เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
1หน่วยการเรยี นรู้ท่ี การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ตัวชี้วดั • ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการนาเสนอ และแบง่ ปันขอ้ มลู อยา่ งปลอดภัย มจี ริยธรรม และวิเคราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมผี ลต่อการดาเนนิ ชีวิต อาชพี สังคม และวฒั นธรรม
การนาเสนอและแบง่ ปันขอ้ มลู สง่ ผลดีและผลเสยี อย่างไรกับการใช้ชีวิตในปัจจบุ ัน BREAKING NEWS
การนาเสนอและแบง่ ปนั ข้อมลู สารสนเทศ การนาเสนอข้อมลู (Presentation of Data) เปน็ การนาเอาข้อเท็จจริง หรอื รายละเอยี ด ตา่ ง ๆ ของขอ้ มลู ที่เกบ็ รวบรวมไวม้ าจัดใหเ้ ป็นระเบยี บ การนาเสนอข้อมลู โดยท่ัวไปแบง่ ออกเปน็ 2 ลักษณะ ดังนี้ การนาเสนอขอ้ มลู อย่างไม่มแี บบแผน เปน็ การนาเสนอขอ้ มูลทไ่ี มม่ กี ฎเกณฑ์อะไรแนน่ อน และเป็นการอธิบายลกั ษณะ ของข้อมูลตามเนอ้ื หาข้อมลู การนาเสนอในรปู แบบน้จี ะแทรกข้อมลู ลงในบทความ และขอ้ เขียนต่างๆ การนาเสนอขอ้ มลู อยา่ งมีแบบแผน เป็นการนาเสนอข้อมลู ทจ่ี ะต้องปฏบิ ตั ิตามหลกั เกณฑท์ ่ีได้กาหนดไว้เปน็ มาตรฐาน การนาเสนอแบบนจ้ี ะนาเสนอในรปู ตาราง กราฟ หรอื แผนภูมิ
การนาเสนอขอ้ มูลสารสนเทศในสายงานโดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มลี ักษณะของการนาเสนอ ข้อมลู 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี ข้อมลู ตัวเลข ข้อมลู ตัวอกั ขระ คือ ข้อมูลกลุ่มตัวเลขท้ังท่ีเป็นจานวน คือ ข้อมูลตัวอักษรท่ีใช้ในการเขียน เต็ม ทศนิยม หรือจานวนจริง ข้อมูล ภาษาตา่ ง ๆ ทกุ ภาษา เชน่ ตวั อักษร ลกั ษณะน้ใี ชก้ นั ในการศึกษา A-Z ก-ฮ สระ วรรณยุกต์ รวมทั้ง สัญลักษณแ์ ละเครื่องหมายตา่ งๆ ข้อมูลกราฟกิ ขอ้ มลู เสยี ง คอื ข้อมูลทม่ี ลี กั ษณะเปน็ รูปภาพ คือ ข้อมูลท่ีใช้ในการสื่อสารด้วยภาษาพูด รูปจาลองรปู วาด หรือกราฟต่างๆ เสียงร้อง เสียงคุยสนทนากัน โดยท่ัวไป มักจะใช้ข้อมูลหลายประเภทควบคู่กันไป ในการส่อื สารและปฏบิ ัติงาน
การแบ่งปนั ขอ้ มลู (Sharing) คือ การนาความรู้ ข้อมลู หรือส่งิ ตา่ งๆ ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์จรงิ หรือการคน้ ควา้ มาบอกต่อไปยังผ้อู น่ื ซึ่งปัจจบุ ันการแบง่ ปันขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทาไดง้ า่ ยและกลายเป็นสว่ นหนึง่ ในชีวิตประจาวันไปแลว้ การแบ่งปันข้อมลู การแบง่ ปนั ความรู้ การแบง่ ปนั สารสนเทศ การแบ่งปนั ขา่ วสาร การเขียนข้อมูลลงบลอ็ ก การแบง่ ปันความคดิ
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนาเสนอ เป็นการนาหลกั การของการใชส้ อื่ สารสนเทศและระบบต่างๆ มาใชใ้ นการนาเสนองาน เพ่อื ให้ผู้ฟงั และผู้ชมจะสามารถจดจาเนอ้ื หาสาระ ตา่ ง ๆ ไดน้ านและเข้าใจในเน้อื หาได้ดีมากขึน้ ซึ่งสามารถนาเสนอออกมาในรปู แบบตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การเขยี นบลอ็ ก บล็อก (blog) เป็นคารวมมาจากคาว่า เว็บบล็อก (weblog) เป็นรูปแบบ เวบ็ ไซตป์ ระเภทหนง่ึ ซง่ึ ถูกเขียนข้ึนในลาดบั ทเ่ี รยี งตามเวลาในการเขยี น ซง่ึ จะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้ลาดับแรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลงิ ก์ ซ่งึ อาจจะรวมถึงส่อื ต่างๆ การเขยี นบล็อกท่นี ่าสนใจจะตอ้ งประกอบด้วยภาพ และขอ้ ความทสี่ อื่ ความหมายชดั เจน
แนวคิดและวธิ กี ารเขียนบทความบนบลอ็ ก กาหนดเปา้ หมายหรอื วตั ถุประสงค์ของการเขยี นบล็อก คน้ หาข้อมลู กอ่ นลงมอื เขยี น ต้งั ชื่อหวั ขอ้ ให้มีความนา่ สนใจ กาหนดเค้าโครงของบทความ เขียนบทนา ขนาดของบทความ เรียนรูก้ ฎพนื้ ฐานด้านโครงสร้างของเว็บไซต์ ตกแต่งบทความใหน้ ่าอา่ น รจู้ กั โฆษณาเผยแพรบ่ ทความใหค้ นเหน็ เขียนบทความใหม่ๆ อย่างตอ่ เน่ืองและสมา่ เสมอ
2. การสตรีมมงิ การฟังเพลงออนไลน์ การรบั สง่ สัญญาณ ถ่ายทอดไฟล์มลั ติมเี ดยี ทัง้ ภาพและเสยี งผ่านเครือข่าย ระบบอินเทอร์เน็ตด้วยการใช้เทคโนโลยีอันทันสมัยให้เข้าถึงยังอุปกรณ์ ต่าง ๆ ได้ง่ายดายมากข้ึน ทาให้เราสามารถรับชมวิดีโอทั้งหมดที่ถูก ส่งผ่านอินเทอร์เน็ต มายังอุปกรณ์ของเราโดยไม่ต้องมีการดาวน์โหลดจน ครบไฟล์ การไลฟ์สดผา่ นทาง facebook และ youtube การชมภาพยนตรอ์ อนไลน์
3. การใชภ้ าพอินโฟกราฟกิ คาว่า อินโฟกราฟิก (infographics) หรืออินฟอร์เมชันกราฟิก (information graphics) เป็นการแสดงผลของข้อมูล โดยใชภ้ าพท่ผี อู้ า่ นสามารถศึกษาและเกิดความเขา้ ใจง่ายขนึ้ งานกราฟิกประเภทนี้นยิ มใชส้ าหรับขอ้ มลู ท่มี คี วามซบั ซอ้ น ตัวอย่างภาพอนิ โฟกราฟิก การเขียนบลอ็ ก ตวั อย่างภาพอนิ โฟกราฟกิ บทความท่ดี ีตอ้ งครอบคลุมใจความสาคัญ ขา่ วที่ดี ควรมีบทนาท่ดี งึ ดูดความสนใจ ที่ตอ้ งการนาเสนอ
หลักการออกแบบภาพอินโฟกราฟกิ สามารถแบง่ ออกได้ 4 ด้าน ดังน้ี • ดา้ นการเตรียมข้อมูล เมอื่ รูข้ อบเขตของเร่ืองที่จะออกแบบอนิ โฟกราฟิกแลว้ ใหเ้ ตรียมหา ข้อมลู ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั เนอื้ หาจากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ • ดา้ นการวางแผนนาเสนอขอ้ มูล ตอ้ งการนาเสนออินโฟกราฟกิ ออกมาในรูปแบบใด เพ่อื ให้ผ้ใู ช้สามารถอ่านเนือ้ หาจากภาพแลว้ เกดิ ความเขา้ ใจไดง้ า่ ยและรวดเร็วขึ้น • ดา้ นการลงมือออกแบบ เปน็ การออกแบบช้ินงานตามแนวคิดที่ได้เลอื ก โดยการออกแบบ ตอ้ งมรี ปู แบบ แบบแผน โครงสร้างและความสวยงาม โดยออกแบบใหเ้ ขา้ ใจง่าย ใชง้ านง่าย • ด้านการปรับปรุงให้ดขี นึ้ เปน็ ขัน้ ตอนหลงั จากสร้างอนิ โฟกราฟิกเสร็จเรยี บร้อยแลว้ และนาไปเสนอกับกล่มุ เปา้ หมายเพ่ือดูวา่ ควรมกี ารปรับปรงุ ในส่วนใดบา้ ง
การนาเสนอและแบ่งปนั ข้อมลู อย่างปลอดภยั ความเป็นส่วนตวั เกีย่ วกบั ขอ้ มูล (Data Privacy) เป็นการใหค้ วามค้มุ ครองข้อมูลสว่ นบุคคล โดยการวางหลักเกณฑเ์ กี่ยวกบั การเก็บรวบรวมและการบรหิ ารจดั การข้อมลู สว่ นบคุ คล ความเป็นส่วนตวั ในชวี ิตร่างกาย (Bodily Privacy) เป็นการใหค้ วามคุ้มครองในชวี ติ รา่ งกายของบคุ คลในทางกายภาพ ทจ่ี ะไมถ่ ูกดาเนนิ การใด ๆ อันละเมดิ ความเป็นส่วนตวั เชน่ การทดลองยา การทดลองทางพันธุกรรม ความเป็นส่วนตัวในการติดตอ่ สื่อสาร (Communication Privacy) เป็นการใหค้ วามคุ้มครองในความปลอดภัยและความเปน็ สว่ นตวั ในการตดิ ต่อส่อื สารทางจดหมาย โทรศัพท์ หรือวธิ ีการตดิ ต่อ สือ่ สารอน่ื ใดท่ีผ้อู นื่ จะล่วงรมู้ ิได้ ความเป็นส่วนตวั ในเคหสถาน (Territorial Privacy) เป็นการกาหนดขอบเขตหรอื ขอ้ จากัดที่บุคคลอืน่ จะบุกรกุ เข้าไปในสถานทสี่ ่วนตวั มไิ ด้
แนวทางการพัฒนาคุ้มครองความเปน็ ส่วนตัว การพฒั นาคุม้ ครองความเป็นสว่ นตวั เปน็ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งแม่นยาของขอ้ มูลและความลบั ของขอ้ มลู โดย มรี ายละเอยี ด ดังน้ี ความถกู ต้องแมน่ ยาของขอ้ มลู ความลบั ของข้อมูล ข้อมลู สว่ นตัว ควรจะไดร้ ับการตรวจสอบกอ่ น ควรมมี าตรการป้องกันความปลอดภยั ของข้อมูล จะนาเขา้ สู่ฐานขอ้ มูล บคุ คล ไมว่ า่ จะเป็นทางดา้ นเทคนิคและการบรหิ าร ข้อมลู ควรมคี วามถูกต้องแม่นยาและมคี วามทันสมยั บคุ คลที่ 3 ไม่สมควรไดร้ บั อนุญาตใหเ้ ข้าถึงข้อมลู แฟม้ ข้อมลู ควรทาให้บุคคลสามารถเขา้ ถงึ (ข้อมูลของ โดยปราศจากการรบั รหู้ รืออนุญาตของเจา้ ของ ตน) และตรวจสอบความถกู ตอ้ งได้ ยกเว้นโดยขอ้ กาหนดของกฎหมาย
จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกาหนดข้นึ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิ หรือควบคมุ การใช้ระบบคอมพวิ เตอร์ และสารสนเทศ ในทางปฏบิ ตั แิ ล้วการระบวุ ่าการกระทาสิ่งใดผิดจรยิ ธรรมน้ัน อาจกล่าวได้ไม่ชดั เจนมากนัก ทัง้ น้ี ย่อมขึน้ อยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแตล่ ะประเทศดว้ ย จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติทผ่ี ู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกาหนดขึ้น เพ่ือรักษาและ ส่งเสริมเกียรตคิ ุณชื่อเสยี งและฐานะของสมาชกิ อาจเขยี นเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร การซอื้ ของออนไลนโ์ ดยการใส่ขอ้ มูลบัตรเครดติ บนเว็บไซต์อาจทาให้ถกู โจรกรรมข้อมลู บนระบบเครือข่ายได้
โดยทั่วไปเมือ่ พิจารณาถงึ จรยิ ธรรมท่ีเก่ยี วกับการใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศแลว้ จะกล่าวถึงใน ท่รี ู้จักกนั ในลกั ษณะตัวย่อวา่ PAPA ประกอบด้วย ความเปน็ สว่ นตวั ความถกู ต้อง (Information Privacy) (Information Accuracy) หมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง และเป็นสิทธิท่ี หมายถึง ความน่าเช่ือถือได้ของข้อมูล ซ่ึงจะข้ึนอยู่กับความ เจ้าของสามารถท่ีจะควบคุมข้อมูลของตนเองในการ ถูกต้องในการบันทึกข้อมูล ในการจัดทาข้อมูลและสารสนเทศ เปิดเผยใหก้ ับผู้อน่ื สิทธินี้สามารถใช้ได้ครอบคลุมท้ัง ให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการ ปจั เจกบุคคลและกลุ่มบคุ คล ตรวจสอบความถูกต้องกอ่ นทจ่ี ะนาเขา้ ฐานขอ้ มลู ความเปน็ เจ้าของ การเข้าถงึ ขอ้ มูล (Information Property) (Data Accessibility) หมายถึง กรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพย์สินซึ่งอาจ หมายถงึ ระบบคอมพิวเตอร์มกั จะมีการกาหนดสิทธิตาม เป็นทรัพย์สินทั่วไปท่ีจับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ ระดบั ของผใู้ ชง้ าน เพ่ือเป็นการป้องกนั การเขา้ ไปดาเนนิ การ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ต่างๆ กับขอ้ มูลของผใู้ ชท้ ีไ่ ม่มีสว่ นเกี่ยวข้อง และเปน็ การ รักษาความลับของข้อมลู
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเรียกกันวา่ กฎหมายไอที ซง่ึ มีการตรากฎหมายข้ึนใช้บังคับ เม่อื วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2541 คณะรฐั มนตรีไดเ้ ห็นชอบต่อการจัดทาโครงการพฒั นาคณะรฐั มนตรีได้เห็นชอบต่อการจัดทาโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่เี สนอโดยกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม และเห็นชอบให้คณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหง่ ชาติ เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการไอทแี หง่ ชาติ หรือ กทสช. (NITC) กฎหมายเก่ยี วกบั ลายมือ กฎหมายเกย่ี วกับการกระทาผิด ช่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ กฎหมายเก่ยี วกับธรุ กรรม กฎหมายเทคโนโลยี กฎหมายเกี่ยวกบั การโอนเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สารสนเทศ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับการคมุ้ ครอง กฎหมายเก่ียวกับการพัฒนาโครงสรา้ ง ขอ้ มูลส่วนบุคคล พน้ื ฐานสารสนเทศใหท้ ว่ั ถงึ และเทา่ เทียมกนั
สรปุ ไดว้ ่า • การนาเสนอข้อมูลเป็นการนาเอาข้อเท็จจริงของข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาจัดให้เป็นระเบียบ และสามารถอ่าน รายละเอียด หรอื เปรียบเทยี บข้อเท็จจรงิ ของข้อมลู เหลา่ นั้นไดอ้ ย่างถูกต้อง • การนาเสนอหรือแบง่ ปนั ข้อมลู ท่ีเป็นเทจ็ อาจจะส่งผลเสียต่อตนเองและผู้อ่ืน ทาให้เกิดการหลงเช่ือข้อมูลที่ผิด โดยขาด การไตร่ตรอง หรือโดนหลอกทาให้เสือ่ มเสียชือ่ เสียงและทรพั ยส์ ินต่างๆ ได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: