Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิไลพร-ขยันกิจเพิ่มพูน

งานวิไลพร-ขยันกิจเพิ่มพูน

Description: งานวิไลพร-ขยันกิจเพิ่มพูน

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอื่ การจัดการอาชีพ เสนอ อาจารยเ์ กสร เทียนใต้ จัดทาโดย นางสาววไิ ลพร ขยันกจิ เพิ่มพูน นักศกึ ษาพาณิชยกรรม ปวส.107 สาขาเทคโนโลธรุ กิจดจิ ิทัล รหสั นักศึกษา 6332041002 รายงานเล่มน้เี ป็นส่วนหนงึ่ ของวิชาเทคโนโลยดี ิจิทัลเพือ่ การจดั การอาชีพ ภาคเรียนที่ 1/2563 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเถินเทคโนโลยี อ.เถนิ จ.ลาปาง

ก คานา รายงานเล่มน้ีเปน็ ส่วนหนงึ่ ของวชิ าเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอ่ื การจดั การอาชพี ช้ันปวส.1 เพอ่ื ให้ไดศ้ ึกษาหา ความรใู้ นเร่อื ง เทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื การจัดการอาชีพ และไดศ้ ึกษาอยา่ งเข้าใจเพ่อื ประโยชนก์ บั การเรียน ผู้จดั ทาหวังวา่ รายงานเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ า่ น หรอื นกั เรยี นที่กาลังหาข้อมูลเรื่องนอ้ี ยู่ หากมีข้อแนะนาหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทาขอน้อมรบั ไว้และขออภัยมา ณ ทนี่ ด้ี ว้ ย จดั ทาโดย นางสาววิไลพร ขยันกจิ เพม่ิ พนู

ข หน้าท่ี 1-3 สารบญั 3-6 6-8 เรื่อง 8-13 เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เอการจดั การอาชพี 13-15 ศึกษาและปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ 15-18 องคป์ ระกอบและหน้าท่ี 18-21 ประเภทของสัญญาณ ความหมายของระบบ ประวตั ขิ องเทคโนโลยีดจิ ิทลั คาสัพท์ทีใ่ ช้

1 เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การจัดการอาชีพ 1. เข้าใจเก่ียวกับความรู้พ้ืนฐาน ความหมายองคป์ระกอบ การจดั การข้อการสร้างแบรนธรุ กิจดจิ ิทลั เสนอ อาจารย์ เกสร เทียนใต้ จัดท าโดย นางสาววิไลพร ขยนั กิจเพ่ิมพูน นกั ศึกษาพาณิชยกรรม ปวส.107 สาขาเทคโนโลธุรกิจดิจิทลั รหสั นกั ศึกษา 6332041002 รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของวิชาพืน้ ฐานธุรกิจดิจิทัล ภาคเรียนท่ี 1/2563 วิทยาลยั อาชีวศึกษาเถินเทคโนโลยี อ.เถิน จ.ล าปาง ค าน า รายงานเลม่ นีเ้ ป็ นส ่่วนหนึง่ ของวชิ าการสร้างแบรนธุรกิจดจิ ิทลั ชนั้ ปวส.1 เพอ่ื ให้ได้ศกึ ษาหา ความรู้ในเร่ือง การสร้างแบรนธุรกิจดิจิทลั และได้ศกึ ษาอยา่ งเข้าใจเพอ่ื ประโยชน์กบั การเรียน ผู้ จัดท าหวงั ว่า รายงานเล่มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์กบั ผู้อ่าน หรือนกั เรียนที่ก าลงั หาข้อมูลเรื่องนีอ้ ยู่ หากมีข้อแนะน าหรือ ข้อผิดพลาดประการใด ผ้จู ัดท าขอน้อมรับไว้และขออภยั มา ณ ท่ีนีด้ ้วย จัดท าโดย นางสาววิไลพร ขยนั กิจเพิ่มพนู มูล ขนาดใหญ่(Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง(Internet of Think) เทคโนโลยีท่ีใช้ในการทาธุรกรรมโดยไม่ ต้องผ่าน บุคคลที่สาม (Block chain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือ ครปิ โทเคอรเ์ รนซี (cryptocurrency)ธรุ กิจดิจทิ ลั บนส่อื สงั คมออนไลน์ 2. กรณีศึกษาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเชอื่ มโยงอาชีพ และประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลในอาชพี ยุคดิจิทลั 3. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและความรับผดิ ชอบ ตระหนักถึงการเปน็ พลเมอื งดิจิทัล สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความร้พูื้นฐานเกี่ยวกบัความหมายองคป์ ระกอบ การจดัการขอ้มูลขนาดใหญ่(Big Data) อินเทอร์เน็ต ทกุ สรรพส่งิ (Internet of Think) เทคโนโลยที ี่ใชใ้ นการท าธรุ กรรมโดยไมต่ ้องผ่าน บคุ คลท่สี าม (Block chain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโทเคอร์เรนซี (CryptoCurrency) ธุรกจิ ดิจิทลั บนส่อื สงั คมออนไลน์ และการเชอื่ มโยง เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในอาชีพ 2. กรณศี กึ ษา วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทัล ในจดั การอาชีพ 3. การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลในการจัดการอาชีพ และการเป็ นพลเมอื งดิจิทลั คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับความรู้พ้ืนฐาน ความหมาย องค์ประกอบ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง(Internet of Think) เทคโนโลยีท่ีใช้ในการทาธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่าน บุคคลท่ีสาม (Block Chain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโท เคอร์เรนซี (CryptoCurrency)การทาธุรกิจดิจิทัลบนส่ือสังคมออนไลน์ กรณีศึกษาเทคโนโลยีดิจิทัลเชื่อมโยง อาชีพ และ ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีดิจิทลั ในอาชีพของการเป็นพลเมืองยคุ ดิจิทลั หน่วยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นที่ 1 ความร้พู ื้นฐานการจดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) - ความหมายของ Big Data - องคป์ ระกอบที่สาคญั ของข้อมูล - ลกั ษณะทีส่ าคญั ของ Big Data - ววิ ฒั นาการของ Big Data - รูปแบบของขอ้ มลู Big Data - การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ Big Data

2 - การนา Big data ไปใช้ประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ - กระบวนการจาก Big Data ส่คู วามสัมพันธ์ของข้อมูล - วิธกี ารจดั ทา Big data - Big Data & Data Analytics คอื อะไร - ตัวอย่างการนา Big Data ไปใช้ 2 อินเทอรเ์ น็ตทกุ สรรพสิ่ง (Internet Of Things) - ความหมายของ Internet Of Things - ววิ ฒั นาการของ Internet Of Things - ลกั ษณะการทางานของ Internet Of Things - ประเภทของ Internet Of Things - ส่วนประกอบของ Internet Of Things - ประโยชน์ของ Internet Of Things - ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง Internet Of Things และ Big data - การนา Internet Of Things ไปใชง้ านตา่ งๆ - ผลกระทบทอี่ าจจะเกิดขึน้ - ตวั อยา่ งอุปกรณ์ท่ใี ช้ Internet Of Things - ทักษะท่ีจาเปน็ ของบคุ ลากรดา้ น Internet Of Things 3 เทคโนโลยที ่ใี ช้ในการทาธุรกรรมโดยไมต่ อ้ งผ่านบุคคลทีส่ าม (Blockchain) - ความหมายของ Blockchain - วิวัฒนาการของเทคโนโลยี Blockchain - หลกั การทางานของเทคโนโลยี Blockchain - องค์ประกอบของเทคโนโลยี Blockchain - ประเภทของ Blockchain - รูปแบบของเครอื ข่าย Blockchain 4 ธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ติ อล (Fintech) - ความหมายของ FinTech - วิวัฒนาการดา้ นเทคโนโลยที าง การเงนิ จากอดีต...สปู่ ัจจบุ ันประเภทของ Fintech - ผลสาเร็จของ Fintech - Fintech Revolution - Top 10 Fintech Startup 5 ระบบเงินดิจิทัล สกลุ เงินดจิ ทิ ัล หรอื ครปิ โทเคอร์เรนซี (Cyptocurrency) 6 การทาธรุ กจิ ดจิ ทิ ัลบนส่ือสงั คมออนไลน์ (Online Business)

