การใหอินซลู ินและการควบคุมเบาหวานในผปู วย CKD ที่รกั ษาดว ย Peritonealdialysis (PD) สำหรบั ผูป วยที่ควบคุมเบาหวานไดดีดวยยากินกอนทำ PD ก็สามารถใหยาเดิมไดเชน เดียวกับใน CKD5ND แต เนื่องจาก Dialysate ที่ใชในการทำ PD มีกลูโคสซึ่งมีการดูดซึมจาก Peritoneal membrane ไดเปนการเพิ่มกลูโคสท่ี รางกายไดรับประมาณ 50 - 150 กรัมตอวัน ขึ้นอยูกับเปอรเซ็นตของกลูโคสใน Dialysate และความสามารถของ Membrane ในการดูดซึมกลโู คส จึงมักจะทำใหร ะดบั น้ำตาลในเลอื ดสูงขึน้ การเพิ่มยาเม็ดมีขอจำกัด อาจจำเปน ตอ งฉดี อนิ ซลู นิ เพ่มิ เติม การควบคมุ เบาหวานในหนวยทท่ี ำ Hemodialysis - ผูป วยควรนำอินซลู ินและยาเม็ดท่ใี ชม าดวยขณะมาทำ Dialysis - ในผทู ี่ไดรบั การรกั ษาดว ยยาทอ่ี าจทำใหเ กดิ ภาวะน้ำตาลต่ำในเลอื ด ควรมีการเจาะตรวจนำ้ ตาลในเลอื ดทั้งระยะกอนทำ และกอ นเสร็จสน้ิ การทำ Dialysis - ระดบั น้ำตาลในเลือดมีการผนั แปรไดขณะทำ Dialysis โดยมกั จะต่ำในชั่วโมงสดุ ทา ยกอ นสิน้ สดุ Dialysis - ควรลดขนาดอนิ ซลู นิ ที่ให 10-15% ในระหวา งและทนั ทหี ลงั ทำ Dialysis - ถา A1C <7.5แ%ผคนวภรูมมีกทิ าี่ ร1ล.ดกขานราดดแูอลินแซลูลนิะคหวรบือยคาุมเมรด็ะลดดับรนะดำ้ ตบั นาล้ำตในาลเลทือี่เพดม่ิ ใรนะวดันับทอนิ่ีทซำูลhนิ eเพm่ือลoดdคiaวาlyมsเสisยี่ งการเกิด ภาวะนำ้ ตาลตำ่ ในเลอื ด รกั ษาดวย Rapid-acting insulin ลดขนาด รกั ษาดวย Premixed insulin ลด รักษาดวย Basal insulin อินซูลนิ กอ นมื้ออาหาร 10-15% ขนาดอินซูลิน 10-15% ลดขนาดอนิ ซลู ิน 10-15% - ลดอนิ ซูลนิ มื้อเชา - ทำ Dialysis ตอนเชา ลดอินซูลินมอื้ เชา - ลดอินซลู นิ มอ้ื เชา ถา ทำ Dialysis ชว งเชา/บาย - ทำ Dialysis ตอนบาย ลดมอ้ื กลางวนั ถาทำ Dialysis ชวงเชา /บาย - ลดอนิ ซลู นิ ม้อื เยน็ - ทำ Dialysis ตอนเยน็ ลดมอ้ื เย็น - ลดอนิ ซลู นิ มือ้ เย็น ถาทำ Dialysis ชว งเย็น ถา ทำ Dialysis ชว งเย็น ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ด กอ นทำ Dialysis <130 มก./ดล. กอ นทำ Dialysis กอ นเสรจ็ Dialysis กอ นเสรจ็ Dialysis - ใหค ารโบไฮเดรต 15-30 กรมั 130-250 มก./ดล. 130-250 มก./ดล. >250 มก./ดล. - ตรวจระดับนำ้ ตาลซ้ำ - ไมต องใหอะไร - ไมตอ งใหอ ะไร - อาจจำเปน ตอ งใหอาหารวา งกอ น - ใหผ ปู ว ยติดตามระดับนำ้ ตาลใน เลอื ดดวยตนเอง ถายังคงสงู อยูให เสรจ็ สิ้น Dialysis ขนึ้ อยกู ับระดับ ปรึกษาพยาบาล หรอื แพทยในทีม น้ำตาลในเลอื ด เบาหวาน แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสอ่ื มในผปู ว ยเบาหวาน ศนู ยบรกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 45
แผนภมู ทิ ่ี 1 การดแู ลและควบคมุ ระดับนำ้ ตาลในเลือด ในวนั ท่ที ำ Hemodialysis การใหอ นิ ซลู นิ ในผปู ว ยทร่ี ับการรักษาดวย Peritoneal dialysis (PD) แนะนำใหใชอินซูลินวธิ ฉี ีดเขาใตผิวหนัง ไมแ นะนำการใหอินซูลินใสใน Dialysate ทใี่ หเขา ชองทอง แมวาวิธีหลัง อนิ ซูลนิ จะผานไปยังตบั โดยตรง เนื่องจากอาจมีการเปลี่ยนโปรแกรมเวลาในการทำ CAPD และเวลาม้อื อาหาร ทำใหตอง ปรบั เปลีย่ นขนาดอินซูลินใน Dialysate ซึง่ ยุง ยากกับผูปวย นอกจากนัน้ ยังพบวาการใหอินซูลนิ ทาง Dialysate ตองใช ขนาดอินซูลินเพิ่มขึ้น เพราะมีอินซูลินติดตามสายและถุงที่บรรจุ รวมถึงถกู เจือจางโดยปริมาณ Dialysate การเกิดพังผดื (Peritoneal fibroblastic proliferation) และอาจเกิด Subcapsular hepatic steatosis ที่สำคัญคือ ความเสี่ยงการ ติดเชือ้ (Peritonitis) เพม่ิ ขึ้น แมวา Meta-analysis ของการศึกษาท่ีทำแบบไมมกี ลุมควบคุมพบวา การควบคุมเบาหวาน จะดีกวาก็ตาม ในกลุมที่รักษาดวยการใหอินซูลินทาง Dialysate พบระดับ HDL-cholesterol มีคาต่ำกวาและระดับ ไตรกลีเซอไรดมคี า สงู กวาเมือ่ เปรยี บเทยี บกับแบบฉีดเขา ใตผ วิ หนงั ถา ทำ PD แบบ Continuous การใหอ นิ ซลู ินแบบ Basal-bolus จะเหมาะสมท่ีสุด แตถาทำ PD ชวงกลางคืน (Overnight) แนะนำใหใ ช Premixed insulin ขณะเริ่มทำ PD 5.5 การปรับขนาดยา ในผปู วยโรคไตเร้ือรังในระยะตางๆ 1. ยาลดความดันโลหติ ชือ่ ยา/กลุมยา ระยะของไตเรอ้ื รงั แบง ตามคา การทำงานของไต (CrCl; ml/min) ≥90 60 - 89 30 - 59 15 - 29 <15 1. ACE inhibiters ให 5 mg/day แลว ปรบั โดยมี max dose 40 ให 2.5 mg/day แลว ปรบั ตามความดนั Enalapril mg/day 2. ARBs ไมตองปรับขนาดยา ไมต อ งปรบั ขนาดยา Losartan ควรใชขนาดยาไมเ กิน 8 mg/day Candesartan 3. Beta-blockers เริ่มตน 25 mg/day แลว ปรบั โดยมี max dose 100 max dose 50 max dose 25 Atenolol mg/day mg/day mg/day Carvedilol Metoprolol ไมต องปรับขนาดยา Propranolol ไมต อ งปรบั ขนาดยา ไมตอ งปรับขนาดยา แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสื่อมในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบรกิ ารสาธารณสุข สำนักอนามยั 46
ชอื่ ยา/กลุมยา ระยะของไตเรือ้ รงั แบง ตามคาการทำงานของไต (CrCl; ml/min) ≥90 60 - 89 30 - 59 15 - 29 <15 4. Diuretics Amiloride ระวงั การใช โดยเฉพาะ CrCl<50 ml/min หา มใช HCl+HCTZ Furosemide ไมต อ งปรับขนาดยา Spironolactone เรม่ิ ตนไมเ กิน 25 mg/day พรอ มติดตามระดับ K ใน ควรหลกี เลยี่ ง เลอื ดหาก K>5mEq/L หยดุ ยา HCTZ ไมตองปรบั ขนาดยา ควรหลกี เลี่ยงการใชร วมกับยา ควรหลกี เลีย่ ง กลมุ loop diuretics 5. Calcium channel blockers Diltiazem ไมตองปรบั ขนาดยา Amlodipine เรม่ิ ตน 2.5 - 5 mg/day แลวปรับขนาดยา โดยมี max dose10 mg/day Felodipine (ออกจาก เรมิ่ ตน 2.5 - 5 mg/day แลว ปรับขนาดยา โดยมี max dose10 mg/day บญั ชสี ำนกั อนามัย) เริ่มตน 10 mg/day แลวปรับขนาดยา โดยมี max dose20 mg/day Manidipine Nifedipine (ออกจาก เริม่ ตน 10 mg/day แลวปรับขนาดยา โดยมี max dose120 mg/day บัญชสี ำนักอนามยั ) NicardipineSR (ออก เริ่มตนท่ี 30 mg/day แลว คอยๆปรบั ขนาดยาอยา งระมดั ระวงั จากบัญชสี ำนกั อนามยั ) แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสื่อมในผปู ว ยเบาหวาน ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 47
2. ยาลดระดบั น้ำตาลในเลือด ชื่อยา/กลุมยา ระยะของไตเรอ้ื รัง แบง ตามคา การทำงานของไต (CrCl; ml/min) >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 1. Biguanides Metformin เร่ิมตน 500 mg/day แลว ปรับ eGFR<45 หามใชเ ม่ือ eGFR <30 ml/min โดยมี max dose 2550 mg/day ml/min หรือ ระวงั การใช ผูหญิง SCr>1.4 mg/dl หรือ ผชู าย sCr>1.5 m/dl 2. Sulfonylureas Glipizide เรมิ่ ตน 5 mg/day แลว ปรับ โดยมี max dose 40 mg/day Glibenclamide เร่มิ ตน 1.25 - 2.5 mg/day แลว CrCl<50 ml/min (ออกจากบญั ชีสำนัก ปรับ ระวงั การใช เนือ่ งจากมีความเสย่ี งการเกิดภาวะน้ำตาล อนามยั ) โดยมี max dose 5 mg/day ต่ำมากข้นึ 2. Non-sulfonylureas Repaglinide เริ่มตน 0.5 mg/day แลว ปรับ CrCl<40 ml/min โดยมี max dose 4 mg/day เร่มิ ตน 0.5 mg/day แลว ปรับขนาดยาอยางระมัดระวงั 3. Thiazolidinediones Pioglitazone เริม่ ตน 15 mg/day แลว ปรับ โดยมี max dose 45 mg/day 4. Alpha-glucosidase inhibitors Acarbose เริม่ ตน 25 mg/day แลว ปรับ โดยมี max dose 100 ควรหลีกเลยี่ ง mg/day Voglibose (ออก ให 0.2 - 0.3 mg tid (ตามม้ืออาหาร) ควรหลกี เล่ียง จากบัญชีสำนัก อนามัย) 5. DPP-IV inhibitors Vildagliptin CrCl>50 ml/min ให 50 mg OD CrCl< 50 ml/min ให 50 mg once daily หรือ bid แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเส่อื มในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบรกิ ารสาธารณสุข สำนกั อนามยั 48
ช่อื ยา/กลุมยา ระยะของไตเร้ือรัง แบง ตามคาการทำงานของไต (CrCl; ml/min) 6. Insulin >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 Biphasic isophane insulin 70/30 ปรับขนาดยาตามระดับนำ้ ตาลในเลือด Insulin aspart+aspart ปรบั ขนาดยาตามระดบั นำ้ ตาลในเลือด with protamine Isophane insulin ปรับขนาดยาตามระดับน้ำตาลในเลือด 3. ยารักษาภาวะไขมนั ในเลอื ดผดิ ปกติ ชอ่ื ยา/กลุมยา ระยะของไตเรอื้ รงั แบง ตามคา การทำงานของไต (CrCl; ml/min) >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 1. HMG Co A reductase inhibitors Simvastatin เริ่มตน 5mg/day แลว ปรับ โดยมี max dose 80 mg/day เริ่มตน ท่ี 5 mg/day และปรบั ขนาดยา อยา งระมัดระวงั Atorvastatin เร่ิมตน 10 mg/day แลว ปรบั โดยมี max dose 80 mg/day Rosuvastatin เริ่มตน 5 mg/day แลว ปรับ โดยมี max dose 40 เริ่มตน 5 mg/day และไมควรเกนิ mg/day 10 mg/day 2. Fibrates Gemfibrozil เริม่ ตน 300 mg/day โดยมี max dose 900 ควรหลีกเล่ยี ง mg/day Fenofibrate เรม่ิ ตน 40 mg/day โดยมี max dose 160 mg/day หา มใช แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเส่อื มในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสุข สำนักอนามยั 49
4. ยาลดกรดยูริกในเลือด/ยาโรคเกาท ชื่อยา/กลุมยา ระยะของไตเร้อื รัง แบงตามคาการทำงานของไต (CrCl; ml/min) >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 Colchicine เรม่ิ ตน 0.3 mg/day โดยมี max dose 2.4 mg/day เรมิ่ ตน 0.3 mg/day แลว ปรบั ขนาดยาอยางระมัดระวัง Allopurinol เรม่ิ ตน 100 mg/day โดยมี max dose 800 mg/day CrCl10 - 20 ใหย าไมเ กิน 200 mg/day CrCl 3 - 10 ml/day ใหยาไมเ กนิ 100 mg/day CrCl<3 ml/day ใหยา 100 mg วนั เวน วนั 5. ยากลุมตา นการอกั เสบทไี่ มใ ชสเตียรอยด (NSAIDs) ช่ือยา/กลุมยา ระยะของไตเรอ้ื รัง แบงตามคา การทำงานของไต (CrCl; ml/min) >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 Aspirin 75-325 mg/day ควรหลีกเลี่ยง Ibuprofen 200 - 400 mg q 6 h; max dose ควรเริ่มในขนาดต่ำๆ และติดตาม ควรหลีกเลี่ยง 1200 mg/day อยางใกลชดิ Naproxen เร่มิ ตน 275 mg/day โดยมี max dose 1100 ควรหลกี เลยี่ ง mg/day Diclofenac เริ่มตน 25 mg/day โดยมี max dose 200 mg/day และตดิ ตามอยางใกลชิด Mefenamic acid 250 - 500 mg q 6 h; ติดตามอยางใกลชดิ ในผูป ว ยที่มีการทำงานของไตแยลงอยา งมีนัยสำคญั Meloxicam 7.5 mg/day โดยมี max dose 15 mg/day หา มใช แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสื่อมในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบ ริการสาธารณสขุ สำนกั อนามัย 50
6. ยาตานเชือ้ จลุ ชพี ชือ่ ยา/กลุมยา ระยะของไตเร้อื รงั แบง ตามคา การทำงานของไต (CrCl; ml/min) >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 1.ยาตา นเช้อื แบคทเี รีย Amoxycillin 250 - 500 mg q 8 h ขนาดยา ขนาดยา 50 - 100% Max dose 2000 mg/day 50 - 100% โดยเปน every 24 h โดยเปน every 12 h Clarithromycin 250 - 500 mg twice daily ลดขนาดยาลง 50 % Cefixime 200 mg q 12 h หรอื 400 mg once daily CrCl<20 ให 200 mg/day Cephalexin 250 mg q 6 h หรือ 500 mg q 12 h 250 mg q 8-12 h 250 mg q 24-48 h Ciprofloxacin 500 mg q 12 h 250-500 mg q 12 h Clindamycin 150 - 300 mg q 6 - 8 h โดยมี max dose 1800 mg/day Co-trimoxazole ขนาดยาปกติ ตามขอบงใช ลดขนาดยา 50% ควรหลกี เล่ียง Dicloxacillin 250 - 500 mg q 6 h Erythromycin 400 - 800 mg 3 - 4 times/day Levofloxacin 500 - 750 mg q 24 h CrCl 20 - 49 ml/min ให 500 mg LD then 250 mg q 24 h หรือ 750 mg q 48 h CrCl 10 - 19 ml/min ให 500 mg LD then 250 mg q 48 h หรือ 750 mg LD then 500 mg q 48 h Metronidazole 500-750 mg three times daily Norfloxacin 400 mg twice daily 400 mg once daily ofloxacin 200 - 400 mg q 12 h CrCl 20 - 50 ml/min ใหเ ปน q 24 h CrCl<20 ml/min ใหลดขนาดยา 50 % และใหเปน q 24 h roxithromycin 150-300 mg twice daily tetracycline 250 mg qid หรือ 500 mg bid CrCl 10 - 50 ml/min ใหเปน CrCl<10; ควรหลกี เล่ยี ง หรือ qid q 12-24 h ถา จำเปน ใหเปน q 24 h แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสอื่ มในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบรกิ ารสาธารณสุข สำนกั อนามัย 51
ชื่อยา/กลุมยา ระยะของไตเร้อื รัง แบง ตามคา การทำงานของไต (CrCl; ml/min) >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 2.ยาตา นเชื้อไวรสั acyclovir 200 - 800 mg q 4-12 h หรือ 2 - 4 times/day CrCl<10; 200 mg q 12 h efavirenz 400 - 600 mg once daily nevirapine 200 - 400 mg/day oseltamivir 75 mg twice 30 mg twice daily 30 mg once daily daily tenofovir 300 mg q 24 h CrCl 30 - 49 ml/min ให ใหเ ปน 48 h CrCl 10 - 29 ml/min ให 72 - 96 h CrCl<10 ml/min ไมม ีการศึกษา Lamivudine 150 mg q 12 h หรือ 300 mg CrCl 30 - 49 ให 150 mg LD CrCl 5 - 14 q 24 h 150 mg q 24 h then 100 mg q ml/min; 150 24 h mg LD then 50 mg q 24 h CrCl<5 ml/min; 50 mg LD then 25 mg q 24 h Stavudine 30 mg q 12 h CrCl 10 - 25 ml/min ให เปน q 24 h Zidovudine 300 mg q 12 h หรือ 200 mg q 8 h 100 mg q 6 - 8 h หรือ 300 mg q 24 h 3. ยาตานเชื้อรา Fluconazole 200 - 400 mg q 24 h CrCl<50 ml/min ลดขนาดยาลง 50% itraconazole 100 - 200 mg q 12 h 4. ยาตานเชื้อวัณโรค isoniazid 300 mg once daily Ethambutol 15 - 25 mg/kg q 24 h 20 - 25 mg/kg 3 times/week แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเส่ือมในผปู ว ยเบาหวาน ศนู ยบริการสาธารณสุข สำนักอนามยั 52
ชื่อยา/กลุมยา ระยะของไตเร้ือรัง แบงตามคาการทำงานของไต (CrCl; ml/min) Pyrazinamide Rifampicin >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 Streptomycin 25 mg/kg q 24 h 25 - 35 mg/kg 3 times/week Cycloserine 10 mg/kg q 24 h CrCl<50 ml/min ใหข นาดยา 50-100% ของขนาดยาปกติ Ethionamide 1 - 2 g/day IM โดยแบงใหเปน CrCl<50 ml/min ใหระวังการใช 2 - 4 ครง้ั max dose 2 g/day ผูปว ย TB>40 kg และอายุ >15 ป ให 15 mg/kg IM 2 or 3 times/week เริ่มตน 250 mg orally every 12 hours for 2 250 mg once หามใช weeks then 500 to 1000 mg/day given in daily หรือ 500 divided doses MAX dose 1 g/day mg 3 times/week เร่ิมตน 250 mg once daily for 1 หรือ 2 days แลวคอยๆ ปรบั เพ่มิ เปน 250 mg twice daily for 1 or 2 days จากนั้นให 1 g daily in 3 to 4 divided doses โดยอาจปรบั ขนาดยา ใหได 15 to 20 mg/kg/day once daily ถาทนได หรืออาจแบงขนาดยาเปน ใหย า มากกวา 1 ครง้ั ตอวัน หากจำเปน MAX dose 1 g daily แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเส่ือมในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบ ริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 53
7.ยากลุมอื่นๆ ชอื่ ยา/กลุมยา ระยะของไตเรอ้ื รงั แบงตามคาการทำงานของไต (CrCl; ml/min) ยาท่ีมี magnesium >90 60 - 90 30 - 59 15 - 29 <15 เปนสวนประกอบ omeprazole ขนาดปกติ ระมัดระวังการใช และควรตดิ ตาม Ranitidine(ออกจาก บญั ชสี ำนกั อนามยั ) ระดบั Magnesium dimenhydrinate 20 mg once daily หรอื twice daily betahistine 150 mg 2 - 4 times/day CrCl<50 75 mg twice daily max dose 400 mg/day ml/min ใหเ ปน q 12 - 24 h 50 - 100 mg 30 - 60 min เมอื่ มีอาการหรือจะทำกจิ กรรมท่ีอาจเกดิ อาการวงิ เวยี น สามารถ ทานซำ้ ไดทุก 4-6 h max dose 40 mg/day 8 - 16 mg tid สามารถใชไดถ งึ ขนาด 48 mg/day แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสือ่ มในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบ รกิ ารสาธารณสุข สำนักอนามัย 54
สมุนไพรที่ตองระวังในผปู ว ยโรคไต ชอื่ สมนุ ไพร ผลเสียตอรา งกาย ไครเ ครอื มกี รดเอรสิ โทโรคกิ และสารเอเอ-ดเี อ็นเอแอดดคั ท เปนสารกอมะเร็งและยงั เปนพิษ การบูร ตอ ตับไตตอมหมวกไตอาจทำใหไตวายและเปน มะเร็งทางเดินปส สาวะได ทานการบรู 3.5 กรมั ทำใหเ สียชวี ติ ไดแ ละหากทานเกนิ ครง้ั ละ 2 กรมั จะทำใหหมดสติ ชะเอมเทศ และเปน พิษตอระบบทางเดินอาหารไตและสมอง หญา หนวดแมว ทำใหเ กิดการบวมนำ้ โปแทสเซียมในเลือดตำ่ และเกดิ ไตวายเฉยี บพลนั ได สมนุ ไพรชนิดนี้มสี ารโปแทสเซยี มสูงมาก ดงั น้ันหากมีการทำงานของไตพรองอาจทำให ปอบดิ ปอทบั มะบิด เกิดการคงั่ ของโปแทสเซียมในรางกายอีกท้ังยังมผี ลขบั ปสสาวะดว ยจึงอาจทำใหหัวใจ หรือปอกะบิด เตนผดิ ปกตแิ ละหัวใจหยดุ เตน ได มะขามแขก การใชปอกระบิดเปน ระยะเวลานาน อาจมีผลเปนพิษตอตับและไต น้ำลูกยอ เมื่อใชใ นขนาดสงู หรือเปนเวลานานมีรายงานในคนทำใหเกดิ ตบั และไตวายเฉียบพลนั หรอื นาใบยอตม ในคนไขใชช าชง 70 g of drysennafruit for >3 ป Juniper Berries ลกู ใบยอมโี ปแทสเซยี มสูงมากจึงอาจทำใหโปแทสเซยี มในเลือดสูงไดแ ละอาจเกิด พิษตอตบั และไตได ใบยานาง ปรมิ าณสงู ทำใหไตเกดิ การถูกทำลายได (kidney irritation and damage) เถาวัลยเปรียง ใชข นาดสูงมรี ายงานในสัตวท ดลองทำใหการทำงานของไตลดลง สำหรบั แกป วดมกี ารออกฤทธ์ิเหมอื น COX-2 inh แตม ีฤทธนิ์ อยกวาพบในผปู วย CKD หญาไผน ้ำ ทำใหเ กิด AKI ลูกเนียง มรี ายงานในผูปวย CKD ทำใหเกิด AKI • ขนาดทท่ี ำใหเกิดพิษ : ไมมีรายงานขนาดทท่ี ำใหเกิดพิษทช่ี ัดเจนเทา ทมี่ รี ายงาน มะเฟือง คือในชว ง 1-20 ผล • ระยะเฉยี บพลัน : ปสสาวะเปนเลือดปวดแสบขดั ปสสาวะปวดหลังคล่ืนไส อาเจยี นและทองเสยี และเกิดไตวายเฉียบพลนั • ผลในระยะยาว : ผูปว ยจะเกิดน่ิวภาวะไตวายเรื้อรงั ไดใ นระยะยาว มะเฟอง มีกรดออกซาลิกในปรมิ าณสูงหากกินในปริมาณมากหรือคนท่ีมโี รคไตเร้ือรัง แมก ินในปริมาณไมม ากจะทำใหมปี ริมาณกรดออกซาลกิ ในรา งกายสงู ทำใหเกิดผลึกน่ิว ในไตผลึกน่ิวจำนวนมากเกิดการตกตะกอนจนทำใหเกิดการอุดตนั ในเนื้อไตและทอไต นอกจากนม้ี ะเฟอ งยงั มสี ารทมี่ ีพิษตอระบบประสาทดวย แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสอ่ื มในผปู ว ยเบาหวาน ศนู ยบรกิ ารสาธารณสุข สำนกั อนามัย 55
ชอ่ื สมนุ ไพร ผลเสยี ตอรางกาย ตะลงิ ปลิง ผลของตะลิงปลิงมกี รดออ กซาลิค (Oxalicacid) ในปรมิ าณทสี่ ูงมากซง่ึ ทำใหเ กดิ อนั ตรายตอไตเกิดภาวะไตวายขึ้น หนาวฉาวเวย การทานหนาวฉาวเวย เปนประจำทุกวันทำใหคาการทำงานของตบั และไตเปลีย่ นแปลง รางจืด มีรายงานในสตั วท ดลองเมื่อใชรางจดื เปน เวลานานอาจทำให Scr เพมิ่ ขึ้นนอกจากนี้ ยงั พบผูปวยโรคไตเรื้อรังใชชาชงรางจดื เปนเวลานานทำใหเกดิ ไตวายเฉียบพลนั ได ออยดำ มฤี ทธ์ิขับปสสาวะถาใชม ากเกินไปจะทำใหรางกายขาดน้ำและไตวายเฉยี บพลันได และชาชงเห็ดหลินจอื มฤี ทธขิ์ บั ปส สาวะและขับโซเดียมถาใชป รมิ าณมากเกนิ ไปจะทำใหร า งกายขาดนำ้ มะตมู และไตวายเฉยี บพลนั ได มีฤทธ์ิลดการอักเสบในริดสดี วงผา นทางกลไก COX-inhibitors จึงอาจตองระวงั ใน เพชรสังฆาต ผปู วยโรคไตเร้ือรงั มฤี ทธล์ิ ดการอกั เสบผานทาง COXI-inhibitors ดังนนั้ ผผปู ว ยโรคไตเรอื้ รงั ตงั้ แตร ะยะที่ สาหรายแดง 3 ควรหลกี เลี่ยงการใช พืชนม้ี ีฤทธิ์ยบั ยง้ั PGE2 ทำใหเ ลือดไปเลยี้ งทีไ่ ตลดลงจงึ ควรหลกี เลย่ี งในผปู วยโรคไต รากบัวหมิ ะ เรือ้ รงั ตัง้ แตร ะยะท่ี 3 ขมน้ิ ชัน การทานขมิ้นชนั ตดิ ตอ กันประจำเปน เวลาหลายปอ าจพบนว่ิ ในไตไดเนือ่ งจาก ดองดงึ มี Oxalate เปนสวนประกอบ ละอองเกสรสกดั พบรายงานผูปว ยใชดองดงึ เกิดพิษตอระบบเลอื ดไตตับและหัวใจเกดิ ไตวาย เฉยี บพลันได ผูปว ยโรคไตเรอื้ รงั ตง้ั แตร ะยะที่ 3 ไมควรรบั ประทานในขนาดสงู หรอื เปน ประจำ เพราะอาจทำใหเ กิดการสะสมของเกลือแรแ ละแรธาตุรวมทั้งอาจเกิดไตวายเฉียบพลัน จากการลดการอักเสบ มะมวงหาวมะนาวโห มวี ติ ามินซี 1.32 มก./กรมั ผูปวยโรคไตเรอ้ื รงั ไมควรรบั ประทานในปรมิ าณมาก เพราะอาจทำใหเ ปน นว่ิ ได แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเส่อื มในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบรกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามัย 56
สมุนไพรอันตรายกับผปู วย“โรคไต” หนานเฉาเหวย วธิ ีรบั ประทาน\"หนานเฉาเหวย”ใหถูกตอ งไมเกิดผลรา ยตอรา งกาย กรณีสมุนไพรปาชาเหงาหรือหนานเฉาเหวย มผี สู นใจนำมาปลูกเพ่ือกินรักษาโรคกนั เปน จำนวนมาก ซงึ่ หนานเฉาเวย เปนพชื ท่มี ถี ิ่นกำเนิดมาจากประเทศแถบแอฟริกาตอนใต ตอมามีการนำเขามาปลูกและใชกัน อยา งกวางขวางในประเทศจนี สรรพคุณของหนานเฉาเหวย ในตำรายาจีนระบวุ าสมุนไพรดังกลา ว มสี รรพคณุ ดังน้ี - แกปวดเมอ่ื ยตามรา งกาย - ลดอาการปวดขอ - ลดความดนั โลหติ - ลดนำ้ ตาลในเลอื ด วธิ กี ารรบั ประทานหนานเฉาเหวย > ใชใ บสดรับประทานชงนำ้ ด่ืมครั้งละ 4-6 ใบวนั ละ 2-3 คร้งั ขอ หามขอ บงชี้ในการรบั ประทานหนานเฉาเวย มีขอหามใชในกรณีผูปวยทีม่ ปี ญหาเกี่ยวกับไตดังนั้นในกรณีของผูปว ยท่ีเปนโรคไตอยูจึงไมค วรใชสมุนไพร ดังกลาวนี้หรือตองใชดวยความระมัดระวังโดยอยูภายใตคำแนะนำจากแพทยหรือผูประกอบวิชาชีพที่มีความรูทางดาน สมุนไพรอยางเหมาะสม สมุนไพรเปนทางเลอื กหน่ึงในการบำบัดรักษาโรคดวยสรรพคุณมากมายจึงทำใหผลิตภณั ฑ ตา งๆจากสมุนไพรวางจำหนา ยในทอ งตลาดมากขนึ้ ตามกระแสของการใหความใสใจในสุขภาพของคนในสังคม แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสอื่ มในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบรกิ ารสาธารณสุข สำนกั อนามัย 57
เห็ดหลนิ จอื เห็ดหลินจือเปนสมุนไพรจีนที่ดังมากในกลุมผูปวยโรคไตเรื้อรังซึ่งผูปวยไตสนใจในเร่ืองท่ีวาบำรุงไต แตส รรพคณุ จรงิ ๆไมม ีประโยชนเ ปนพิเศษ และเหด็ หลินจือยังมีราคาแพงคุณสมบัติของอวัยวะอยางไตนัน้ จะชว ย กำจัดของเสยี เม่ือผปู วยโรคไตเสื่อมรบั ประทานเขาไปไตตองมาขบั สารเหลานี้มากขึ้นแลวผูปวยโรคไตที่มาฟอก ไตหรือฟอกเลือดแลวยังรับประทาน เห็ดหลินจือเขาไปก็จะทำใหไตเสื่อมไตวายไดบางรายท่ีรับประทาน ผลิตภัณฑอาหารเสริมที่ทำมาจากเห็ดหลินจือบอยๆ ปรากฏวามีอาการเพิ่มข้ึนดวยโรคตับและไตวาย เฉียบพลัน ปจจุบันขอมูลของเห็ดหลินจือในการรักษาโรคไตเร้ือรังยังไมมีขอมูลที่ชัดเจน ดังนั้นผูปวยโรค ไตเรอื้ รงั ไมควรรบั ประทานเห็ดหลินจือ มะมว งหาวมะนาวโห มะมวงหาวมะนาวโหสมนุ ไพรอีกหน่ึงชนิดท่ีมีความเช่ือวาเปน ยาตา นอนุมลู อิสระสรรพคุณจะชวยปองกัน เซลลมะเร็งแตสำหรับผูปวยโรคไตอาจมผี ลทำใหไตขับสารโปแทสเซียมออกมาไมทันสงผลทำใหหัวใจเตนผิดจังหวะ และอาจเสียชวี ิตได แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสอื่ มในผปู วยเบาหวาน ศูนยบริการสาธารณสุข สำนกั อนามยั 58
มะเฟอง มะเฟองเปนผลไมทม่ี วี ติ ามนิ สรรพคณุ ชวยแกโรคเกาต แกไอ กระหายนำ้ ขบั ปส สาวะแตมะเฟองมี กรดออกซาลกิ สงู ซ่ึงเปนอันตราย สำหรับผูปวยโรคไตสารออกซาลิกเปน สารท่ีผูปวยโรคไตไมสามารถขับสาร ชนดิ นอ้ี อกไดเลย ดังนน้ั หากผูปว ยโรคไตทานมะเฟองเขา ไปแมเพียงเล็กนอยอาจสงผลตอสมองทำใหสะอึกซึม คลื่นไสอาเจียนและชักไดซึ่งมีรายงานวาผูที่มีปญหาเก่ียวกับไตแมกินมะเฟอง 1 ช้ิน ทำใหเกิดอันตรายใน 2.5 - 14 ชว่ั โมง สว นคนปกตสิ ามารถดมื่ น้ำมะเฟอ งได 1.5 - 3 ลิตรตอวนั ตะลิงปลิงปวยเลง ตะลิงปลิงและปวยเลงเปนสมุนไพรท่ีมีปริมาณกรดออกซาเลตอยูมากการรับประทานในปริมาณมาก เกินปกติอาจสงผลใหเกิดนิ่วในทางเดินปสสาวะและเกิดโรคไตเรื้อรังไดและพบวาถานำมาปนเปนน้ำ รบั ประทานเยอะๆอาจทำใหไตวายเฉียบพลันได แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเส่อื มในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบ ริการสาธารณสขุ สำนกั อนามัย 59
แครนเบอร่ี แครนเบอรี่เปนผลไมรสเปรี้ยวจึงมีฤทธ์ิในการขับปสสาวะชวยรักษากระเพาะปสสาวะอักเสบ ไดผลดีถาหากด่ืมเปนประจำก็อาจสงผลใหระดับกรดซาลิไซลิก (Salicylic) ในรางกายเพิ่มสูงขึ้นไดจนเสี่ยงทำ ใหเ กดิ นิ่วจึงสงผลใหการทำงานของไตผิดปกตสิ วนใหญม ักทำเปน ผลิตภัณฑเสรมิ อาหารรับประทานมากอาจทำ ใหเกิดน่ิวในทางเดนิ ปส สาวะและอาจสงผลตอการทำงานของไตผิดปกติ เถาวัลยเปรยี ง เถาวลั ยเ ปรียงลกั ษณะเปนไมเถาเนอ้ื แข็งมีฤทธิ์แกปวดชว ยรักษาอาการปวดเมื่อยตามกลามเนื้อไดผล ชะงกั เชนเดยี วกับทานยาลดการอักเสบจงึ อาจสง ผลเสยี ตอ ไตดวย แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสื่อมในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบ ริการสาธารณสุข สำนักอนามยั 60
ไครเครือ ไครเครือมีรูปรางคลายกระเปาะของตนหมอขาวหมอแกงลิงสมุนไพรในตระกูลน้ีไดถูกตัดชื่อออก จากตำรับยาแผนไทยในบัญชียาหลักแหงชาติ เพราะเปนพิษตอตับไตและตอมหมวกไตโดยทำใหเกิดไตวาย และเปนมะเร็งทางเดินปสสาวะมีรายงานจากทั่วโลกวาหามใชสมุนไพรไครเครือ เพราะทำใหไตวายและเปน มะเรง็ ระบบทางเดินปส สาวะ น้ำลูกยอ (Noni) น้ำลูกยอใน ผูปว ย โรค ไต เรื้อรังก ารรับ ป ระท าน อ าจ สงผ ล ใหมีโปแทสเซียมใน เลือ ดสูง เปนอนั ตรายตอไตทำใหหัวใจเตน ผดิ จังหวะและอาจเสยี ชวี ิตได แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสือ่ มในผปู ว ยเบาหวาน ศนู ยบริการสาธารณสุข สำนกั อนามยั 61
สมุนไพรปอกะบดิ การดื่มน้ำปอกะบิดอยางตอเนือ่ งจะสงผลใหไตตอ งทำงานหนักมาก ดังนั้นผูปวยที่เปนโรคไตเรอื้ รงั ไมควรบริโภคเพราะอาจทำลายตับไตไดจะสงผลตอคา ของตบั และไตจะสงู ข้ึนนอกจากนี้ยังตองระวังการ ปนเปอนสารอันตรายจากกระบวนการผลิตดวยซึ่งจากการสุมตรวจพบปนเปอนสเตียรอยดถึง 30% และยังพบสารหนูแคดเมียมซง่ึ เปนโลหะทีม่ ผี ลตอโรคไต หญา หนวดแมว หญาหนวดแมวอาจทำใหมโี ปแทสเซยี มในเลือดสงู เปน อนั ตรายตอไตได แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสอ่ื มในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบริการสาธารณสขุ สำนักอนามัย 62
หญา ไผน ้ำ หญาไผนำ้ มีฤทธิ์ขบั ปสสาวะ ทำใหไตตองทำงานหนักมากเกนิ ไปจึงไมเหมาะกับผปู ว ยโรคไต เร้ือรงั อาจทำใหเกิดอาการภาวะไตวายเฉยี บพลันไดเ ร็วขน้ึ ลูกเนยี งหรือชะเนยี ง ลูกเนียงหรือชะเนียง มีลักษณะผิวสีน้ำตาลคล้ำหรือน้ำตาลอมมวงคลายเมล็ดถั่วซึ่งมีสารท่ี กอใหเกิดอาการพิษ ที่ชื่อวากรดแจงโคลิค (djenkolic acid) ซึ่งเปนพิษตอไตอาจสงผลใหระบบไต ลมเหลวได แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเสอื่ มในผปู วยเบาหวาน ศนู ยบ ริการสาธารณสขุ สำนักอนามยั 63
สมุนไพรรกั ษาไตมีจริงหรือไม ปจจบุ ันมีการโฆษณาสมุนไพรตางๆท่ีใชรักษาโรคไตไดทำใหมีประชาชนหลงเชือ่ จำนวนมาก ซึ่งแพทย ผูเช่ียวชาญทางโรคไตยืนยันวายังไมมีสมุนไพรตัวใดหรือตำรับใดทมี่ ีขอมูลทางวิชาการที่เพียงพอวาสามารถรักษา โรคไตไดอ ยา งมั่นใจโดยเฉพาะคนที่มโี รคประจำตวั เปนโรคไตยิง่ ตองระมดั ระวังในการกินใหมากทสี่ ุด การรับประทานผกั ผลไมใ นผูปว ยโรคไต ผักและผลไมเปนสิ่งทมี่ ปี ระโยชนตอรา งกายแตสำหรบั ผปู ว ยโรคไตผกั และผลไมบางชนิดอาจกอใหเกิด พิษตอรางกายหากรับประทานในปรมิ าณทมี่ ากเกนิ ไป ซ่ึงผูปวยตองระมดั ระวังผักและผลไมท่ีมีสารเหลา น้ี 1. กรดออกซาลกิ สงู สารชนิดน้ีเมอ่ื ไปจับกับแคลเซยี มจะตกตะกอนเปนกอนน่วิ ทีไ่ ตทำใหเกิดเปน น่ิว อุดตันทางเดนิ ปสสาวะได ดังนน้ั ผูปว ยโรคไตควรหลกี เลย่ี ง เชน แครอท ผกั โขม ผักแพว ปวยเลง ใบชะพลู มนั สำปะหลงั กระเทยี ม 2. โปแทสเซยี มเมื่อไตทำงานลดลง การขับโปแทสเซียมทางปสสาวะก็จะลดลงตามไปดวยจงึ ทำใหเกิด การสะสมของโปแทสเซียม ดังนั้นถาหากรา งกายไดร บั ปริมาณโปแทสเซียมมากเกินไปก็จะสงผลให ไตทำงาน ห นักถาหากโปแทสเซียมในเลือดสูงเกินกวา 5.2 ควรงดทานผักผลไม ที่มีโปแทสเซียมสูงแต สามารถเลือกทานผลไม ท่ีมี โปแทสเซียมต่ำแทน เชน ชมพู แตงโม เงาะ มังคดุ ลองกอง ถาหากผูปวย โรคไตไดรบั โปแทสเซยี มสงู เกินไปก็จะมอี ันตรายไดทำให ใจส่นั คล่ืนไส เปนตะครวิ ชีพจรเตนชาลง ทำใหหัวใจเตนผดิ ปกติ จนหยุดเตนได แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเส่ือมในผปู วยเบาหวาน ศูนยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนกั อนามัย 64
6. แนวทางการดำเนินงานของพยาบาลเยี่ยมบา น 6.1 เปา หมาย ใหค วามรู ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม และติดตามเย่ยี มผปู ว ยโรคเบาหวานทไ่ี มสามารถควบคุมระดับนำ้ ตาล ในเลอื ดทบี่ าน 6.2 กิจกรรมสำคญั 6.2.1 การเยี่ยมบาน กอ นเยี่ยมบาน - เตรยี มขอ มูลผูปวย ช่อื - สกุล ท่อี ยูชมุ ชนโรคประจำตวั /อาการเรง ดวนที่ตองไปเยย่ี ม - เตรยี มความรู เครื่องมือท่ีจำเปน ตอ งใชใ นการปฏบิ ัตกิ าร - ประชุมทีมสขุ ภาพเฉพาะราย - ประสานเครือขา ยในชุมชน ไดแ ก Caregiver/อสส. - จดั เตรียมแฟมและแบบประเมนิ ตาง ๆ - เอกสารใบเซ็นยนิ ยอมใหเขา เยี่ยมบาน - คำสง่ั แพทย กรณีมกี ารใสอุปกรณทางการแพทย/เจาะเลอื ด การปฏิบัติการเยี่ยมบาน (Home Health Care/Home Ward) - ใหบ ริการพยาบาลตามลำดับขั้นตอนดว ยอุปกรณ Aseptic technique - ใชหลกั Universal precaution ในการตรวจรา งกายทวั่ ไป การวัดสญั ญาณชีพ - ใหค วามรู/ปรึกษาแนะนำผปู ว ยและญาติ ตามความเหมาะสมเฉพาะรายแบบองครวม 4 มิติ - คนหากลุมดอยโอกาสเชน ผเู สพสารเสพติด คนพิการ จิตเภท การสงตอ การรักษา ผูปว ยมี eGFR นอ ยกวา 30 ml/min/1.73m2 (stage 4) - ผูปว ยโรคไตเรอ้ื รงั ท่ีมี Rapid progression ไดแก 1) มกี ารเพ่ิมข้นึ ของ CKD staging และ มคี า eGFR ลดลงมากกวา เดมิ รอยละ 25 2) มกี ารลดลงของ eGFR มากกวา 5 ml/min/1.73m2 ตอป - ผปู ว ยที่มภี าวะไตวายเฉียบพลนั เชน ผทู มี่ ีอาการปส สาวะนอยลง หรือไมป ส สาวะเลย มีอาการบวมท่ีขาและเทา เบ่ืออาหาร คลน่ื ไส อาเจียน หอบ ชักหรอื หมดสติ หรือผลตรวจทางหอ งปฏิบตั ิการ BUN Cr eGFR Electrolyte ผดิ ปกติ - ผปู ว ยมี ACR มากกวา 300 mg/g หลังไดร ับยา ACEI/ARB ขนาดสูงสดุ หรือเกิดผลขางเคียงของยา - มภี าวะความดันโลหิตสงู ทคี่ วบคมุ ไมไดด ว ยยาลดความดันโลหิตตง้ั แต 4 ชนิดขนึ้ ไป แนวทางการดำเนนิ งานชะลอไตเส่ือมในผปู ว ยเบาหวาน ศนู ยบ ริการสาธารณสุข สำนกั อนามยั 65
- ผูปว ยทมี่ เี ม็ดเลอื ดแดงในปส สาวะมากกวา 20 cells/HPF และหาสาเหตุไมไ ด - ผูปวยที่มรี ะดับโปแตสเซยี มในเลอื ดสงู >6 mmol/L - ผูป ว ยที่รับการวินจิ ฉัยวา มโี รคนว่ิ ในทางเดินปสสาวะมากกวา 1 คร้งั หรือรวมกบั ภาวะอุดกัน้ ทางเดนิ ปส สาวะ การสรุปผลการปฏบิ ตั ิการเยีย่ มบา น/บันทกึ การเบิกเงนิ สปสช. - สรุปผลประเมินอาการของผูร ับบรกิ าร - ลงบันทกึ การใหบ รกิ าร - สรปุ บันทกึ ในการเบิกคา ใชจาย - ลงทะเบยี น HHC - ทำแผนการเยีย่ มคร้งั ตอ ไป 6.2.2 การเฝาระวังผูป ว ยเบาหวานในชมุ ชน 1. การประชมุ ทีมสุขภาพ การประชมุ ถึงสภาพปญหาของผูป วยเบาหวานในชมุ ชน และการกำหนดขอบเขตการเฝา ระวัง 2. การคน หากลุมเสยี่ งและผปู ว ยเบาหวานในชมุ ชน 3. การจัดทำทะเบียนผูป ว ยเบาหวานและกลุมเสย่ี ง 4. การจดั ทำโครงการดูแลผปู วยเบาหวานและกลมุ เส่ียงในชุมชน ดำเนนิ โครงการการดูแลผูปว ยเบาหวานและกลมุ เสี่ยงในชมุ ชนโดยใหช มุ ชนมีสว นรว มในการคน หาปญ หา และแนวทางการแกไข 5. การประเมินผลโครงการ 6. การจัดตั้งชมรมเบาหวานในชุมชน เกณฑการสงตอผปู ว ยโรคเบาหวานใหพยาบาลเยีย่ มบา น (สามารถปรับเปลีย่ นไดต ามดลุ พินิจของ แพทยใ นแตล ะศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ ) 1. ผูปว ยฉีดยา Insulin 2. ผปู ว ยท่เี กดิ แผลติดเช้ือที่เทา แผลกดทบั หรอื แผลบริเวณอืน่ 3. ผปู ว ยท่ีมีภาวะ CKD Stage 4 ขน้ึ ไป 4. CVD Risk > 30 % 5. HbA1C >8.5% 6. ผปู ว ยเบาหวานทนี่ อนติดเตียงหรอื ทช่ี วยเหลือตนเองไมได หรือไมมผี ูด ูแล 7. ตามทแี่ พทยเหน็ สมควรเชน ปญหาพฤติกรรม มภี าวะซึมเศรา , Loss F/U > 3 เดอื น ไมส ามารถ ติดตอไดเปน ตน แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสอื่ มในผปู วยเบาหวาน ศูนยบรกิ ารสาธารณสขุ สำนกั อนามัย 66
ภาคผนวก แนวทางการดำเนินงานชะลอไตเสื่อมในผปู ว ยเบาหวาน ศูนยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามัย 67
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 68
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 8
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 69
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 9
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 70
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 0
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 71
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 1
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 72
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 2
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 73
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 3
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 74
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 4
แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปอง 75
งกนั โรคไตเร้ือรงั ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ สำนักอนามยั 5
แบบฟอรมการสง ตอ เลขทีแ่ ฟม..................... Refer No. .................. ใบสง ตอผูปวยในงานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคนอกหนว ยบริการ กรุงเทพมหานคร วันท.่ี .............................................................................. เรยี นหนวยบรกิ าร.............................................................................................................................................. ตามท่หี นวยบรกิ ารของทานรับผิดชอบพ้ืนทส่ี รา งเสริมสุขภาพและปองกนั โรคนอกหนว ยบริการพน้ื ที่ แขวง.....................เขต.......................นน้ั ศนู ยบริการสาธารณสุข ...................... ขอสง ตอ ผูปว ยช่อื (นาย/นาง/นางสาว/เดก็ ชาย/เด็กหญงิ ) ................................................................................. HN..................................เลขที่บัตรประชาชน.................................................สิทธกิ ารรกั ษา.............................. อาย.ุ ...................ป บานเลขท.่ี .........................หม.ู ....................หมบู า น....................................ซอย.................... แขวง.................................เขต......................................สถานที่ใกลเคียง............................................................... การวนิ ิจฉยั โรค....................................................................................................................................................... ผลการตรวจรางกาย ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สงตวั เพือ่ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. แผนที่ ขอแสดงความนับถือ ลงชอื่ ………………………………………………. ตำแหนง…………………………………………. แนวทางการดำเนินงานการพัฒนาคลนิ กิ เบาหวานสกู ารปองกนั โรคไตเร้ือรงั ศูนยบ ริการสาธารณสขุ สำนกั อนามัย 76
แบบตอบกลบั การสงตอผปู วย วันท่ี............................................................................... ผลการวินจิ ฉัย/Diagnosis………………………………………………………………………………….….………………………………. ……………………………………………………………………………………………………......………………………………………………… ………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………. …………………………..……………………………………………………………………………………………………………….……………… การดำเนินการ………………………………………………………………………………………………..……………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………. ……………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………. …………………………..………………………………………………………………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………….. แผนการดูแลตอเน่อื ง…………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………... ลงช่อื …………………………………………………….... ตำแหนง ………………………………… (กรณุ าสงขอ มูลกลบั ท่งี านพยาบาลเยย่ี มบา น ศูนยบริการสาธารณสุข .......................................โทรศัพท...........................) ปรับปรุง ๑ สิงหาคม ๒๕๖๕ แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลินิกเบาหวานสูการปองกนั โรคไตเรื้อรงั ศูนยบ ริการสาธารณสขุ สำนกั อนามยั 77
รายชือ่ คณะผจู ดั ทำ ประธานคณะทำงาน 1. นางสาวสุธี สฤษฎ์ศิ ิริ นายแพทยเชย่ี วชาญ (ดานเวชกรรมปองกนั ) ผอู ำนวยการเฉพาะดา น (แพทย) ตน ศนู ยบริการสาธารณสุข 67 ทววี ฒั นา 2. นางพรรณทพิ ย วงศธ ีระสุต ผอู ำนวยการเฉพาะดา น (แพทย) ตน คณะทำงาน ศนู ยบริการสาธารณสขุ 31 เอบิ - จิตร ทงั สบุ ตุ ร 3 นางสาวจิตรลดา บตุ รงามดี ผอู ำนวยการเฉพาะดา น (แพทย) ตน คณะทำงาน ผูอำนวนการศนู ยบ รกิ ารสาธารณสุข ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสขุ 66 ตำหนกั พระแมก วนอิม โชคชัย 4 4 นางอภิรดี ตีรณธนากลุ นายแพทยช ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน ศูนยบรกิ ารสาธารณสุข 5 จุฬาลงกรณ 5. นายวีรยทุ ธชยั พรสไุ พศาล นายแพทยป ฏิบตั กิ าร คณะทำงาน ศนู ยบรกิ ารสาธารณสุข 18 มงคล-วอนวังตาล 6. นางทรงพร วิทยานันท หวั หนา กลุมพฒั นาสุขศกึ ษาและพฤติกรรมสุขภาพ คณะทำงาน สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข 7. นางสาวสุภาพรรณ วิวฒั นะ หัวหนา กลุมสถิติและสารสนเทศสาธารณสขุ คณะทำงาน สำนกั งานพัฒนาระบบสาธารณสขุ 8. นางสาวเพชรรตั น เสถียรเมธากุล หัวหนากลุมชวี เคมี คณะทำงาน สำนกั งานชันสตู รสาธารณสขุ 9. นางวชั รา วภิ าคกิต เภสัชกรชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน หวั หนา กลมุ งานเวชภณั ฑ กองเภสัชกรรม 10. นางวรรณา งามประเสริฐ หัวหนา กลุมงานมาตรฐานและควบคุมคุณภาพการพยาบาล กอง คณะทำงาน การพยาบาลสาธารณสขุ คณะทำงาน 11. นางผองศรี ผณินทรารักษ พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ ศนู ยบ รกิ ารสาธารณสุข 67 ทววี ฒั นา 12. นางฤดี ทตุ ิยาสานติ์ หวั หนา กลมุ งานสรา งเสริมสุขภาพบุคคลและครอบครวั คณะทำงานและ กองสรา งเสรมิ สุขภาพ เลขานุการ 13. นางสาวสกุ านดา สุธรรมกติ ติวฒุ ิ นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ คณะทำงานและ ยกองสรางเสริมสุขภาพ ผูชวยเลขานกุ าร 14. นางสาวจนิ ตนา แจงโพธ์ิ นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ คณะทำงานและ สำนักงานพฒั นาระบบสาธารณสุข ผชู วยเลขานุการ แนวทางการดำเนนิ งานการพัฒนาคลินิกเบาหวานสกู ารปองกันโรคไตเร้ือรัง ศูนยบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 78
Search