Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Cold War

Cold War

Published by Guset User, 2022-02-23 07:03:52

Description: สงครามเย็น

Search

Read the Text Version

นวัตกรรม ประวัติศาสตร์ เรื่อง สงครามเย็น

สารบัญ ความหมายของสงครามเย็น 2 ความหมายของสงครามเย็น 3 สาเหตุ ช่วงเวลาของสงครามเย็น 6 ช่วงเวลาของสงครามเย็น 7 สิ้นสุดสงครามเย็น ภาวะสงครามเย็นใน ภูมิภาคต่างๆ 9 ภาวะสงครามเย็นในยุโรป 10 ภาวะสงครามเย็นในเยอรมนี 11 วิกฤตการณ์เบอร์ลิน 12 กำแพงเบอร์ลิน ภาวะสงครามเย็นในทวีป เอเชีย 14 วิกฤตการณ์เกาหลี 16 ไทยกับเกาหลี 17 วิกฤตการณ์เวียดนาม 19 ไทยกับเวียดนาม วิกฤติการณ์คิวบา ถ่ายภาพโดย เฟลิกซ์ มานซาโน

สารบัญ ผลกระทบของสงครามเย็น ผลกระทบของสงครามเย็น 22 ประเทศไทยกับสงครามเย็น ผลกระทบสงครามเย็นต่อ 24 ประเทศไทย สมาชิก สมาชิก 28

ความหมายของ สงครามเย็น 1

คือสงครามที่มหาอำนาจ 2 ฝ่าย คือ ฝ่าย โลกเสรี นำโดย สหรัฐอเมริกา และฝ่าย โลกคอมมิวนิสต์ นำโดย สหภาพโซเวียต ต่อสู้กันด้วยจิตวิทยา เนื่องจาก อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกัน โดยทั้ง 2 ประเทศมหาอำนาจ แข่งขันกัน หาพันธมิตรร่วมอุดมการณ์ การสะสม อาวุธ การแสวงหาความก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยี และด้านเศรษฐกิจ แม้ทั้ง 2 ประเทศจะไม่ได้ทำสงครามที่สู้รบกันโดย ใช้อาวุธขึ้น แต่ก็เกิดสงครามตัวแทนขึ้น อย่างเช่น สงครามเกาหลี สงคราม เวียดนาม ภายหลังสงครามเย็นจบลง พร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต 2

คำว่า \" เย็น \" ได้ถูกนำมาใช้ เนื่องจากไม่มีการสู้รบขนาด ใหญ่โดยตรงระหว่างสอง มหาอำนาจ แต่พวกเขาแต่ละ ฝ่ายต่างให้การสนับสนุนความขัดแย้งในภูมิภาคที่สำคัญที่ เรียกว่า สงครามตัวแทน (Proxy war) ความขัดแย้งนี้มี พื้นฐานมาจากการต่อสู้ทางอุดมการณ์และภูมิศาสตร์เพื่อ อิทธิพลทั่วโลกโดยสองมหาอำนาจ ภายหลังจากพวกเขา ได้ตกลงเป็น พันธมิตร ชั่วคราวและมีชัยชนะเหนือ นาซี เยอรมนี ในปี ค.ศ. 1945 สงครามเย็นได้แบ่งแยก พันธมิตรในช่วงสงคราม เหลือเพียงสหภาพโซเวียตและ สหรัฐอเมริกาในฐานะที่เป็นสองมหาอำนาจที่มีความแตก ต่างทางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างลึกซึ้ง สาเหตุ สหรัฐอเมริกาได้ประกาศวาทะทรูแมน (Trueman Doctrine) มีสาระสำคัญว่า สหรัฐอเมริกาจะโต้ตอบการคุกคามของ ประเทศคอมมิวนิสต์ทุกรูปแบบและทุกสถานที่ แล้วแต่สหรัฐจะ เห็นสมควร โดยไม่จำกัด ขนาด เวลา และสถานที่ จะให้ความ ช่วยเหลือประเทศต่าง ๆ ให้พ้นจากการคุกคามของลัทธิ คอมมิวนิสต์ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือแก่กรีซและตุรกีเป็น ตัวอย่าง สืบเนื่องมาจากสหภาพโซเวียตเผยแพร่ลัทธิ คอมมิวนิสต์ และแทรกแซงให้ความช่วยเหลือกบฎในตุรกีและ กรีกเพื่อจัดตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ การประกาศวาทะทรูแมนจึง เป็นจุดเริ่มต้นสงครามเย็นที่แท้จริง ต่อมาสหรัฐได้ประกาศ แผนการมาร์แชล(Marshall Plan) เพื่อให้ความช่วยเหลือทาง เศรษฐกิจกับยุโรปตะวันตก 3

1. การเปลี่ยนแปลงดุลทางการเมืองโลก ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ สหรัฐอเมริกาและสหภาพ โซเวียตได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจของโลก แทนที่ เยอรมนี ญี่ปุ่น อังกฤษ ฝรั่งเศส 2. ความแตกต่างในอุดมการณ์ทางการเมืองของ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต การแข่งขันกันแพร่ อิทธิพลจึงเกิดการเผชิญหน้ากันทำให้บรรยากาศ การเมืองของโลกตึงเครียด 3. ความขัดแย้งในนโยบายด้านการต่างประเทศของผู้นำ ทั้งสอง 3.1สหรัฐอเมริกา โดยประธานาธิบดีทรูแมน ดำเนิน นโยบายต่างประเทศที่แข็งกร้าว มุ่งต่อต้านขัดค้าน อิทธิพลของสหภาพโซเวียตเกรงว่าอำนาจคอมมิวนิสต์จะ ครองโลก จึงให้การสนับสนุนรัฐบาลประเทศเสรี ประชาธิปไตยที่อยู่ในเครือและใกล้ชิด สาเหตุ เพิ่มเติม 4

ช่วงเวลาของ สงครามเย็น 5

เป็นช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่2 สหภาพโซเวียตล่มสลาย แต่ช่วงเวลาโดยทั่วไปดังกล่าวจะนับ ตั้งแต่การประกาศ ลัทธิทรูแมน ปี ค.ศ. 1947 จนกระทั่ง การล่มสลาย ของสหภาพโซเวียต ในปี ค.ศ. 1991 6

สิ้นสุดสงครามเย็น ได้มีการประกาศนโยบายกลาสนอสต์ เปเรสตรอยกา ปฏิรูปสหภาพโซเวียตให้เป็น ประชาธิปไตย จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับคอมมิวนิสต์ ระบอบสังคมนิยมในเยอรมนีตะวันออก สิ้นสุดลง ปัญหาเงินเฟ้อรวมถึง การเมืองภายใน สิ้นสุดสงครามที่ยาวนาน กว่า45ปี สหรัฐอเมริกาก้าวขึ้นมา เป็นผู้นำโลก 7

ภาวะสงครามเย็น ในภูมิภาคต่างๆ 8

ภาวะสงครามเย็นในยุโรป •ประเทศในยุโรป แบ่งออกเป็น 2 ฝ่ายชัดเจน •ประเทศในยุโรปตะวันตกเป็นประเทศฝ่าย ประชาธิปไตย •ประเทศในยุโรปตะวันออกเป็นประเทศฝ่าย คอมมิวนิสต์ 9

ภาวะสงครามเย็น ในเยอรมนี 10

วิกฤตการณ์เบอร์ลิน 11

กำแพงเบอร์ลิน 12

ภาวะสงครามเย็น ในทวีปเอเชีย 13

1945 - 1950 14

1950 - 1953 15

16

1965 - 1975 17

1965 - 1975 18

19

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่าง สหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่าย หนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะ กลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่า วิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือน ตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญใน สงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1962 เมื่อภาพถ่าย จากเครื่องบินสังเกตการณ์ ยู-2 ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐาน ปล่อยขีปนาวุธ กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของ ฟิเดล กัสโตร เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของตุรกีและสหภาพโซเวียต ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อม คิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำทะเล แคริบเบียน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 1962 หลังจากการเผชิญหน้า ผ่านการโต้ตอบทางการทูตอย่างดุเดือด ในวันที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1962 ทั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา จอห์น เอฟ. เคนเนดี และนายก รัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต นิกิตา ครุสชอฟ ต่างตกลงยินยอมที่จะ ถอนอาวุธปรมาณูของตนออกจากตุรกีและคิวบาตามลำดับ จากการ ร้องขอของอู ถั่น ซึ่งดำรงตำแหน่งเลขาธิการสหประชาชาติในเวลานั้น 20

ผลกระทบของสงครามเย็น 21

สหรัฐอเมริกาก้าวขึ้นมาเป็น มหาอำนาจของโลก สหรัฐอเมริกาและอังกฤษได้จัดตัง รัฐบาล ประชาธิปไตยขึ้นในประเทศ อารักขาที่มี พรมแดนติดต่อกับเขต ยึดครองของสหภาพ โซเวียต ความขัดแย้งของสงครามเย็นส่งผลให้ ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่มีอุดมการณ์ต่างกัน กองทัพของ ประเทศเกาหลีเหนือซึ่งปกครองในระบอบ คอมมิวนิสต์ได้ เข้ารุกรานประเทศ เกาหลีใต้อย่างฉับพลัน การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์เข้ามา ในอินโดจีน ทำให้สหรัฐอเมริกานำ นโยบายล้อมกรอบการขยายตัวของลัทธิ คอมมิวนิสต์มาใช้ในเอเชีย 22

ประเทศไทยกับ สงครามเย็น 23

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โลกได้เข้าสู่ยุคสงครามทางอุดมการณ์ระหว่าง ค่ายคอมมิวนิสต์ที่มีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำ กับค่ายทุนนิยมเสรีที่มี สหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ถูกเรียกขานกันในนามว่า “สงครามเย็น” ประเทศไทย เข้าไปพัวพันกับสงครามเย็นอย่างลึกซึ้งผ่านสงครามอินโดจีน บวกกับการเข้า มาของทหารสหรัฐฯ จำนวนมากเพื่อตั้งฐานทัพในประเทศ สงครามอินโดจีน คืออะไร? สงครามอินโดจีน (Indochina War) เป็นการต่อสู้กันที่เกิดขึ้นในแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างกองกำลัง อินโดจีนคอมมิวนิสต์ กับ ฝรั่งเศส เวียดนามใต้ กัมพูชา ลาว จีน และ สหรัฐอเมริกาที่เข้ามาร่วมในสงคราม ช่วง ค.ศ. 1950 โดยสงครามนี้ยังถูก เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “สงครามเวียดนาม” โดยแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ได้แก่ สงครามอินโดจีนครั้งที่ 1 และสงคราม อินโดจีนครั้งที่ 2 ซึ่งเหตุการณ์นี้ได้ยุติ ลงในเดือนเมษายน 1975 พ.ศ.2492 เกิดการปฏิวัติสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลไทยได้ นำพาประเทศเข้าไปผูกพันกับสหรัฐฯ มากขึ้น มีการสร้างกลไกและหน่วยงานต่าง ๆ ขึ้นมามากมาย เพื่อต่อต้าน พ.ศ.2495 ออกกฎหมายป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ 24

เมื่อจอมพลสฤษดิ์ขึ้นมามีอำนาจหลังทำรัฐประหารยึดอำนาจของจอมพล ป. พิบูลสงคราม นโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์และระดับความสัมพันธ์กับรัฐบาล อเมริกันก็ได้พัฒนาไปอย่างลึกซึ้งในระดับที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน โดยสฤษดิ์ได้จัดระบบใน สำนักนายกรัฐมนตรีใหม่เพื่อ กระชับอำนาจในการวาง นโยบายและควบคุม ข้าราชการให้เข้ามาอยู่ใน ความดูแลของนายกรัฐมนตรี อย่างเต็มที่ ส่งผลให้นโยบาย การต่อต้านปราบปราม คอมมิวนิสต์ถูกรับไปปฏิบัติ โดยหน่วยงานต่าง ๆ อย่างมี เอกภาพมากขึ้น สถานการณ์การลุกขึ้นของขบวนการประชาชนในอินโดจีน ทฤษฎีโดมิโน ทำให้ไทยมีความสำคัญต่อการวางนโยบายของสหรัฐฯ เป็นทฤษฎีทางนโยบายด้าน การต่างประเทศ อุปมาขึ้น มากยิ่งขึ้นตามทฤษฎี “โดมิโน” ซึ่งจะต้องปกป้อง จากลักษณะของเกม ไพ่ต่อ แต้ม ซึ่งถ้ามีไพ่ล้มหนึ่งใบ ไทยไม่ให้กลายเป็นประเทศ สหรัฐฯ ไพ่ใบอื่น ๆ ก็จะล้มเป็นแถบ คอมมิวนิสต์รายต่อไป ติดต่อเป็นลูกโซ่ ทฤษฎีโดมิโนหมายความว่า -ได้ส่งกำลังอาวุธจให้ไทย ถ้าประเทศหนึ่งหันไปใช้ -ช่วยฝึกทหารไทยและให้ความช่วยเหลือ ระบอบการปกครองแบบ คอมมิวนิสต์ จะส่งผลให้ ด้านการทหารเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ประเทศรอบข้างก็จะเอาอย่าง -สหรัฐฯผลักดันให้มีการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อ ตามไปด้วย เรียกว่า “ผลกระทบแบบโดมิโน” ทำให้เศรษฐกิจเติบโตขึ้นบนพื้นฐานทุนเอกชน -สนับสนุนช่วยให้ผู้นำทางการทหารมีอำนาจเพื่อจะได้มี 25 รัฐบาลที่เข้มแข็ง ทำให้พวกตนได้รับเงินสนับสนุนและ ตอบแทนมากขึ้นเท่านั้น เมื่อจอมพลสฤษดิ์ทำการปฏิวัติและประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญในปี 2501 สหรัฐฯ ก็ออกแถลงการณ์ว่า การรัฐประหารที่เกิดขึ้นจะ กระทบกระเทือนความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหรัฐฯ

เกิดสงครามกลางเมืองในลาว รัฐบาลไทยให้ความร่วมมือกับรัฐบาลสหรัฐฯ ตั้ง ค่ายทหารฝึกชนเผ่าแม้วเพื่อรบให้ฝ่ายขวาของลาว ฝึกหน่วยพลร่วมและนักบิน รัฐบาลไทยยังได้สนับสนุนการขนส่งเสบียงและ ยุทธสัมภาระในการสู้รบ ยินยอมให้สหรัฐฯ ส่งเครื่องบินจากฐานทัพในไทย ไปลาดตระเวนทางอากาศเหนือดินแดนของลาว ไทยก็ได้ส่งกองทหารเข้าไปใน ลาวภายใต้แผนยุทธศาสตร์ของ สหรัฐฯ ปฏิบัติการในลาวส่งผลให้ความร่วมมือทางด้านความมั่นคง ระหว่างไทยกับสหรัฐฯ กระชับมากยิ่งขึ้น จนมีการออก “แถลงการณ์ร่วมถนัด-รัสก์” เมื่อเดือนมีนาคม 2505 ซึ่ง ผูกมัดว่า สหรัฐฯ จะช่วยเหลือไทยทันทีเมื่อถูกรุกราน 26

สถานการณ์วิกฤตในเวียดนามและการเข้าไปพัวพันในสงครามเวียดนาม ของสหรัฐฯ ก็ยิ่งทำให้ความร่วมมือระหว่างไทยกับสหรัฐฯ เข้มข้นที่สุดใน ระดับที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน สหรัฐฯ ได้เข้ามาสร้างและ เป็นฐานสำหรับเครื่องบินขับไล่สู้รบ ขยายปรับปรุงฐานทัพในประเทศ ทางอากาศและเครื่องบินทิ้งระเบิด หลายแห่ง เพื่อสนับสนุนการขนส่ง และเป็นฐานสำหรับควบคุมสงคราม ปฏิบัติการด้านข่าวกรองและระบบ สู้รบทางอิเลกทรอนิกส์ เตือนภัย -ติดตั้งระบบควบคุมอากาศยานและระบบเตือนภัยที่สนามบิน ดอนเมือง -ปี2504 สร้างสนามบินที่ตาคลี นครสวรรค์ -ปี2505 มีการพัฒนาฐานทัพที่โคราช -ปี2506 มีการปรับปรุงฐานทัพอากาศที่นครพนม -ปี2507 ฐานทัพที่อุดรธานี ซึ่งเป็นกองบัญชาการของกองทัพ อากาศสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย ถูกสร้างขึ้น -ปี2509 ฐานทัพที่อู่ตะเภาสร้างเสร็จ -ปี2525 มีการปรับปรุงสนามบินที่ อ. น้ำพอง จ. ขอนแก่น เพื่อ รองรับหน่วยบินทิ้งระเบิดของสหรัฐฯ ที่ย้ายมาจากเวียดนาม มีการสร้างและปรับปรุงท่าเรือที่ มีเครื่องมือสื่อสารและการข่าวทัน สัตหีบสำหรับเรือรบ สมัยที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีการติดตั้งสถานีเรดาร์หลายจุดเพื่อ และใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกในขณะ สืบหาและจารกรรมข้อมูลข่าวสาร นั้น ทุกอย่างในค่ายเป็นความลับสุด โดยสถานีเรดาร์ ยอด เจ้าหน้าที่ของไทยไม่ได้รับ อนุญาตให้เข้าไปในบริเวณดังกล่าว 27

สมาชิก นายธนกร เพิ่มพูล นายพิสิฐ ดีไร่ เลขที่7 เลขที่14 นางสาวณฐนนท สิงห์นันท์ เลขที่24 นางสาวสิรินภา สุขศรี นางสาวสุทธิกาญจ์ สมประสงค์ เลขที่32 เลขที่33 28

THE | END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook