ้นรวมทั้งค้นหาปัญหาท่ีเกิดขึ้น ระหวา่ งดำ� เนินโครงการ แนวทาง : ส�ำหรับตัวช้ีวัดการประเมินผลโครงการด้านล่างน้ีเป็นการประเมินผลระยะ กลางและการประเมนิ ผลในขั้นตอนสดุ ทา้ ย * การประเมินผลระยะกลาง : ก�ำหนดท�ำในขั้นตอนสุดท้ายของกิจกรรมโครงการการดูแล ผู้สูงอายรุ ะยะยาว เชิงปอ้ งกันในพ้ืนท่ีโครงการศนู ย์บรกิ ารสาธารณสขุ 4 ดนิ แดงและศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุข 56 ทับเจรญิ * การประเมินผลในขั้นตอนสุดท้าย : ก�ำหนดท�ำในระยะส้ินสุดโครงการขององค์การความร่วมมือ ระหวา่ งประเทศของญ่ีปนุ่ (JICA) ทัง้ หมด ตารางท่ี 2 ตวั ช้วี ัดการประเมนิ ผลโครงการการดแู ลผสู้ งู อายรุ ะยะยาวเชิงป้องกัน ตวั ชวี้ ดั การประเมนิ ผลโครงการ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมลู รายการประเมินผล ระยะ ขัน้ ตอน กลาง สุดทา้ ย - ความเขา้ ใจของบุคลากร - แบบประเมนิ ผลการวิเคราะห์ q q กรงุ เทพมหานครในโครงการ (แบบสอบถามกอ่ นและหลังการ การดูแลผูส้ งอายรุ ะยะยาว ฝึกอบรม เปน็ ตน้ ) เชิงป้องกัน - กิจกรรมท่ดี ำ�เนนิ การ - จำ�นวนคณะกรรมการ q q ดำ�เนินงานโครงการการดแู ล โครงการ ผูส้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั ทั้งหมด และโปรแกรมฝกึ อบรม บคุ ลากรท่ีจดั ข้นึ - จัดทำ�กิจกรรมโครงการการ ดแู ลผู้สงู อายรุ ะยะยาว เชิงป้องกนั - จำ�นวนเจา้ หนา้ ทีผ่ ้รู บั ผิดชอบ - รายงานการดำ�เนนิ งานของ qq โครงการการดแู ลผ้สู ูงอายุ ศูนย์บริการสาธารณสุข ระยะยาวเชิงปอ้ งกันและ อาสาสมคั รดูแลผ้สู งู อายุ ท่ีได้รบั การฝึกอบรม - จำ�นวนกจิ กรรมการดูแล - รายงานประจำ�วนั ของอาสาสมัคร ผูส้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกันที่ ผูฝ้ กึ สอนในชมุ ชน (Community ดำ�เนินการและจำ�นวน Trainer) q q ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม 17 คมู่ ือสำ�หรับผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

ตวั ชว้ี ดั การประเมนิ ผลโครงการ วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู รายการประเมนิ ผล ระยะ ข้ันตอน กลาง สดุ ทา้ ย - การเปลีย่ นแปลงภาวะสุขภาพ - การทดสอบสมรรถภาพทาง ของผเู้ ขา้ รว่ ม โครงการในการ รา่ งกาย (การวัดแรงบบี มอื ประเมนิ ผล ความสมดลุ ของการเดิน ความสามารถในการทรงตัว q q การเปลยี่ นแปลง ความแข็งแรงของขา และก ในแต่ละบุคคล ารทดสอบการก้าวเท้า) - แบบคัดกรองโรคสมองเส่ือม q q - แบบประเมินความสนใจและ ความวิตกกังวล - อตั ราในการเข้ารว่ มโครงการ - รายงานประจำ�วันของผู้ q q ของผู้เขา้ รบั การประเมนิ ผล ถา่ ยทอดความรู้ (instructors) - กลุ่มเปา้ หมายการประเมนิ ผล - ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทั้งหมด - จำ�นวนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ - รายงานประจำ�วนั ของ รายใหม่ ผูถ้ ่ายทอดความรู้ (instructors) - จำ�นวนของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ q q การเปล่ียนแปลง รายใหม่ q q พ้นื ท่โี ครงการ (ชมุ ชน) - การขอเขา้ เยีย่ มพ้ืนที่โครงการ - จำ�นวนการขอเยีย่ มพ้ืนที่ / การสอบถามข้อมูล จาก โครงการ/การสอบถาม หนว่ ยงานอน่ื - การรายงานการดำ�เนนิ งาน - จำ�นวนรายการที่โครงการ q q โครงการการดแู ลผสู้ งู อายุ การดูแลผสู้ งู อายุระยะยาว ระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน โดยสอ่ื เชงิ ปอ้ งกนั ไดเ้ ผยแพรใ่ นสอื่ สาธารณะ หนงั สอื พิมพ์หรอื ส่ือโทรทศั น์ เปน็ ตน้ 18 คู่มอื สำ�หรบั ผู้ถา่ ยทอดความรู้ (Instructors)

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 รายการตรวจสอบ (Checklists) การคัดเลือกและติดตามสนับสนุนการด�ำเนินงานอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชุมชน (Community Trainer) รายการตรวจสอบที่ 1 การวินิจฉยั ชมุ ชนสำ�หรับการทำ�กจิ กรรมการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาว เชิงปอ้ งกนั ตาราง รายการ ตรวจสอบ l สถานทสี่ �ำหรบั จัดกจิ กรรม ชุมชนที่เขา้ รว่ มกจิ กรรมตามโครงการมสี ถานท่ที ี่เหมาะสมในการท�ำกิจกรรมหรอื ไม่ l ขอ้ มลู เบื้องตน้ ของการท�ำกจิ กรรม คณุ ลกั ษณะของกลมุ่ เป้าหมาย (เพศ/อาย)ุ จ�ำนวนประชาชนทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรม และ ความถี่ของการท�ำกิจกรรม และผนู้ ำ� การทำ� กิจกรรม เปน็ ต้น l ตรวจสอบและสังเกตกิจกรรมทดี่ �ำเนินการอยู่ บรรยากาศการท�ำกิจกรรม สถานการณ์จริง พ้ืนที่ใชส้ �ำหรบั การท�ำกจิ กรรมของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม บุคคลสำ� คัญท่เี ก่ียวขอ้ ง l มีความเข้าใจความต้องการของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ l การคำ� นงึ ถึงพน้ื ท่ที ี่ไม่ไดม้ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมตามโครงการการดแู ลผสู้ ูงอายุระยะยาว เชิงปอ้ งกัน l การจัดหาอุปกรณ์อำ� นวยความสะดวกท่ีพรอ้ มใช้งานส�ำหรับกจิ กรรมการดแู ลผสู้ งู อายุ ระยะยาเชงิ ป้องกนั ใน l มีองค์กรหรือหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องอย่ใู นพนื้ ที่หรือไม่ ถ้ามีองคก์ รหรือหนว่ ยงานดงั กลา่ ว มคี วามสนใจจะเขา้ ร่วมกิจกรรมหรือร่วมมือกบั การดแู ลผู้สงู อายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน หรอื ไม่ 20 คู่มือสำ�หรบั ผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

รายการตรวจสอบที่ 2 การจัดทำ�แผนการดำ�เนนิ งานการดแู ลผสู้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั ตาราง รายการ ตรวจสอบ l กำ�หนดหน่วยงานและบุคลากรทีร่ ับผดิ ชอบกิจกรรมการดแู ลผสู้ ูงอายุระยะยาว เชงิ ปอ้ งกัน ปรกึ ษาหารอื เกยี่ วกบั วธิ กี ารดำ�เนินงานจดั กิจกรรมในหน่วยงาน l แลกเปลย่ี นขอ้ มลู กบั คณะกรรมการดำ�เนนิ งานโครงการการดแู ลผสู้ งู อายรุ ะยะยาว เชิงป้องกันของกรุงเทพมหานคร หนว่ ยงานหรอื องค์กรอน่ื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง l กำ�หนดเป้าหมายของกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการวินจิ ฉัยชุมชน l กำ�หนดเน้ือหาของกจิ กรรมทเ่ี กีย่ วข้องกับการวินิจฉัยชุมชน 1. กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายและผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม 2. กำ�หนดวัน เวลา สถานท่ี และความถีใ่ นการดำ�เนินการจดั กจิ กรรม 3. กำ�หนดวทิ ยากรผใู้ ห้ความรู้ ตามความจำ�เปน็ 4. วางแผนงบประมาณ ดำ�เนนิ การ รายการตรวจสอบที่ 3 การดำ�เนินงานการดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน ตาราง รายการ ตรวจสอบ l จดั ตง้ั คณะกรรมการดำ� เนินงานโครงการการดแู ลผู้สงู อายุระยะยาวเชงิ ป้องกันพนื้ ท่ี ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ (อธบิ ายถงึ วธิ ีการคัดเลอื กคณะกรรมการดำ� เนนิ งาน วตั ถุประสงคแ์ ละวิธีการประชมุ ชแ้ี จง) l สรา้ งแผนผงั ระบบ (องค์กรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง,การแบง่ บทบาทหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบ, และ คำ� รอ้ งขอตา่ งๆ) l กำ� หนดตารางเวลาโดยรวม l ก�ำหนดวิธีการประเมินผลตามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ - ส�ำหรับการประเมนิ ผลโครงการให้ดูทขี่ ้อ 7 การประเมินผลโครงการ l ก�ำหนดขนั้ ตอนการตรวจตดิ ตามความคืบหน้าของโครงการ (ใคร,อยา่ งไรและเม่อื ใด) l ก�ำหนดวธิ กี ารเผยแพร่โครงการ l ก�ำกับ ตดิ ตามผูเ้ ข้าร่วมโครงการและพื้นทีด่ ำ� เนนิ งานโครงการ ทุก 4 เดอื น l จดั ประชุมคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการการดูแลผูส้ ูงอายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน พืน้ ทีศ่ นู ย์บรกิ ารสาธารณสขุ เพื่อตดิ ตามความคบื หนา้ ของกิจกรรมท่ีด�ำเนินงาน l รายงานผลการก�ำกบั ติดตามการด�ำเนนิ งาน ไปยงั คณะกรรมการด�ำเนนิ งานโครงการ การดูแลผสู้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั 21 คู่มอื สำ�หรับผู้ถา่ ยทอดความรู้ (Instructors)

รายการตรวจสอบท่ี 4 การฝกึ อบรมอาสาสมคั -ร1ผ4-้ฝู กึ สอนในชุมชน (Community Trainer) ตาราง รายการ ตรวจสอบ l กำ� หนดพื้นท่ีชุมชนที่จะเข้ารว่ มโครงการการดแู ลผูส้ ูงอายุระยะยาวเชิงปอ้ งกนั l กำ� หนดวัน เวลา สถานทแี่ ละจำ� นวนคร้ังของการจดั ฝึกอบรม“อาสาสมคั รผฝู้ กึ สอน ในชุมชน”(Community Trainer) l กำ� หนดรายละเอียดเนอ้ื หาและวิทยากรฝกึ อบรม l ชแี้ จงใหผ้ ู้รับการฝึกอบรมอาสาสมัครผู้ฝึกสอนในชมุ ชน (Community Trainer) เก่ยี วกบั การเข้ารว่ มกจิ กรรมในพื้นท่ีด�ำเนนิ งานโครงการ l พิจารณาคัดเลือกผ้เู ขา้ รว่ มโครงการการดูแลผูส้ งู อายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกนั (Paticipants) l ชีแ้ จงบทบาทของอาสาสมคั รผฝู้ กึ สอนในชมุ ชน (Community Trainer) l เจ้าหนา้ ท่ีผู้รับผดิ ชอบโครงการการดแู ลผูส้ งู อายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกันของศูนย์บริการ สาธารณสขุ (Instructor) และอาสาสมัครผฝู้ กึ สอนในชุมชน (Community Trainer) ปรึกษาหารือร่วมกนั เกี่ยวกบั บทบาทหน้าท่ีในการด�ำเนนิ การจดั กิจกรรมการดูแลผ้สู ูง อายรุ ะยะยาวเชิงปอ้ งกนั l มอบคมู่ อื ส�ำหรับการด�ำเนินงานการดแู ลผสู้ งู อายุระยะยาวเชิงปอ้ งกันแกผ่ ้เู ข้ารบั การฝึก อบรมอาสาสมคั รผฝู้ กึ สอนในชุมชน (Community Trainer) รายการตรวจสอบท่ี 5 การประชุมชแ้ี จงโครงการการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาวเชิงป้องกนั ตาราง รายการ ตรวจสอบ l กำ�หนดผู้เขา้ รว่ มประชุมชีแ้ จงโครงการการดูแลผู้สงู อายรุ ะยะยาวเชิงป้องกัน l กำ�หนดวัน เวลา สถานที่และจำ�นวนครงั้ ของการจดั ประชุมชแ้ี จง l กำ�หนดหนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบในการประชมุ ช้แี จงแต่ละครั้ง l ปรึกษาหารอื วธิ กี ารเผยแพร่ข้อมลู การประชุมชีแ้ จงโครงการใหก้ ับผทู้ ีเ่ ก่ยี วข้อง l กำ�หนดเนอื้ หาการประชุม l ตรวจสอบยืนยันผเู้ ข้ารว่ มประชุม 22 คู่มอื สำ�หรบั ผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

รายการตรวจสอบที่ 6 การเรมิ่ ดำ�เนนิ กิจกรรมการดผู ้สู ูงอายุระยะยาวเชงิ ป้องกัน ตารางตรวจสอบ รายการ 1. สภาพแวดลอ้ ม 2. ทรัพยากรบคุ คล สถานท่ี 3. กิจกรรม l ตรวจสอบสถานที่และอุปกรณ์ทจ่ี ำ�เป็นสำ�หรบั การดำ�เนินการจดั กจิ กรรมการดแู ล 4. ดา้ นงบประมาณ ผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชิงปอ้ งกัน รวมถึงส่งิ อำ�นวยความสะดวกอ่ืนๆ สำ�หรบั การดำ�เนนิ กจิ กรรม l ตรวจสอบวธิ ีการเดินทางมาเขา้ รว่ มกจิ กรรมของผู้เขา้ ร่วมโครงการ l จ้าหนา้ ทผี่ ฝู้ กึ สอน (Instructors) ของศนู ย์บรกิ ารสาธารณสุข อธบิ ายการทำ� กจิ กรรมเบ้ืองต้น l อธบิ ายรายละเอยี ดของโครงการแก่หนว่ ยงานที่เก่ียวข้องและผทู้ ีช่ ว่ ยเหลือ โครงการได้ l คัดเลือกและพัฒนาอาสาสมัครดูแลผูส้ ูงอายุ จำ�นวน 5 คน (ไม่ใหเ้ ป็นภาระเพยี ง คนเดยี ว) l อธิบายถงึ บทบาทของอาสาสมัครดแู ลผสู้ ูงอายซุ ึ่งมบี ทบาทสำ�คัญในการดำ�เนนิ กจิ กรรมตามโครงการ l กำ�หนดการในภาพรวมโครงการ ฯ l กำ�หนดวิธีการพจิ ารณาคัดเลอื กผเู้ ขา้ รว่ มโครงการและผลติ ส่ือประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรโ่ ครงการ เช่น สือ่ แผน่ พบั เปน็ ตน้ l จดั ทำ�โปรแกรมการออกกำ�ลงั กายท่ีนำ�มาใชใ้ นกิจกรรมการดแู ลผ้สู งู อายุระยะยาว เชิงปอ้ งกันและพจิ ารณาถงึ วิธกี ารท่จี ะนำ�มาใช้กับผเู้ ข้าร่วมโครงการ l ชีแ้ จงขนั้ ตอนและวธิ กี ารดำ�เนินกิจกรรม (โดยใคร เม่อื ไร อย่างไร) l ชี้แจงบทบาทของผู้เข้าร่วมโครงการ เจ้าหนา้ ทีผ่ ้รู บั ผิดชอบโครงการของ ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ และอาสาสมัครดแู ลผสู้ ูงอายุ(Community Trainer) l ประมาณการงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยท่ีจำ�เป็นสำ�หรบั การดำ�เนินกจิ กรรม l  งบประมาณค่าใช้จ่ายที่ศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ เป็นผ้รู ับผิดชอบและกำ�หนด แนวทาง (guideline) ในการดำ�เนนิ กิจกรรมการดแู ลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงปอ้ งกัน 23 ค่มู ือสำ�หรบั ผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

รายการตรวจสอบที่ 7 การสนบั สนุนการดำ�เนนิ งานในระยะเร่ิมต้นกิจกรรมการดแู ลผสู้ งู อายุ ระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน ตาราง รายการ ตรวจสอบ l เจ้าหนา้ ที่ผู้ฝกึ สอน (Instructors) อธิบายให้ผู้เข้ารว่ มโครงการทราบถึงวัตถปุ ระสงค์ ของกิจกรรมการดแู ลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ป้องกนั และบทบาทของอาสาสมคั รผฝู้ ึกสอน ในชุมชน (Community Trainer) l เจา้ หนา้ ท่ีผูฝ้ ึกสอน (Instructors) และอาสาสมคั รผ้ฝู กึ สอนในชุมชน (Community Trainer) มีการอภปิ รายร่วมกันอย่างสมำ่ �เสมอ ปรับแกไ้ ขบทบาทและกิจกรรมร่วมกัน l จดั ทำ�โปรแกรมการออกกำ�ลงั กายซึ่งเปน็ แกนหลกั ของกิจกรรม l เจา้ หนา้ ท่ีผูฝ้ กึ สอน (Instructors) จดั ทำ�ทะเบยี นรายชือ่ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการเพื่อเปน็ เอกสารการลงทะเบยี นเข้าร่วมโครงการและรายช่ือผู้ท่สี ามารถตดิ ต่อไดใ้ นกรณีฉกุ เฉิน (ต้องใสข่ ้อมลู ประวตั ทิ างการแพทยด์ ้วย) l มอบแบบบนั ทึกกิจกรรม แกผ่ ู้เข้าร่วมโครงการเพื่อบันทึกสถานะสุขภาพและผลการ ทดสอบทางกายภาพ l ชี้แจงให้ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการทราบช่ือของเจา้ หน้าทผี่ ้ฝู ึกสอน (Instructors) ท่ีสามารถ ขอรบั คำ�ปรึกษาเมอื่ มปี ญั หาหรือข้อคำ�ถามระหวา่ งการดำ�เนินกจิ กรรม รายการตรวจสอบท่ี 8 การสนบั สนนุ การดำ�เนนิ งานหลังจากผ่านไปชว่ งระยะเวลาหน่งึ (ตรวจสอบภายในระยะเวลา 6 เดอื นหลังจากชว่ งดำ�เนนิ กจิ กรรมครั้งแรก) ตาราง รายการ ตรวจสอบ l การวดั ผลการด�ำเนนิ งาน (รายละเอยี ดตามหวั ขอ้ ทีก่ �ำหนดด้านล่าง) l การทดสอบสมรรถภาพทางรา่ งกาย: การวัดแรงบีบมอื (Grip Strength), การทดสอบ ความ สมดลุ ของการเดนิ Time up &go (TUG) การทดสอบความสามารถในการทรงตวั โดยการยนื ขาเดยี ว (Standing one leg with eyes open) การทดสอบความแขง็ แรง ของขาโดยการลกุ ข้ึนยนื (Standing-Up) การทดสอบการก้าวเทา้ (Two-Steps test) เป็นต้น l การประเมินการทำ� หนา้ ทขี่ องรา่ งกาย: รายการตรวจสอบ (Checklist) การท�ำกจิ กรรมการดแู ล ผสู้ ูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั รายการตรวจสอบ (check list) ส�ำหรบั โรคสมองเส่ือม 24 คู่มือสำ�หรบั ผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

รายการตรวจสอบที่ 8 การสนบั สนนุ การด�ำเนนิ งานหลงั จากผ่านไปชว่ งระยะเวลาหนึง่ (ต่อ) ตาราง รายการ ตรวจสอบ l ขอ้ มูลการประเมินด้านสุขภาพ ไดแ้ ก่: สภาพร่างกายของตนเอง, อารมณ์, การ เปล่ียนแปลงในชวี ติ ฯลฯ l เจา้ หน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการการดแู ลผู้สงู อายุระยะยาวเชิงป้องกันของศนู ย์บรกิ าร สาธารณสุขมกี ารก�ำกับติดตามการดำ� เนนิ งานอยา่ งสม่ำ� เสมอ l จดั การประชมุ อยา่ งสม�่ำเสมอ - การประชุมก่อนทำ� กิจกรรมระหว่างเจา้ หนา้ ทผ่ี ู้ฝึกสอน (Instructors) และอาสาสมคั ร ผ้ฝู กึ สอนในชมุ ชน (Community Trainer) - การแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ระหว่างอาสาสมคั รผ้ฝู ึกสอนในชมุ ชน (Community Trainer) รายการตรวจสอบที่ 9 การประเมินผลโครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชงิ ปอ้ งกัน ตาราง รายการ ตรวจสอบ l ก�ำหนดระยะเวลาของการประเมินผลโครงการ l กำ� หนดรว่ มกันระหวา่ งผ้ทู ่เี กี่ยวข้อง ข้อมลู ท่ีต้องการเกบ็ และระยะเวลาในการเก็บ l ก�ำหนดผปู้ ระเมนิ ผลโครงการ (จากหนว่ ยงานภายในและหนว่ ยงานภายนอก ฯลฯ) ผปู้ ระเมินผลโครงการอาจเป็นสมาชกิ ของคณะกรรมการโครงการการดแู ลผู้สงู อายุ ระยะยาวเชิงป้องกนั l ก�ำหนดหวั ขอ้ ท่ีต้องการประเมนิ และวิธกี ารเก็บขอ้ มูล l ก�ำหนดวิธกี ารรายงานผลการประเมนิ และหน่วยงานที่ตอ้ งน�ำเสนอผลการประเมิน โครงการ 25 คมู่ อื สำ�หรับผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

ภาคผนวก 2 การจดั การกระบวนการการดูแลผสู้ ูงอายรุ ะยะยาว เชิงป้องกนั คำ�แนะนำ�สำ�หรับการออกกำ�ลังกาย 1. การประเมินสมรรถภาพทางรา่ งกาย (การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย) 2. โปรแกรมกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายรุ ะยะยาวเชงิ ปอ้ งกนั (การฝกึ เพือ่ ป้องกนั ภาวะทมี่ คี วามผดิ ปกติ ในการเดิน และการใช้ชีวิตประจ�ำวัน (Locomotive Syndrome) และการฝึกเพ่ือป้องกันโรคสมองเส่ือม (Cognicise) 26 ค่มู ือสำ�หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

1. การประเมนิ สมรรถภาพทางรา่ งกาย (ความสำ�คญั ของการประเมินสมรรถภาพทางรา่ งกาย) วิธีการประเมินสมรรถภาพทางรา่ งกาย ดำ� เนนิ การดงั นี้ 1) รวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกบั สมรรถภาพทางรา่ งกายของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ 2) จัดท�ำโปรแกรมการออกก�ำลังกาย 3) ประเมนิ ผลกระทบของโปรแกรมการออกก�ำลังกาย 4) คาดการณค์ วามก้าวหนา้ ในอนาคตของโปรแกรมการออกก�ำลงั กาย ประเดน็ ในการประเมนิ สมรรถภาพทางร่างกาย วิธีการประเมินสมรรถภาพทางร่างกายนี้ควรได้รับการออกแบบให้บุคคลใดก็ตามที่เข้าร่วมการ ประเมินได้รับผลลพั ธ์เชน่ เดยี วกันมีมาตรฐานเพือ่ ให้ม่นั ใจไดว้ า่ มีความน่าเช่อื ถอื ความถกู ตอ้ งและความแนน่ อน การประเมินสมรรถภาพทางร่างกายควรด�ำเนินการอย่างสม่�ำเสมอโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงเร่ิมต้น และระยะส้ินสุดกิจกรรม นอกจากน้ีการด�ำเนินการดังกล่าวจะส่งผลดีในช่วงระยะกลางของกิจกรรมการดูแลผู้ สูงอายุระยะยาวเชิงปอ้ งกัน เพราะจะช่วยสร้างแรงจูงใจในการท�ำกจิ กรรมใหก้ บั ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ ควรตรวจสอบสภาพแวดล้อมของสถานที่ในการท�ำกิจกรรมและ สภาวะสุขภาพของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการก่อนการประเมนิ สมรรถภาพทางร่างกาย 27 คมู่ อื สำ�หรับผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

1) การวัดแรงบบี มือ (Grip Strength) วัตถุประสงค์เพ่ือวัด ความสามารถในการวัดบีบมือ และความแข็งแรงของกล้ามเน้ือโดยรวม ซึ่งถ้าก�ำลงั บบี มือลดลงจะท�ำให้ไมส่ ามารถหวิ้ ถงุ หรือกระเป๋า (ไม่สามารถยกหรือเกบ็ ฟกู ท่นี อนได)้  อุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็น : เคร่ืองวัดแรงบีบมือ เป็นอุปกรณ์ตรวจวินิจฉัยความสามารถในการจับท่ีมี คณุ ภาพสูง (Smedley hand Dynamometer) (ด้ามจบั สามารถปรบั ได)้ หรือเครอ่ื งวัดกำ� ลงั กล้ามเน้อื มอื ด้วย ระบบดิจติ อล(Digital hand Dynamometer)  ขั้นตอนในการทดสอบวัดก�ำลังของกลา้ มเนอื้ มือ a. โดยทั่วไปจะท�ำการวัดก�ำลังของกล้ามเน้ือมือในท่านั่ง ยกเว้นในผู้รับการทดสอบบางราย อาจทำ� การทดสอบในทา่ ยืนได้ b. ปรบั เพื่อให้ส่วนทส่ี องของน้ิวชี้ทำ� มมุ พอดีกบั เครอื่ งวดั กำ� ลงั มือ c. ท�ำการวัดกำ� ลงั มอื อยา่ งช้าๆ ออกแรงบบี มอื ให้ได้มากที่สดุ แขนไม่แนบกบั ดา้ นข้างของลำ� ตวั d. ท�ำการทดสอบสองครั้งของมือแต่ละข้างบันทึกค่าตัวเลขท่ีได้ พิจารณาจากผลครั้งท่ีดีที่สุด โดยให้นับถึงจดุ ทศนิยมตำ� แหนง่ แรก)  ขอ้ ควรระวังในระหว่างการทดสอบวดั กำ� ลังของกล้ามเนอื้ มอื - นั่งหลังต้ังฉากกับเคร่ืองวัดแรงบีบมือเพ่ือความม่ันคงขณะทดสอบและช่วยป้องกันการ เคลือ่ นไหว ท่ไี ม่จ�ำเป็นของขอ้ ศอกและไหล่ - จับด้ามจับเครื่องวดั แรงบบี มอื ให้แนน่ ไมจ่ ับดา้ มจบั ใหส้ นั่ นงั่ ในท่าหลังตรง และเมื่อนงั่ อยู่บน เก้าอ้ี เครือ่ งวัดกำ� ลงั มือไม่ควรวางกดลงบนเกา้ อ้ี - น่ังอยู่ในตำ� แหน่งเดยี วกนั ของการทดสอบทง้ั สองคร้งั ตรวจสอบให้แน่ใจว่าผู้รบั การทดสอบไม่ ไดเ้ ปลยี่ นแปลงตำ� แหน่งการนง่ั ขณะเร่มิ ต้นทดสอบและสิ้นสุดการทดสอบ  เกณฑม์ าตรฐานตามอายุ การวดั แรงบีบมอื ตารางแสดงเกณฑ์มาตรฐานการวัดแรงบีบมือของผู้สงู อายุ ในเพศชาย คา่ แรงบบี มือมีค่าอยา่ งต�ำ่ เทา่ กับ 30 กโิ ลกรัม เพศหญงิ มีค่าแรงบบี มือเทา่ กับ 20 กโิ ลกรัมหรือมากกว่า(ตารางที่ 3) 28 คู่มอื สำ�หรบั ผ้ถู ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ตารางที3่ เกณฑ์มาตรฐานตามอายุ การวดั แรงบบี มือ(Grip Strength) อายุ(ป)ี การวัดแรงบบี มอื (Grip Strength) คา่ เฉลีย่ เพศชาย เพศหญิง 65 – 69 ปี 39.77 24.72 70 – 74 ปี 37.46 23.75 75 – 79 ปี 35.02 22.34 2) การประเมินความสมดลุ ของการเดิน (Time Up and Go test) วตั ถุประงคเ์ พื่อวัด ความแขง็ แรงของการเดนิ และความสมดลุ ขณะเดิน ทกั ษะความสามารถ–การยืน การเดิน และการเปล่ียนทศิ ทาง  อปุ กรณท์ ีจ่ �ำเปน็ - เก้าอีท้ ี่มีทพี่ กั ขอ้ ศอก (ไม่ใชเ่ ก้าอีท้ ว่ั ไป ทีน่ งั่ ควรหา่ งจากพน้ื ระยะประมาณ 44-47 เซนตเิ มตร) - นาฬกิ าจบั เวลา - เจา้ หนา้ ท่คี วบคมุ ก�ำกับในการหมุนตวั เปลย่ี นทิศทางการเดินและกลบั มานงั่ ที่เดมิ  ข้นั ตอนของการทดสอบ a. ผรู้ ับการทดสอบนั่งลงให้วางแขนบนพนกั วางแขน b. สามารถหันด้านขวาหรือด้านซ้ายเมื่อหมุนตัวกลับเพื่อเปล่ียนทิศทางการเดิน เตรียมพร้อมท่ี จะยืนขึน้ โดนลำ� ตวั ไม่ควรเอนไปขา้ งหน้า ตำ� แหนง่ ของหลังพิงอยูก่ บั พนักเก้าอี้ c. เร่ิมจับเวลาเม่ือผู้รับการทดสอบลุกขึ้นยืนจากเก้าอ้ีจับเวลาที่ลุกข้ึนจากเก้าอี้ เดินไปข้างหน้า ระยะทาง 3 เมตร หลังจากน้ันหมุนกลับตัวเปล่ียนทิศทางและเดินกลับไปที่เก้าอ้ีและน่ังลงกดหยุดนาฬิกาจับ เวลาเมอ่ื ผรู้ บั การทดสอบนง่ั ลง และหลงั แตะพนักพิง “ความเร็วการเดิน (Walking Speed): ก�ำหนดวา่ ผู้รบั การ ทดสอบควรเดินดว้ ยความเรว็ ในขณะเดนิ ปกติ (ความเรว็ ในขณะเดินปกติและมีความปลอดภยั ) 29 ค่มู ือสำ�หรับผ้ถู ่ายทอดความรู้ (Instructors)

 ข้อควรระวงั ในการทดสอบ - เม่ือผู้รับการทดสอบเปลี่ยนทิศทางการเดินและการน่ังควรให้ความระมัดระวังโดยเฉพาะการหกล้ม - เมื่อผู้รบั การทดสอบน่ังเกา้ อี้ ใหม้ เี จ้าหน้าท่ชี ่วยยึดจบั เกา้ อี้ใหม้ ัน่ คง เพ่ือไม่ให้เก้าอ้ีขยบั เคลอ่ื นได้ - การวัดค่าการประเมินเป็นระยะเวลาข้ึนอยู่กับชนิดของรองเท้าที่ผู้รับการทดสอบใส่และ สภาพของพน้ื ผิวทใ่ี ชข้ ณะท�ำการทดสอบด้วย  เกณฑม์ าตรฐานตามอายุ การประเมินความสมดลุ ของการเดนิ การทดสอบนี้ผู้รับการทดสอบสามารถท�ำส�ำเร็จได้ภายในเวลาไม่ถึง 10 วินาที ในกรณีที่ไม่มี ประวัติปัญหาเก่ียวกับระบบประสาทเม่ือการทดสอบเสร็จส้ินภายในระยะเวลา 20 วินาที ผู้รับการทดสอบ สามารถออกไปท�ำกจิ กรรมภายนอกบ้านได้ ในขณะทผี่ ้รู ับการทดสอบทตี่ ้องใชเ้ วลาเดนิ 30 วินาทีหรือมากกวา่ ต้องได้รับการช่วยเหลือในการท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน (ADL) นอกจากน้ีจากการคาดการณ์ความไว (Sensitivity) และความเส่ียงจ�ำเพาะของการล้ม (Specifically for Risk) เท่ากับร้อยละ 87 จุดตัดของการคาดการณ์ การหกลม้ มีค่าเทา่ กบั 13.5 วนิ าที ตารางที่ 4 เกณฑม์ าตรฐานตามอายุ การประเมนิ ความสมดุลของการเดนิ (Time up and Go by Age) อายุ(ปี) เพศชาย เพศหญงิ 60-69 ปี 8 วนิ าที 8 วนิ าที 70-79 ปี 9 วินาที 9 วนิ าที 80-89 ปี 10 วินาที 11 วนิ าที 30 คมู่ ือสำ�หรบั ผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

3) การประเมนิ ความสามารถในการทรงตัว (Standing on leg with eyes open) วตั ถุประสงค์เพือ่ วัดความแขง็ แรงของขาและความสมดลุ เมือ่ หยดุ น่งิ ลดน้อยลง  อปุ กรณ์ทจ่ี �ำเป็น: นาฬกิ าจับเวลา  ขั้นตอนของการทดสอบ a. ผู้รับการทดสอบยืนตรงบนพื้นเรียบยกมือท้ังสองให้เท้าสะเอวและยกขาข้างหนึ่งสูงห่างจาก พ้ืนประมาณ 5 เซนติเมตร b. อนุญาตใหผ้ ู้รับการทดสอบทดลองทำ� 1-2 ครั้ง กอ่ นการทดสอบจริง หลังจากนน้ั เม่อื ท�ำการ ทดสอบจริงใหย้ กขาข้างละ 2 คร้งั c. ผู้ทดสอบให้สัญญาณเพ่ือเริ่มการทดสอบและเร่ิมจับเวลาเม่ือยกขาข้างหน่ึงข้ึนและหยุดการ จบั เวลาเมอื่ เทา้ ข้างที่ยกแตะพ้ืน ให้จบั เวลาวัดเวลาไดส้ ูงสดุ 120 วินาที d. ทดสอบขาแต่ละข้างทั้งสองครั้งและบันทึกเวลาที่ดีท่ีสุดไม่ว่าจะเป็นขาซ้ายหรือขาขวา (บันทึกเวลาจนถงึ จดุ ทศนยิ มแรก) e. ถ้าผู้รับการทดสอบยืนบนขาข้างหน่ึงได้เต็มสองนาทีในคร้ังแรกไม่จ�ำเป็นต้องท�ำการทดสอบ ครัง้ ท่สี อง  ข้อควรระวังในการทดสอบ - ขาท่ีก�ำลังยกขึน้ ไปสมั ผสั แตะขาขา้ งตรงขา้ มหรือสมั ผัสพ้นื - ขาข้างทยี่ นื อยูม่ กี ารเปล่ยี นแปลงท่าทางการเคลอื่ นไหว - มือขา้ งใดขา้ งหนึง่ หรือทงั้ สองข้างของผ้รู บั การทดสอบตอ้ งเท้าสะเอวดว้ ยเพ่ือการทรงตวั ทด่ี ี - มีการขยับเลื่อนของขาข้างท่ียืนอยู่ หรือขาข้างที่ยกข้ึน เพื่อพยามยามรักษาความสมดุล ในการยืน - ผู้ทดสอบหรือผู้ช่วยควรยืนอยู่ข้างหลังผู้รับการทดสอบเพื่อช่วยระวังมิให้ผู้รับการทดสอบ ถอยหลัง ลม้ ลงได้ (เจา้ หน้าที่ จ�ำนวน 3 คนต่อกลุ่ม) - ผู้ทดสอบบนั ทกึ เวลาทดสอบในแบบฟอร์มทก่ี ำ� หนด - ผ้ทู ดสอบบันทึก “ไมส่ ำ� เร็จ” ถ้าผรู้ บั การทดสอบไมส่ ามารถยนื ทรงตัวได้  เกณฑ์มาตรฐานตามอายุ การประเมินความสามารถในการทรงตวั ผสู้ งู อายมุ ีแนวโน้มที่จะหกลม้ เน่อื งจากความสามารถในการทรงตัวลดลง (ตารางที่ 4-6) อย่างรวดเร็ว หลังจากอายุ 60 ป ี ถา้ ผสู้ ูงอายุสามารถยกขาของตนเองสูงจากพน้ื ไดไ้ มเ่ กนิ 5 วนิ าทีหรอื นอ้ ยกวา่ จะกลา่ วได้ว่า มีความเสี่ยงสูงต่อการล้ม จากการเปรียบเทียบกลุ่มผู้สูงอายุท่ีสามารถยกขาได้ 30 วินาที หรือน้อยกว่ากับ ผสู้ งู อายทุ ีส่ ามารถยกขาได้นาน 30 วนิ าทหี รือมากกว่านน้ั พบว่าการหกล้มจะเพมิ่ ข้ึนมากกว่าในกลมุ่ แรก 31 คมู่ อื สำ�หรบั ผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ตารางท่ี 5 เกณฑ์มาตรฐานเวลา(วนิ าท)ี ตามอายกุ ารทดสอบความสามารถในการทรงตัว (Standing on leg with eyes open) อายุ(ปี) ค่าเฉลย่ี เวลา (วนิ าท)ี 65-69 ปี เพศชาย เพศหญงิ 70-74 ปี 87.69 86.65 75-79 ปี 71.30 71.81 55.17 54.21 4) การฝึกเพอื่ ปอ้ งกันภาวะท่ีมีความผดิ ปกติในการเดินและการใช้ชวี ิตประจำ�วัน (Training for preventive Locomotive Syndrome (Locomotion training) การทดสอบความแข็งแรงของขา (Stand Up Test) วัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ทดสอบความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื สว่ นลา่ ง  อุปกรณท์ ่ีจ�ำเป็น: กล่องหรอื เกา้ อนี้ ง่ั ส�ำหรับการทดสอบความแขง็ แรงของขา  ขน้ั ตอนของการทดสอบ 1) เตรียมกล่องหรอื เกา้ อ้ีน่ังจำ� นวน 4 ตัว ทีม่ คี วามสูงแตกต่างกนั 40 เซนติเมตร 30 เซนตเิ มตร 20 เซนติเมตร และ 10 เซนตเิ มตรตามลำ� ดับ ขัน้ ตอนที่ 1 นัง่ บนเก้าอที้ ่มี คี วามสงู 40 เซนติเมตรแขนทั้งสองขา้ ง อยู่ในท่ากอดอก กางขาออกให้พอดีกับความกว้างของไหล่ หน้าแข้งอยู่ที่มุม 70 องศากับพื้น จากนั้นยืนข้ึน โดยไมต่ ้องพิงหลังเพ่อื รักษาสมดุลและยืนไวน้ าน 3 วนิ าที 2) ข้ันตอนท่ี 2 ถ้าสามารถยืนไดจ้ ากความสูง 40 เซนตเิ มตรดว้ ยขาทัง้ สองข้าง ให้ลองใชข้ าข้างเดยี ว กลับส่ทู ่าทางของขั้นตอนที่ 1 และยกขาขวาหรอื ขาซ้ายงอเข่าเล็กนอ้ ยจากน้นั ยืนขึ้นโดยไมต่ ้องพงิ หลังเพอื่ รกั ษา ความสมดลุ และยนื นง่ิ ไวน้ าน 3 วนิ าที  ขอ้ ควรระวังในการทดสอบ - ระวงั อยา่ หกั โหมหรือใชแ้ รงมากเกินไปจนท�ำใหร้ ่างกายได้รบั การบาดเจ็บ - ถ้าเริ่มรู้สึกเจบ็ หวั เขา่ ให้หยดุ ท�ำการทดสอบ - ถา้ หัวเข่ารู้สึกเรม่ิ เจบ็ ใหห้ ยดุ ท�ำการทดสอบ 32 คู่มอื สำ�หรบั ผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ขาท้งั สองข้าง ยืนข้นึ โดย ไม่ต้องพิงหลัง ถ้ารสู้ กึ ปวดเมื่อยนื ข้ึน ดว้ ยขาท้งั สองข้าง ใหป้ รึกษาแพทย์ 10 ซม. 20 ซม. 30 ซม. 40 ซม. ขาข้างเดียว ยืนคา้ งไว้ 3 นาที ยืนข้นึ โดย ไม่ต้อง พงิ หลงั งอเข่าเลก็ นอ้ ย หมายเหต:ุ อย่าเอนหลังเพ่อื รกั ษาความสมดลุ ซง่ึ อาจท�ำให้หงายหลงั ลม้ ลงได้ 33 คมู่ ือสำ�หรับผ้ถู า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

- 29 - - 29 - ตาราง ทอี่ 6า ยnเเกุ(ก ปณตณเี)ากฑฑรณม์าม์ งฑาาทตม์ตอี่ราร6าฐตฐยาเราุ(กนฐนปณตาตี)นาฑามตม์มาออามาาตกเยยพรลุ ุฐกศุ่มกาาชอานรราทตทยดาุด(มสคสออวอาบาบเยมพคคุสศวกวงูาชาาทมรามรี่ แทยแอ้ ขดขยง็ส็งลแอแะรบรง5งคข0ขวออขางงมอขขแงาาแขเตพ(็งS่ลแศtะรหaกงnญขลdุม่องิ iองnขาgยาเUุทพ(ส่ีpSศาtหaมTญnาeรdsงิ ถtin)ยgืนขUนึ้ pไดT้)est) ตารางท่ี 6 เก2ณ0-ฑ29ม์ าตรฐา2น0ขต-าา2ขม9้าองาเดยียุ กวารขทาดขสา้ องเบ2ดค0ียววซามม.แขง็ แร2ง0ขขอาซขงมขา้ .งาเด(Sยี tวanขdาiขnา้ gงเU3ด0pยี วซTมe.st) 30 ซม. อาย(ุ ป3)ี0-39 30ข-า3ข9้างเดยี วเพขศาชขาา้ ยงเ3ด0ียวซม. 30ขาซขมา้ .งเดยี ว ขาขา้ เงพเ4ดศ0ยี หวซญมิง. 40 ซม. 20-29 4ขข0ขาา-า4ขขข9้า้า้างงงเเดดเดียยี ียววว ขาขา้ งเ4ด0ีย32วซ00มซซ.มม.. 40ขาซขมา้ .งขขเดาาียขขว้า้างงเเขดดาียียขวว้างเ4ด0ียวซม. 30 4ซ0ม.ซม. 30-3490-49 5ข0ขา-า5ขข9้า้างงเดเดยี ยี วว ขาข้างเ4ด0ีย4วซ0มซ.ม. 40 ซม. 40-4590-59 6ขข0ขาา-า6ขขข9้าา้ ้างงงเเดดเดยีียยี ววว ขาขา้ งเ4ด0ยี 44วซ00มซซ.มม.. 40ขาซขม้า.งขเดาียขวา้ งเขดายี ขวา้ งเ4ด0ียวซม. 40 4ซ0ม.ซม. 50-59 40ขาซขม้า.งขขเดาายีขขว้าา้ งงเเขดดาียยี ขววา้ งเ4ด0ียวซม. 40 4ซซ0มม..ซม. 60-6690-69 40 70-7790-79 7ขข0าาท-7ทงั้ 9้ังสสอองงขขา้ า้งงขาท้งั สอ1งข01้าซ0งมซ.ม. 1ข0าซทมงั้ .สขอางทขง้ั้าสงอขางขทา้งั งสอ1ง0ข้าซงม. 10 1ซ0ม.ซม.  รอ้ ย ละขnอ งแรอ้ตรยล่อ้ ละยะกลขละอุ่มขงออแางตยแ่ลุทตะล่ส่ีกะาลกมุ่มลาอรุ่มาถอยยาุทนืยี่สขุทานึ้ม่สี าไาดรมถจ้ายารกนืถรขยะน้ึนื ดไขบัด้นึ ้จคไาวดกาจ้ รมาะสกดูงรบั ทะคดแี่ วบัตาคกมตวสา่าูงมงทกสี่แนังูตทกแ่ีตต่างกกตัน่างกัน แผนภแมู ผิทน่ีภ1มู รทิแอ้ ผี่ ย1นลภระ้อมูขยิทอล่ีง1ะแขตรอล่้องะยแกลตละล่ ุม่ขะออกางลยแมุ่ ทุตอล่ส่ี าะายกมทุ ลาสี่ รุ่มาถอมยาานืยรขุทถนึ้สี่ ยไาืนดมขจ้าึ้นารไกถดรย้จะนื าดขกับน้ึ รคไะวดาจ้บั มาคสกวูงราทะมดีแ่ สับตูงคกทตวแ่ี าา่ ตมงกกสตนังู า่ทงแ่ี กตันกตา่ งกัน ร้อยละของแตล่ ระ้อกยลลมุ่ ะอขาอยงุทแสี่ตาล่ มะากรลถมุ่ ยอนื าขย้นึุทไสี่ ดา้จมาากรรถะยดนื บั ขค้ึนวไาดมจ้ สาูงกทร่แีะตดกบั ตค่าวงากมันสูงท่แี ตกต่างกัน เพศชาย เพศชาย เพศหญงิ เพศหญิง ขาข้างเดยี ว 20ซขมา.ขา้ ขงาเดขียา้ วงเด2ยี0วซ3ม0.ซมข.าขข้างาเขดา้ ยี งวเด3ยี0วซ4ม0.ซมข.าขขา้ งาเทดั้งียสวอ4ง0ขา้ซงม1.0ขซามท.้ังสขอางทข้งั า้สงอ1ง0ขา้ซงม2.0ขซามท.ั้งสองข้าง 20 ซม. 34 คู่มือสำ�หรบั ผ้ถู ่ายทอดความรู้ (Instructors)

- 30 - -28- 5) ขกอ4า)รงกกทาาดรรทสกดอ้าสบวอกบเทากรา้ารกก้า้าววเเททา้้า((TTwwooStSepteTpesTte) sกtา)รทกดาสรอทบนดเ้ีสปอน็ บกานร้ีเวปัดน็ ระกยาะรคววาัดมรยะายวะขคอวงกาามรยกา้าววเท้า วตั ถจวุปตัะถแรสุปะดสระงงถสคงึงเ์คคพวเ์ พ่ือาม่อืวเแวดั รดัสร็วรใดะะนยงยกถะะาคึงครควเวดวาานิมมาทยมยาี่ชเาวร้าวขลว็ ของใแอนงกลงกาะการเารสกรเี่ยา้ ดกวงินตเ้าท่อวท้ากเช่ีซทาง่ึา้รา้ ถลหซา้ งกร่ึงและถลม้ยา้ ะะรคเะสวยีย่าะมงคยตวาอ่ วากขมาอยรงาหกวากขรลกอ้มา้ งวกเทา้ารสก้นั้าวเท้าสน้ั จะ ส ข ท อ้ิน่ีสงสุดกดุสากอรกางกาครกส้ารก  รอาวกขอขร้าั้งงเา้กค้อโ้นัปุวทวด ้ารเคตก้าเดว43ขกขอ12----คง้ัยด324--1ค--วอรท เโกิน....วาุปิน้อ้ันใร. ...ทณวดสนอ ก้ังหา้ทารรวา)ก)กทคกย้าวตบขสวทํากกสอกทวท์มะัดคม้าํกทาามใําวหอรออเัดอวำ�้าบาวจ่ีำ�ำ�กหยรรยรท�ก้ารั้งณงรุ่นนำหวงันรมราํะกงกทาคาอากส้นวอา้ากใรเทเคระยดรววรนาาขรดําอา้ในเ์ทุ่นปงทาวะ่าทะทยหเขรขอรรทวดนเงสดรอกส็นรงีจ่วณ้าทคเงั้ดอคททะไ้อง้าทดสวอกทาเา่น้ง:ใด�งัาา้รงเสคสใงำดดสณรบหดาผองถกา้มทเเใขเไ้ทหั้งทอทสรน้ายอกปสสสใกจนบ้าไ้ลายณผา้ง้ัหิม่บ้ยมถือ่งั้กดดบอาเะลผออราน็สกกขจลรสต้ยา้ะาบห่อยยสทวบไ้สททู้ทบบอาิ่มะณา:ผกอวทาน้กนขนรอากอําีส่งดำ�รรสบวท้ทูาตเทงืออแําลวกทบพะงก่อดุสกทททรกอสกาํนน้�ำแงลคขี่สทาทาํา้น้ืเนท่ือากี่สก้าดดงากอทผระรพกอวแุดี่สผำ�ราทุดดวรหคาท้งัยน่สาสเบา่าลงทนื้กรทุดวิรทปเแทสร�ำทรืนรดรรกออปทกะทาี่สผเลด็นดั้งสอทก่ีทอือสท่ีดทาบบา้ดน็ยรีไ่แะาสิวาเบสาดงอวแ้ดรวมาํซสทา่ืนเมมกบทอลเรยอสไเกซบกผ่ลดสอนททาดดดบานัทาะไ่ีเอาบนค้า่นืนิบอร่นตท่ีทมา้โ้รรสว้ไทบรบดววถตดเสเทเิมบ้าถกรย่ลกำ�อสสกึมเาันสทยเิาํท่ก้ังอททไคา้า้เน่ืมมยีบียผตหอไําสททดั้งรวงว้าวมก�สำลตกร ไไอสรบะกึโ้เา้เดทเไามา÷าส่รราับทงดดอโทดทผ้รมม ะด÷กูญค้งั่กรแกงยา้นิท้้าลย้งัาสสดา้ทวคขรลโาเไแรสโสระวรสาดอาะา้รมะวรดถงทลมะอ�ียงมยทจงาโ(งำส่ตใยจหหยสดาะคงกมใตัดดนาัวูญางใชขูงลจะวดรตา้รสัวสกถชกทเาส้า้งัทเัดวบัถาํปถูงอือา เสด่ี้สเมงสูตแเตรใสาบอื็นวก(ปหกียีสตูหน้นรกจง้น่า�ำกวเาวมคน็ตลซรทเนา้กกาแเา่ารรา่ดวรวตอ่เนังกา่ง่ีดราหกมิ่ทซมิ่เุลเเารไตก่อเรททีกตาสนนปดสตทมิเ้ากไร้า้นว้าน้มต่งน้นส้น ดวสปอท้าทา่ไเตเิเเส้ีอมเปทวนอรมท้งัดรรอบสเยด่มิกต้าา้้ีิ่มสทบอ=งัแุลตทกรตอต้าไงล ้นาั้งมค้นบขําอ=ะสรแ่สะ้าไไอก กองหปคแมาํ กลใา้เงนนะส่ยหรบัแขวแน่ง็จงั�ำ้เสลสข้าเนตเกทู่ตรงะมอาำ�นํา็จใา้งกอรแหกแปกทล หหา้เลันดับสรนนาสทมสยว่งง่ อดันู่อตเดขดบคิว้สก�ำอิมกเวแอันงทไาา ปหบดา้มรเ้ทวลนกกยรัดสี่า้าาา่ง็วววรยนิ้คเทดขเกนสว่ีสทอิม้าดุาุดวิ้า้งวไม เดเทยท้เา้ารา้ ทว็ว่ี ก้าวขาให้ยาวที่สดุ ท่สี ามารถทําได้ กา้ วท่ี 1 กา้ วที่ 2 ความสงู กา้ วยาว ก้าวยาว จดุ เร่ิมตน้ ระยะทางสูงสดุ เมอ่ื วดั รวมทง้ั สองก้าว (ระยะทางครอบคลมุ ระยะทง้ั สองกา้ ว จุดส้นิ สดุ 35 คู่มอื สำ�หรบั ผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

- 31 -  เกณฑ์มา ตเกรณฐาฑน์มตาาตมรอฐาายนุ ต“กามารอทาดยุส“อกบากราทรดกส้าอวบเทกา้าร(กTา้wวoเทS้าte(TpwToeSstt)ep Test) แผนภมู ทิ ี่ 2 เกณฑ์มแาผตนรฐภาูมนทิ ตี่ า2มอเกาณยุ ฑกา์มราทตดรสฐอานบตกามรกอ้าวยเุ ทก้ารทดสอบการก้าวเทา้ เกณฑ์มาตรฐานตามอายกุ ารทดสอบการกา้ วเท้า <เพศชาย> CI of 95% of average <เพศหญงิ > เกณ เกณฑม์ าตรฐานตามอายุการทดสอบการก้าวเท้า เกณ เกณฑ์มาตรฐานตามอายุการทดสอบการก้าวเท้า ฑ์ ฑ์ อายุ มาตร มาตร ฐาน ฐาน ตาม ตาม อายุ อายุ การ การ ทดส ทดส อบ อบ การ การ กา้ ว ้ อายุ กา้ ว หมายเหต:ุ ค่าเฉลีย่ ของบคุ ลในแตล่ ะกลมุ่ อายุท่ีไม่ได้รับความทุกขท์ รมานจากความผิดปกตขิ องอวยั วะ ทท่ี ําหนา้ ที่ในการเดินและการใชช้ วี ิตประจาํ วนั อย่างชดั เจน การกำ�หนดระดับความเสี่ยงของภาวะท่ีมคี วามผิดปกติในการเดนิ และการใชช้ วี ติ ประจำ�วัน (Locomotive Syndrome) ทีม่ ผี ลมาจากการทดสอบ 2 ประเภท ความเสย่ี งระดบั ท่ี 1 (กรณพี บเกณฑอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ดังต่อไปน้)ี - ไม่สามารถยนื ขึ้นไดจ้ ากความสูง 40 เซนติเมตร ดว้ ยขาข้างเดยี วหรอื ขาอกี ขา้ งหนึ่ง - การทดสอบการก้าวเทา้ (Two-Step Test) มคี า่ น้อยกวา่ 1.3 ระดับความเสี่ยงของภาวะท่ีมีความผิดปกติในการเดินและการใช้ชีวิตประจ�ำวันระดับ ที่ 1 บง่ ช้ีว่าการลดลงของหนา้ ทีก่ ารท�ำงานของระบบกลา้ มเนอ้ื และกระดูก ระบบขอ้ ต่อเร่มิ ขึ้นแล้ว ความแข็งแรงและความสมดุลของกล้ามเนื้อจะทวีความรุนแรงข้ึนดังน้ันควรออกก�ำลังกายอย่าง สม่�ำเสมอเช่นการฝึกเคลื่อนไหว และการเลือกรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและแคลเซียมท่ีเพียง พอเพยี งพอ 36 ค่มู ือสำ�หรับผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ความเสยี่ งระดบั ท่ี 2 (กรณพี บเกณฑอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ดงั ต่อไปนี)้ - ไม่สามารถยนื ข้นึ ไดจ้ ากความสงู 20 เซนติเมตร ด้วยขาทง้ั สองข้าง - การทดสอบการก้าวเทา้ (Two-Step Test) มีค่านอ้ ยกวา่ 1.1 ระดับความเสี่ยงของภาวะท่ีมีความผิดปกติในการเดินและการใช้ชีวิตประจ�ำวันระดับ ที่ 2 บ่งชี้ว่าการลดลงของหน้าที่การท�ำงานของระบบกล้ามเน้ือและกระดูก ระบบข้อต่อ อยู่ใน ระดับสงู มีความเส่ยี งสูงท่ีจะไมส่ ามารถด�ำรงชีวิตดว้ ยการพึ่งพาตนเองได้ อาจมคี วามผิดปกติของ อวยั วะระบบกล้ามเนอ้ื กระดกู และขอ้ จงึ แนะน�ำให้พบแพทย์ดา้ นศลั ยกรรมกระดกู 2. โปรแกรมกิจกรรมการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเชิงป้องกัน (การฝึกเพื่อป้องกันภาวะท่ีมีความผิดปกติ ในการเดนิ และการใช้ชวี ิตประจำ�วัน (Locomotive Syndrome) และการฝกึ เพอื่ ป้องกนั โรคสมองเสอื่ ม (Cognicise) (2.1) ก่อนท�ำกจิ กรรม PLC(ยืด / ฝกึ กลา้ มเนือ้ / บรหิ ารสมอง) (1) ยืด (A to D) A. ยดื เหยยี ดขาหลัง ยืดเอน็ รอ้ ยหวาย และ กล้ามเน้ือหลงั ขอ้ แนะน�ำ : นว้ิ เท้าตัง้ ขนึ้ / ไมใ่ หห้ ัวเขา้ งอ 1. นงั่ ทเี่ ก้าอี้ หันหน้าออก 2. เหยยี ดขาตรงออกไปด้านหน้า 3. กม้ ตวั ไปขา้ งหน้าแตะน้วิ เท้าและกดหนา้ ขาไว้ ใหร้ ่างกายเหยยี ดตรง 4. ท�ำซำ�้ กบั ขาอีกขา้ งหนงึ่ 37 คูม่ ือสำ�หรบั ผู้ถา่ ยทอดความรู้ (Instructors)

B. ยืดเหยียดขาหนา้ ยืดเหยียดบรเิ วณข้อตอ่ สะโพกและ“กล้ามเนือ้ ตน้ ขา”. ขอ้ แนะน�ำ: หลงั ตรง /ให้อยู่ท่กี ระดูเชงิ กราน 1. ก้าวขาข้างหนึ่งไปขา้ งให้ปลายเท้ากบั หัวเขา่ อยแู่ นวเดียวกัน งอเข่าข้างหนึง่ เล็กน้อยจน รู้สกึ ตงึ บริเวณตน้ ขาดา้ นหนา้ 2. ยืดหน้าอกตรงและเหยียดขาไปขา้ งหน้า 3. เปดิ ส้นเท้าหลังและท�ำซ�ำ้ ขาอีกข้างหน่งึ C. ยดื เหยยี ดเอ็นร้อยหวาย,กลา้ มเนอื้ ตน้ ขาหลงั ยดื เหยยี ดเอ็นร้อยหวาย ข้อแนะน�ำ : เหยยี ดขาขา้ งหนง่ึ ไปขา้ งหลัง ใหม้ ากเทา่ ที่จะเป็นไปได้ 1. ก้าวขาไปข้างหนา้ ให้ห่างออกไป และ ยืดอก ตรง 2.ลงน�ำ้ หนักสน้ เทา้ หลงั ใหร้ ู้สกึ ตงึ บรเิ วณตน้ ขา และนอ่ งขาหลงั 3. ท�ำซ้�ำกบั ขาอีกข้างหนงึ่ 38 ค่มู ือสำ�หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

D. ยืดเหยียดสะโพก ยืดเหยียดกล้ามเนอื้ แกม้ ก้นส่วนกลาง และบริเวณรอบสะโพก ขอ้ แนะน�ำ: ยดื หลังตรง โน้มตวั ไปหาหวั เขา่ 1.นัง่ เกา้ อเ้ี อาขาขา้ งหนึ่งพาดไวห้ น้าตกั 2.โน้มตัวไปขา้ งหน้าไปทเ่ี ทา้ มอื ขา้ งหน่งึ ดงึ ขอ้ เทา้ มือข้างหนึ่งกดทีห่ ัวเข่า 3. ท�ำซ้ำ� กับขาอกี ข้างหนงึ่ E. ยกมอื ขึ้น ยืดเหยยี ดกล้ามเนื้อบรเิ วณหลังและหัวไหล่ ข้อแนะนำ� :ยดื อกตรง / ไมค่ วรพยายามยดื มากเกินไป 1.ยกข้อศอกขึ้นใหเ้ สมอหัวไหล่ 2.หมุนฝ่ามือขึ้นและยกข้อศอกตง้ั ขึ้น รกั ษา ท่าทางและต้งั หวั ไหล่ให้อยใู่ นระดับเดยี วกนั 39 คูม่ ือสำ�หรับผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)

F. ท่าสวดมนต์ ยืดเหยยี ดกลา้ มเน้ือบริเวณอก หัวไหล่ และแขน ข้อแนะนำ� : อยา่ บดิ ตัวเม่ือขยบั แขน 1.ประสานมือสองขา้ งไว้ขา้ งหน้าอก 2. ดนั แขนท้งั สองข้างยืดออกไป ชูข้ึน หันไปทางขวา ซ้าย ล่าง และไปข้างหนา้ G. บดิ ตวั ฝกึ กล้ามเน้อื ทอ้ งและกลา้ มเน้อื บริเวณสะโพกขอ้ ต่อ ข้อแนะนำ� : ถา้ ขอ้ ศอกกบั หวั เขา่ ไมส่ ามารถตดิ กันได้ ขอให้พยายามให้ทัง้ สองสว่ นอยู่ใกลช้ ิดกันให้มากที่สดุ 1.นง่ั เก้าอีห้ ันหน้าออก 3. ให้ขอ้ ศอกสมั ผสั กับเข่าฝั่ง ตรงขา้ ม ท�ำซ�้ำกบั ขาอกี ข้าง 2. ยกขอ้ ศอกข้นึ ใหส้ งู เสมอไหล่ ไมโ่ น้มตวั ใหอ้ อกมากเกนิ ความกว้างของร่างกาย 40 คมู่ อื สำ�หรับผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

H. เตะขาขนึ้ ฝกึ บรหิ ารกล้ามเนือ้ ตน้ ขา ขอ้ แนะนำ� : ต้งั นวิ้ เทา้ ข้นึ เมือ่ ยืดเข่าออกไป ไมท่ �ำเขา่ งอ 1. น่งั เก้าอี้หนั หนา้ ออก จะไดผ้ ลดมี ากหากท�ำอย่างชา้ ๆ 2.ยกเข่าขึน้ ช้า ๆ และวางลงกลับท่เี ดมิ อยา่ งช้าๆ 3. ท�ำซ�ำ้ กบั ขาอีกขา้ ง I. งอเข่า บรหิ ารเอ็นร้อยหวาย ข้อแนะนำ� : ไม่ยกเข่าสงู เม่ืองอเข่า 1.จับพนักเก้าอี้ 2. ยกเขา่ ขน้ึ ขา้ งหนงึ่ ช้า ๆ และเอาลงไวท้ ี่เดิม. 3. ท�ำซ้�ำกบั ขาอีกข้างหน่ึง 41 คมู่ อื สำ�หรบั ผู้ถา่ ยทอดความรู้ (Instructors)

J. ยกขาข้ึนไปดา้ นข้าง บริหารกล้ามเนือ้ สะโพก ข้อแนะนำ� :เก็บเทา้ ไปด้านหน้า ไม่ปัดไปด้านข้าง 1. จับพนักเกา้ อ้ี 2. ยกเทา้ ไปดา้ นข้าง ช้า ๆ และเกบ็ เท้า ไปด้านหน้า จัดท่าให้มน่ั คง ไมข่ ยับเขยือ้ นตัวไปมา 3. ปลอ่ ยเทา้ กลับไปทเี่ ดิมอยา่ งช้าๆ 4. ท�ำซำ�้ กับขาอีกข้างหนง่ึ K. ยืนด้วยปลายเทา้ บริหารกลา้ มเนือ้ ขาดา้ นหลงั ข้อเสนอแนะ: วางทา่ ตวั ตรง / ยกสน้ เท้าขน้ึ และลงอย่างมัน่ คง เขย่งเทา้ ขึน้ -ลงชา้ ๆ 42 ค่มู อื สำ�หรบั ผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

L. ทา่ น่งั ยอง ๆ บริหาร ขอ้ ต่อสะโพกและ“กลา้ มเนอื้ ต้นขา ข้อแนะนำ� : ไม่โนม้ หัวเข่าให้เปน็ มมุ รักษาท่าใหม้ ัน่ คง และไม่ก้มโคง้ มากเกินไป 1. กางขาออกใหก้ วา้ งเท่าความกวา้ งของไหล่ 2.หลงั ตรง ขณะงอเขา่ ยอ่ ลง และขนึ้ และประสานแขนไวท้ หี่ นา้ อก (2.2) การฝึกสมองพร้อมกับการเคลื่อนไหวร่างกาย (Brain training and exercise) หวั ข้อ : การฝึกปฏบิ ัตริ ักษาความสมดลุ ระหวา่ งศรษี ะและล�ำตวั สามารถเคล่อื นไหวมือไปทางซ้าย ทางขวา สลบั กนั ไดท้ �ำซ�้ำเปน็ จังหวะซา้ ย-ขวา สลับกันไปโดย ให้มอื ขา้ งหนง่ึ เปน็ แบมือหนิ (กระดาษ) ด้านหนา้ บริเวณระดบั อก และมอื อกี ข้างหนง่ึ กำ� มือ (หิน) ย่นื ออกไป 43 คมู่ ือสำ�หรับผู้ถ่ายทอดความรู้ (Instructors)

-35- ศ( tก ทrจิลั a�ำวยi nตัก3iรรnคอft(นปร2orgอรามaร.rทั้งก3iะกf ( nตpกสี)o2จรi่อาําํrnกrำ�.ะeลห3วาวgดpvังก1ร)นัรนั ูกกe .าบัrฝ,1กกรากneแึกฝ1อย.าาาtvต เกึตรรiรอพกenล่นเทฝ่อฝกพะอ่ืาngาดเึกึกก่อืขปนรทtสlเปเาำ�ioทือ่้อพอพีสnขล้องcงบดำ�ื่อา้g่ือง2ังกoคหงกสปกปันm)lวทนัรอาo้อภ้อา่าภับoยมบงcาถงาtตแสกoวกวา้คivาต่อะันระmันวมeทสู้ทล่เภภนาาึกม่ีม่ีoะSารมา่ือปคีีคขtถyวววงสวiวใาnะvาะนดขาาdทมe2ทเกมม้ามผrี่มา่ีมผoงSิด่อืาทรีค)ดิmีคyปทยร่าวปกnหวถรถeาตงการdใา้)มตใิือมตนรนrวัผริใผoสู้กกน้สูิดOิดmึกาากึกปรnปปรแเาeกeดทกวปร-)ินตเดLตล รดแิใeเกิใงินนลมgนๆตะแก่อื S กกัวลใายtาหาaะรรหรn้ขกOใเชรดเdอาดnือช้ินiรรnินีวับใรeแgชิตู้สแค-ล ปwช้LึกาํละรีวปieแะtะกติhรปgจกาึกปําลeารษวรSyรใกันะาชeใtๆจจค ชsa้ชาําว้ชnOีวกรวใีวปหิตdแนpั ิตฏพ้ขeปi(nปบิnอทรL(gัตรระยoท เิะับจ์ศcปาํ wจลัo�ค็นำ3�วำยm�ำกiคtวกันปจิรhoันรวงั้รรtตตัค(ึกiมvLeร ่อวษกปeoวyรรารนัceปะะจ,o1sจดฏาmํากูกิบวOแันoัต พptิเiปทev็นneย์ การออกกําลงั กายเพือ่ รกั ษาความสามารถในการทรงตัว ทาํ 3 คร้งั ต่อวัน หน่ึงนาทสี าํ หรบั  หลังตรงระหวา่ งการออกกาํ ลงั กาย แตล่ ะขา  ถา้ ตอ้ งการหาทพี งิ ให้วางมือหรอื นิว ลงบนโต๊ะด้วยความระมัดระวงั ขณะออกกาํ ลังกายให้ หาท่ยี ดึ จบั เพือ่ ไมใ่ ห้ล้มลง - 37 - ถา้ สามารถใช้เพียงแค่ น้วิ มอื วางบนโตะ๊ ไดใ้ ห้ ยกขาขน้ึ เพอื่ ใหอ้ ยหู่ า่ งจากพนื้ ทําตามนน้ั 2.การออกกําลงั กลา้ มเนอื้ ขอ้ เท้าด้วยทา่ สคอวช (Squats for strengthening your leg muscles) 2. การออกกำ� ลังกลา้ มเนอ้ื ข้อเทา้ ดว้ ยท่าสคอวช (Squats for strengthening your leg muscles) (ฝกึ ปฏ บิ ตั ซิ าํ้ ๆ 5(-ฝ6ึกคปรฏัง้ หิบาตัยิซใจ้ำ� เๆขา้ 5อ-อ6กลคึกรั้งๆหปาฏยใิบจตั เสิขา้ามอคอรกง้ั ตล่อึกวๆนั )ปฏบิ ตั สิ ามคร้งั ตอ่ วัน) การออกกําลังกายท่าสคอวชเพ่ือยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ ขา ถอโดา้อยคกไณุกมําสต่ ลาอ้ งั มงกสาารมั ยถผไดสั ้ ทพงั้ื้นสผอิวงใขหา้ ว้ งาไงวม้ อื เหนอื โต๊ะ งอเข่า ปลายเทา้ ทํามุม 30 องศา 1. ยนื ปลายเทา้ หา่ งกันเลก็ นอ้ ย 2. ย่อตวั ลงพร้อมกบั ยกกน้ ไปทางดา้ นหลงั ถ้าไมส่ ามารถทําทา่ สคอวชได้ จากความกวา้ งของไหล่ ปลาย ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ หัวเขา่ ไม่เกินปลาย ให้น่งั บนเกา้ อ้ีวางมือทง้ั สองข้าง เท้าทาํ มุม 30 องศา นวิ้ เทา้ และใหห้ ันไปไปในทิศทางเดยี วกบั นวิ้ ชี้ บนโตะ๊ และสลับยนื ขึ้นและนัง่ ลง (6) การฝกึ เพอ่ื ปอ้ งกันโรคสมองเส่ือม (Training for preventing Dementia) 44 หัวข้อค:เชู่มน่ ือเสดำ�ียหวกรบัับกผาถู้ ร่าสยง่ เทสอริมดสคุขวภาามพรโดู้ (ยIกnาsรtอruอกcกtoาํ ลrsงั )กาย เปน็ โอกาสท่เี พ่มิ การกระตุ้นการ ทาํ งานของสมองสิง่ ทีส่ าํ คัญไมไ่ ดห้ มายความว่ามศี ักยภาพการเรียนรู้ได้ดี แตส่ ่ิงทพี่ ึงปรารถนาคือ

3. การฝึกเพือ่ ป้องกนั โรคสมองเส่ือม (Training for preventing Dementia) หัวขอ้ : เชน่ เดียวกบั การสง่ เสริมสขุ ภาพโดยการออกกำ� ลังกาย เป็นโอกาสทีเ่ พิ่มการกระตุ้นการทำ� งาน ของสมองสง่ิ ที่สำ� คัญไม่ไดห้ มายความว่ามศี ักยภาพการเรียนรู้ไดด้ ี แตส่ ง่ิ ทีพ่ ึงปรารถนาคือการฝึกสมอง ให้ท�ำงานในระดับท่ีบางครั้งไม่สามารถท�ำได้ในเรื่องของการรับรู้ซึ่งมักจะด�ำเนินไปพร้อมกันกับ การท�ำงานของระบบประสาทการเคลื่อนไหว ที่จะวางภาระในสมองของคุณไปยังระดับที่คุณบางครั้ง ท�ำผดิ พลาดในงานองค์ความรทู้ คี่ ณุ ก�ำลังทำ� พรอ้ มกัน กับงานมอเตอร์  ขั้นตอนพ้ืนฐาน: ยืนอยู่บนเท้าทั้งสองข้างและนับตัวเลขเสียงดังจาก1และนับเพิ่มขึ้นไปเร่ือย ปรบมอื เมื่อจำ� นวนเพม่ิ ข้ึนเปน็ ทวคี ณู ของ 3 (1) กา้ วเทา้ ขวาไปทางด้านขวา - 38 - (2) น�ำเท้าขวากลบั มาทต่ี ำ� แหนง่ เดมิ (3)( 4 ก) า้ นวเาํ ทเท้าซ้าา้ซยา้ ไยปกทลาบั งมดาา้ ทนตี่ ซําา้ แยหน่งเดมิ ท าํ ซ้าํ ต(4า)ม ขนน้ั �ำตเทอา้นซทา้ ่ี ย1ก-4ลับเปมน็ าจทงัต่ี ห�ำวแะหตน่อ่งเเนดื่อมิ งกนั ไป ท�ำซำ้� ตามขนั้ ตอนที่ 1-4 เป็นจังหวะตอ่ เนอ่ื งกันไป ยนื บนเทา้ ทง้ั สองขา้ งและนบั เลขจาก1 จดจาํ ข้ันตอน และเพิ่มขึ้นเร่ือยๆปรบมอื เมอื่ จาํ นวน 1.กา้ วเทา้ ขวาไปทางดา้ นขวา เลขเพมิ่ ข้นึ เป็นทวคี ูณของ 3 2.นําเทา้ ขวากลับมาทต่ี าํ แหน่งเดมิ 3. กา้ วเทา้ ซา้ ยไปทางดา้ นซา้ ย 4.นาํ เทา้ ซา้ ย กลบั มาทเ่ี ดิม ทาํ ซาํ้ ตามขัน้ ตอนที่ 1-4 เป็นจังหวะ -37- 45 คู่มือสำ�หรบั ผ้ถู ่ายทอดความรู้ (Instructors)

- 39 -  การออกกําลงั กายด้วยการก้าวเท้าและปรบมอื เม-่ือ3ต9วั เ-ลขเพิ่มเปน็ ทวีคณู ของ 3  การออกก ําลกงัากราอยอดกว้ กยำ� กลางั รกกา้ายวดเท้ว้ายแกลาะกรรปกะตร้านุ้ บวสมมเอทอืงข้าเณมแะือ่ลออตะกปัวกําเรลลบังขกมาเยพือ่ิมเมเปอื่ น็ตทัวเวลีคขณู เพขอ่มิ งเป3็นทวีคูณของ 3 จงั หวะการออกกําลงั กาย ตบมือ เมอ่ื ตวั เลขเพ่ิมขน้ึ เป็น 3 เทา่ กระตุ้นสมองขณะออกกาํ ลังกาย จงั หวะการออกกาํ ลังกาย ตบมอื เมอ่ื ตัวเลขเพิ่มขึน้ เป็น 3 เทา่ กา้ วไปด้านขวาและ ยนื หลงั ตรงเท้า ก้าวเทา้ ขวาไป ดา้ นซ้าย ชดิ กนั ทางขวา ก้าวไปด้านขวาและ ยืนหลังตรงเท้า ก้าวเทา้ ขวาไป ด้านซา้ ย ชดิ กนั ทางขวา นาํ เทา้ ซา้ ยกลบั มา กา้ วเทา้ ซา้ ย นําเท้าขวากลับมาที่ ทตี่ าํ แหนง่ เดมิ ไปขา้ งซา้ ย ตาํ แหน่งเดมิ และตบมอื นาํ เท้าซ้ายกลับมา นําเท้าขวากลับมาที่ ที่ตําแหนง่ เดมิ ก้าวเทา้ ซา้ ย ตาํ แหน่งเดมิ ไปข้างซ้าย และตบมือ  . CogniW alCkogni Walk . CogniCWoalgknicise Cogni-Walk เดินหลังตรง Cogni-WalkCognicise มองตรงไปขา้ งหน้า ดแกา้เดนวินง่หแหลขังลนใงัหไตปม้ รางก มองตรหงนไา้ปทขอ้ า้งตงหึง นา้ ทีส่ ุดเทา่ ทท่ี าํ ได้ แกว่งแขนไป ยกเท้าหดน้วา้ ยทอ้ งตงึ ด้านหลงั ใหม้ าก สน้ ด้านหน้า ที่สดุ เทา่ ท่ีทาํ ได้ เดนิ ให้เรว็ ข้ึน ก้าวขาใหย้ าวกว่าปกตเิ มอ่ื ออกกาํ ลังแบบ Cogni-Walk ยกเทเา้ กดมว้ สย์ต่อคําศัพท์ การคิดเลขในใจเปน็ ต้น สน้ ด้านหน้า เดินใหเ้ ร็วข้ึน กา้ วขาให้ยาวกว่าปกตเิ มอ่ื ออกกําลงั แบบ Cogni-Walk เกมสต์ อ่ คาํ ศัพท์ การคดิ เลขในใจเปน็ ต้น 46 คูม่ อื สำ�หรับผู้ถา่ ยทอดความรู้ (Instructors)

- 41 - . Cogni-ladd eCrogni-ladder Cognicisee Cogni-ladder ทา่ พืน้ ฐาน วิธีการทาํ วางเท้าออก นอกเส้นบันได ใน Step 2 ตามลาํ ดับเลขท่ีนับ 47 ค่มู ือสำ�หรับผู้ถา่ ยทอดความรู้ (Instructors)

ตวั อย่างการออกกำ�ลงั กายเพอ่ื ฝกึ สมอง ทั่วไป/ทา่ มาตรฐาน 1. การยืดเหยียดกลา้ มเนื้อและฝึกบรหิ ารสมอง (20 นาท)ี 2. เวลาพัก (5 นาท)ี : ดืม่ นำ�้ 3. การออกกำ� ลงั กายแบบแอโรบกิ : (20-30 นาท)ี 4. เวลาพกั (5 นาท)ี : ดื่มน้ำ� 5. การออกกำ� ลังกายเพอื่ ฝกึ สมอง : (20-30 นาที) กำ�หนดเองรายบคุ คล 1. การยดื เหยียดกลา้ มเนอ้ื และฝึกบริหารสมอง (20 นาที) 2. เวลาพัก (5 นาท)ี : ด่ืมน้ำ� 3. การออกกำ� ลังกายแบบแอโรบิก : (20-30 นาที)การกา้ วเทา้ แล้วชดิ (step) หรอื เดินกา้ วเท้าสลับซ้ายขวา (walk) 4. การออกก�ำลังกายแบบแอโรบกิ : (20-30 นาที) 5. การออกกำ� ลังกายเพอ่ื ฝกึ สมอง : (20-30 นาท)ี เดนิ ลบเลข หรอื เดนิ ลบเลขประเภทต่างๆ การออกกำ�ลังกายแบบเบา 1. การยืดเหยียดกลา้ มเนื้อและฝกึ บรหิ ารสมอง (20 นาท)ี 2. เวลาพัก (5 นาที) : ด่ืมนำ้� 3. การออกก�ำลงั กายแบบแอโรบกิ : (20-30 นาท)ี การกา้ วเทา้ แลว้ ชดิ (step) หรอื เดินก้าวเทา้ สลบั ซ้ายขวา (walk) 4. เวลาพัก (5 นาท)ี : ดื่มนำ้� 5. การออกก�ำลังกายเพือ่ ฝกึ สมอง : (20-30 นาที)เดนิ และนับเลข (นับเพ่มิ ขึ้น หรอื นับถอยหลังลดลง) ปรบมอื และรอ้ งเพลง การเลม่ เกมสต์ ่อค�ำศัพท์ (Word Chain Game) 48 คูม่ อื สำ�หรบั ผถู้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

การออกกำ�ลงั กายแบบหนัก 1. การยืดเหยยี ดกล้ามเน้อื และฝึกบรหิ ารสมอง (20 นาที) 2. เวลาพกั (5 นาที) : ด่มื น�ำ้ 3. การออกกำ� ลงั กายแบบแอโรบิก : (20-30 นาท)ี การกา้ วเทา้ แลว้ ชดิ (step) หรอื เดินกา้ วเท้าสลบั ซ้ายขวา (walk) 4. เวลาพกั (5 นาท)ี : ดมื่ น้�ำ 5. การออกกำ� ลังกายเพื่อฝึกสมอง : (20-30 นาท)ี - เดินนับเลขและปรบมอื เมอ่ื ตวั เลขเพิม่ ข้นึ เปน็ ทวคี ูณของ 3 - เดินนับเลขถอยหลงั และปรบมือเม่อื ตัวเลข ลดลงเปน็ ทวคี ณู ของ 5 - เดนิ และฝึกการลบเลขเดินและฝึกการเพิม่ ข้ึน ทวคี ูณของ 3 - เดินเล่นเกมสต์ ่อค�ำศัพท์ (Word Chain Game) ระดับเริม่ ต้น (ประเภทการฝึกยดื เหยยี ดกลา้ มเนือ้ และความสมดลุ ) 1. การยืดเหยยี ดกล้ามเนือ้ และฝึกบริหารสมอง (20 นาท)ี 2. เวลาพัก (5 นาที) : ดม่ื น้ำ� 3. การออกก�ำลงั กายแบบแอโรบิก : (20-30 นาท)ี การกา้ วเทา้ แล้วชดิ (step) หรอื เดินก้าวเทา้ สลบั ซ้ายขวา (walk) 4. เวลาพัก (5 นาที) : ด่มื น้�ำ 5. การออกก�ำลงั กายเพื่อฝกึ สมอง : (20-30 นาที) เดินและนบั เลข (นับเพิ่มขึน้ หรือนับถอยลดลง) ปรบมอื และร้องเพลง การเลม่ เกมส์ต่อค�ำศพั ท์ (Word Chain Game) 49 คมู่ ือสำ�หรับผูถ้ ่ายทอดความรู้ (Instructors)

ระดับปานกลาง (ประเภทการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนอื้ และความสมดุล) 1. การยดื เหยยี ดกล้ามเน้อื และฝกึ บริหารสมอง (20 นาท)ี 2. เวลาพัก (5 นาที) : ดม่ื น้�ำ 3. การออกก�ำลังกายแบบแอโรบิก : (20-30 นาท)ี การกา้ วเท้าแล้วชิด (step) หรอื เดินก้าวเทา้ สลับซ้ายขวา (walk) 4. เวลาพัก (5นาท)ี : ดมื่ นำ�้ 5. การออกกำ� ลังกายเพ่ือฝึกสมอง : (20-30 นาท)ี เดินและนับเลข ปรบมือเมอ่ื ตัวเลข เพม่ิ ข้ึนเป็นทวีคณู ของ 3 หรอื ทวคี ณู ของ 4 การเดินลบเลข เดนิ ขั้นบันไดและนบั เลขไปด้วย (ก้าวออกนอกเขตข้ันบนั ไดเมอ่ื นับถงึ หมายเลข 3-4-7-8 (หรือ 1-2-5-6) ระดับสงู (ประเภทการฝกึ ยืดเหยียดกล้ามเน้ือและความสมดลุ ) 1. การยืดเหยียดกลา้ มเนือ้ และฝกึ บรหิ ารสมอง (20 นาท)ี 2. เวลาพกั (5 นาที) : ดมื่ นำ้� 3. การออกก�ำลงั กายแบบแอโรบิก : (20-30 นาที) การกา้ วเทา้ แลว้ ชิด (step) หรอื เดนิ กา้ วเทา้ สลับซา้ ยขวา (walk) 5. เวลาพกั (5 นาท)ี : ดื่มนำ�้ 6. การออกก�ำลงั กายเพื่อฝกึ สมอง : (20-30 นาที) เดนิ และนับเลข ปรบมือเม่ือตัวเลข เพ่ิมขึน้ เปน็ ทวีคณู ของ 3 หรือทวีคณู ของ 4 การเดนิ ลบเลขเดินขั้นบนั ไดและนับเลขไปดว้ ย (ก้าวออกนอกเขตขัน้ บนั ไดเมื่อนบั ถงึ หมายเลข 3-4-7-8 (หรือ 1-2-5-6) 50 คมู่ ือสำ�หรบั ผถู้ า่ ยทอดความรู้ (Instructors)