3 7ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับความรู้พ้ืนฐาน ความหมาย องค์ประกอบ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง (Internet of Think) เทคโนโลยีท่ีใช้ในการทาธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่าน บุคคลท่ีสาม (Block Chain) ธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) ระบบเงินดิจิทัล สกุลเงินดิจิทัล หรือ คริปโท เคอร์เรนซี (CryptoCurrency) การทาธุรกิจดิจิทัลบนส่ือสงั คมออนไลน์ กรณีศึกษาเทคโนโลยีดจิ ิทัลเช่ือมโยง อาชีพ และ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล การป1. เข้าใจเก่ียวกับคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์โทรคมนาคมระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ การสืบค้นและสื่อสารข้อมูลสารสนเทศใน งานอาชีพ 2. สามารถสบื ค้น จัดเก็บ ค้นคนื สง่ ผ่าน จดั ดาเนนิ การขอ้ มูลสารสนเทศ นาเสนอและสอ่ื สารข้อมูลสารสนเทศ ในงานอาชพี โดยใชค้ อมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคมและโปรแกรมสาเร็จรูปทเี่ ก่ยี วข้อง 3. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรับผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชีพ 1.แสดงความร้เู กย่ี วกับหลักการและกระบวนการสบื ค้น จดั ดาเนินการและสื่อสารข้อมลู สารสนเทศใน งานอาชีพ โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ อปุ กรณ์โทรคมนาคมระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ และโปรแกรม สาเรจ็ รูปทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2.ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคมในการสืบค้นและส่ือสารข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ 3.จดเก็บ ค้นคนื ส่งผา่ นและจัดดาเนนิ การขอ้ มลู สารสนเทศตามลักษณะงานอาชีพ 4.นาเสนอและสื่อสารข้อมูลสารสนเทศในงานอาชีพโดยประยกุ ต์ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูป ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์โทรคมนาคม ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บ ค้นคืน ส่งผ่านและจัดดาเนินการข้อมูลสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ โปรแกรมสาเร็จรปู ในการนาเสนอและสือ่ สารขอ้ มูลสารสนเทศตามลักษณะงานอาชีพ 1.ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเก็บและ จาข้อมูลรวมถึงชุดคาส่ังในการทางานได้ทาให้สามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ ด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการคานวณหรือทางานต่าง ๆ ไดเ้ กอื บทกุ ชนิดทุกประเภทและแสดงผลลัพธอ์ อกมาในรูปแบบ ตา่ ง ๆไดอ้ ย่างรวดเรว็ ถูกตอ้ ง คอมพวิ เตอรม์ าจากรากศพั ท์ภาษาลาตินวา่ Computer พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน (2540) ไดบ้ ญั ญัติไว้วา่ Computer : คอมพิวเตอร์,คณติ กรณ์ หมายถึง เครอ่ื งคานวณหรือผู้คานวณ มีหนา้ ที่คานวณและเปรยี บเทียบ (ประมวลผลขอ้ มูล) ตามคาสั่งที่มนุษยจ์ ัดเตรียม ไว้ในรูปแบบของโปรแกรมหรือชุดคาสง่ั ต่าง ๆ

4 คณุ สมบัตเิ ฉพาะของคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีสามารถคานวณได้ เช่น ลูกคิด เครื่องคิดเลข แต่คอมพิวเตอร์มี ความแตกตา่ งจากอปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการคานวณโดยทวั่ ไปคือ 1. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีมีหน่วยคานวณและปฏิบัติการทางตรรกยะซ่ึงประกอบด้วยวงจรไฟฟ้า มากมาย ดงั นนั้ การคานวณเปรียบเทียบจึงสามารถทาได้อย่างรวดเรว็ 2. คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจาภายในเครื่อง ที่สามารถเก็บข้อมูลซึ่งอาจเป็นข้อความ ตัวเลข รูปภาพ ไว้ใน หนว่ ยความจาภายในเครอ่ื งเพื่อประโยชน์ในการเรยี กใช้ขอ้ มลู ปัจจุบนั หรอื เรยี กใชใ้ นภายหลงั ได้ 3. ผู้ใช้สามารถใช้ชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่บอกข้ันตอนท่ีคอมพิวเตอร์ต้องทางานโดยเรียงลาดับการทางาน กอ่ นหลงั หรอื วิธีการประมวลผล ซึง่ คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาส่ังที่อยู่ในโปรแกรมน้นั อย่างอัตโนมัติ กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ กระบวนการทางานของคอมพวิ เตอร์ มี 3 ข้นั ตอน คือ 1. รับเข้า (Input) คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลเข้ามา แล้วปฏิบัติตามคาส่ังข้อมูลน้ัน อาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหวและเสียง 2. ประมวลผล (Process) คอมพิวเตอร์จะทาการคานวณ เปรียบเทียบ วิเคราะห์ โดยการใช้คาสั่งหรือ โปรแกรมท่ีเขียนข้นึ 3. ส่งออก (Output) คอมพิวเตอร์จะนาผลที่ทาการประมวลผลเสร็จเรียบร้อยมาแสดงในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือใหส้ ่ือความหมายและนาไปใช้ประโยชนไ์ ดง้ า่ ย ประเภทของคอมพวิ เตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคมีความสามารถแตกต่างกัน การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์จึงต้องอาศัย การแบ่งประเภทของเครอื่ งท่อี ยูใ่ นยุคเดยี วกัน ซึง่ มีวธิ ีการแบง่ 3 วธิ ี ดังน้ี 1. แบง่ ตามวธิ ีการประมวลผล 2. แบ่งตามวตั ถุประสงคข์ องการใชง้ าน 3. แบ่งตามขนาดของคอมพิวเตอร์ สาหรับการเรียนรู้เนื้อหาน้ีจะแบ่งคอมพิวเตอร์ตามวิธีท่ี 3 คือแบ่งตามขนาดของคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถแบ่ง ได้ดังนี้ 1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพและขีดความสามารถสูงมาก สามารถต่อพ่วงไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ ราคาค่อนข้างสูงเพราะการออกแบบและการผลิตต้องใช้ความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีมาก นิยมใช้ในงานส่งดาวเทียมและยานอวกาศ สาหรับประเทศไทยมีใช้ที่กรมอุตุอนิยมวิทยา ศนู ย์เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เปน็ ตน้ 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่สามารถใช้งานกับข้อมูล จานวนมาก ๆ ได้ดีกว่าคอมพิวเตอร์แบบอ่ืน ๆ สามารถเชื่อมต่อไปยังปลายทางได้ ทางานพร้อมกันได้หลาย งาน และใช้ได้หลายคนพร้อม ๆ กัน ตัวอย่างเคร่ืองเมนเฟรมท่ีใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ เครื่องรับจ่ายเงิน อัตโนมัต/ิ ตู้เอทีเอ็ม (ATM) ของธนาคาร

5 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางส่วนมากใช้กับหน่วยงานธุรกิจขนาดเล็ก และมีราคาถูกลง สามารถทางานได้หลายงานพร้อมกันเหมือนเคร่ืองเมนเฟรม แต่ขีดความสามารถในการต่อ พ่วงน้อยกว่า หน่วยงานที่ใช้ส่วนใหญ่ได้แก่ กอง กรม มหาวิทยาลัย บริษัทห้างร้าน ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล เปน็ ต้น 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้กันท่ัวไปและนิยมมากท่ีสุดใน ปัจจุบัน หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) คนท่ัวไปนิยมเรียกว่า พีซี (PC) ใช้ตัวประมวลผลแบบชิพ (Chip) เป็นองค์ประกอบหลัก คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลนั้นยังสามารถ แบง่ ย่อยตามลักษณะประเภท ได้ดังน้ี 4.1 คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลชนิดต้ังบนโต๊ะหรือพ้ืน ตัวเครื่องมีลักษณะเป็นกล่องขนาดใหญ่ต้ังบนโต๊ะทางานมีสายเชื่อมโยงไปยังจอภาพ ซ่ึงตั้งอยู่บนโต๊ะทางาน พร้อมแผงแป้นอักขระและเมาส์ นิยมใช้ในหน่วยงานทั่วไป เช่นห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ร้านอินเทอร์เน็ต ตามบา้ นท่วั ๆ ไป เนือ่ งจากราคาไมแ่ พงจนเกนิ ไป 4.2 คอมพิวเตอร์แบบวางตัก/แล็ปทอป (Laptop Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบกระเป๋าห้ิว สามารถพกพาไปไหนมาไหนได้สะดวก ในเวลาอาจใช้วางบนตักได้ (Lap แปลว่า ตัก) คอมพิวเตอร์รุ่นนี้มี แบตเตอร่ีไฟฟ้าสารองในตัว ใช้จอภาพผลึกเหลวซ่ึงเรียกว่า แอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) ใน ปจั จบุ นั ไมค่ อ่ ยไดร้ บั ความนยิ ม 4.3 คอมพวิ เตอร์ขนาดสมุดบันทกึ (Notebook) เป็นคอมพวิ เตอรข์ นาดเล็กมาก มขี นาดเล็กเทา่ หนงั สือขนาด ใดก็ได้ สามารถพกพาไปไหนมาไหนได้สะดวก มีแบตเตอร่ีในตัวและสามารถพ่วงต่อกับโทรศัพท์เพ่ือรับส่ง ข้อมลู ในระยะไกลได้ คอมพิวเตอร์รนุ่ นใ้ี นปัจจบุ ันไดร้ บั การพฒั นาไปมากและเปน็ ทน่ี ิยมใช้กนั เป็นอยา่ งมาก 4.4 คอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามอื (Palmtop Computer) เป็นคอมพวิ เตอร์ทีม่ ขี นาดเล็ก สามารถวางบนฝา่ มือแต่ ไมค่ อ่ ยได้รบั ความนิยมมากนัก เนื่องจากแป้นอกั ขระ รวมท้งั จอภาพมีขนาดเลก็ เกินไป ไมส่ ะดวกต่อการใช้งาน แตเ่ หมาะสาหรบั การเกบ็ บนั ทึกส่วนตวั เชน่ หมายเลขโทรศัพท์หรอื บนั ทกึ ช่ือเพอ่ื น หรอื รายละเอียดสว่ นตัว 4.5 คอมพิวเตอร์ขนาดมือถือ (Handheld Computer) เปน็ คอมพิวเตอร์ที่มขี นาดเล็กถือด้วยมือ จอภาพเล็ก ปกตินิยมใช้เพื่อการบันทึกตัวเลขมาตรไฟฟ้า มาตรน้าประปาโดยพนักงานจะถือคอมพิวเตอร์ไปอ่านมาตรวัด แล้วกดป่มุ บนั ทกึ ในหน่วยงานขนาดใหญจ่ ะใช้ในการตรวจนับสินค้า 4.6 คอมพิวเตอร์แบบพีดีเอหรือเคร่ืองช่วยงานบุคคลแบบดิจิทัล (PDA : Personal Digital Assistant) คอมพิวเตอร์แบบพีดีเอ สามารถพกพาได้อย่างสะดวก ใช้ปากกาแสง (Light Pen) เขียนข้อมูลบนหน้าจอ บางคร้ังใชป้ ากกาแสงเป็นอุปกรณ์เพ่ือเลือกทางานบนหน้าจอเหมือนกับสมุดบันทึก ภายในเครือ่ งมโี ปรแกรมท่ี อ่านลายมือ เมื่อเขียนแล้วเปล่ียนเป็นตัวอักษรได้โดยใช้ปากกาพิเศษ ปัจจุบันยังไม่นิยมมากนักเน่ืองจากราคา ยงั แพง 2. อุปกรณ์โทรคมนาคม โทรคมนาคม (Telecommunications) หมายถึง การสื่อสารข้อมูลระยะทางไกลในรูปแบบสัญญาณ อีเล็กทรอนิกส์ ซึ่งในอดีตโทรคมนาคมให้บริการในรูปแบบของสัญญาณเสียงผ่านสายโทรศัพท์ที่เรียกกันว่า

6 สัญญาณในระบบ อนาลอก (Analog Signal) แต่ในปัจจุบันสัญญาณโทรคมนาคมกาลังจะกลายเป็นการ ถา่ ยทอดสญั ญาณในรูปแบบ ดจิ ติ อล (Digital Signal) ทงั้ หมด ระบบโทรคมนาคมเป็นระบบใหญ่ที่มักผูกขาดโดยองค์กรของรัฐในเกือบทุกประเทศทั่วโลก ดังเช่น ใน ประเทศไทย ได้แก่ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ซ่ึงได้แปรรูปกิจการมาเป็นบริษัท ศท.คอร์เปอเรชั่น จากัด (มหาชน) แล้ว เพ่อื ให้เกิดการแข่งขนั ที่เสรีกับองค์กรผู้ใหบ้ ริการโทรคมนาคมเอกชนอ่ืนๆ ทเ่ี ตบิ โตข้ึนมา โดยลาดับ เพ่ือการขยายตัวท่ีดขี ้ึนในภมู ิภาค และเป็นกิจการสาธารณะท่ีสามารถเปิดให้บรกิ ารได้อย่างเสรีรวม ไปถึงการเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เนตกับประเทศอื่นๆในภูมิภาคด้วย จะนามาซ่ึงการให้บริการที่หลากหลายใน ด้านการส่ือสารข้อมูล โดยเฉพาะการสร้าง ถนนสายด่วนข่าวสาร (Information Super-Highway) เช่น การ โทรคมนาคมผ่านเครือข่ายสื่อสารระบบดิจิตอลความเร็วสูง ที่สามารถให้บริการทางการศึกษา ค้นคว้าวิจัย สันทนาการ และการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในระดับชาติ ระดับภูมิภาค ตลอดจนระดับโลก และจะเป็นส่วน หนึ่งของการดารงชีวิตในทศวรรษหนา้ องค์ประกอบและหนา้ ท่ขี องระบบโทรคมนาคม ระบบโทรคมนาคม (Telecommunications Systems) คือระบบท่ีประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และ ซอฟท์แวร์จานวนหนึง่ ที่สามารถทางานรว่ มกันและถูกจัดไว้สาหรบั การสอ่ื สารข้อมูลจากสถานที่แห่งหน่ึงไปยัง สถานท่ีอีกแห่งหนึ่ง ซ่ึงสามารถถ่ายทอดข้อความ ภาพกราฟฟิก เสียงสนทนา และวิดีทัศน์ได้ มีรายละเอียด ของโครงสรา้ งสว่ นประกอบดงั นี้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเคร่ืองมือเปลี่ยนปริมาณใดให้เป็นไฟฟ้า (Transducer) เช่น โทรศัพท์ หรือ ไมโครโฟน 2. เครอ่ื งเทอรม์ ินอลสาหรบั การรับข้อมูลหรอื แสดงผลขอ้ มูล เชน่ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์หรอื โทรศัพท์ 3. อุปกรณป์ ระมวลผลการสื่อสาร (Transmitter) ทาหนา้ ทแ่ี ปรรูปสญั ญาณไฟฟ้าใหเ้ หมาะสมกบั ช่องสัญญาณ เช่น โมเด็ม (MODEM) มัลติเพล็กเซอร์ (multiplexer) แอมพลิไฟเออร์ (Amplifier) ดาเนินการได้ทั้งรับและ สง่ ขอ้ มูล 4. ช่องทางส่ือสาร (Transmission Channel) หมายถึงการเชื่อมต่อรูปแบบใดๆ เช่น สายโทรศัพท์ ใยแก้วนา แสง สายโคแอกเซียล หรือแม้แต่การสอ่ื สารแบบไรส้ าย 5. ซอฟทแ์ วร์การสื่อสารซง่ึ ทาหน้าทค่ี วบคุมกจิ กรรมการรับสง่ ข้อมูลและอานวยความสะดวกในการส่ือสาร องค์ประกอบทส่ี าคัญของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบทีส่ าคัญ ต้นกาเนิดข่าวสาร (Source of Information) เป็นส่วนแรกในระบบการสื่อสารโทรคมนาคม เป็น แหล่งที่มาของข่าวสารต่าง ๆ ท่ีผู้ส่งต้องการที่จะส่งไปยังผรู้ ับท่ีปลายทางตัวอย่างในระบบโทรศัพท์ หรือระบบ วิทยุกระจายเสียง ส่วนน้ีก็คือเสียงพูดของผู้พูดท่ีต้นทาง ซ่ึงจะถูกไมโครโฟนเปลี่ยนให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าท่ี เหมาะสม และส่งเข้าไปในระบบ หรือในกรณีระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication) ส่วนน้ีอาจจะ เป็นเคร่อื งคอมพิวเตอรห์ รือ Data Terminal ประเภทตา่ ง ๆ เครอื่ งส่งสญั ญาณ (Transmitter)

7 ทาหน้าที่ในการแปลงหรือเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าที่ใช้แทนข่าวสารจากต้นกาเนิดข่าวสารให้เป็นสัญญาณ หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีเหมาะสมในการส่งต่อไปยังปลายทางเช่นระบบโทรศัพท์ ตัวเครื่องโทรศัพท์จะแปลง สัญญาณไฟฟ้าที่ใช้แทนเสียงพูด ให้เป็นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีเหมาะสมและส่งต่อไปยังปลายทางสาหรบั ใน ระบบการส่ือสารข้อมูล ส่วนน้ีจะเป็น MODEM หรืออุปกรณ์อ่ืนที่เหมาะสมในการเปล่ียนสัญญาณไฟฟ้าที่มา จากคอมพวิ เตอร์เพือ่ ให้เป็นสญั ญาณแม่เหล็กไฟฟา้ ที่เหมาะสมในการผา่ นระบบส่ือสัญญาณไปยงั ปลายทาง ระบบการส่งผ่านสญั ญาณ (Transmission System) เครื่องส่งได้เปลี่ยน หรือแปลงสัญญาณไฟฟ้าที่ใช้แทนข่าวสารต่าง ๆ ให้เป็นสัญญาณหรือคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าท่ีเหมาะสม สัญญาณก็จะถูกส่งผ่านระบบระบบการส่งผ่านสัญญาณ เพื่อส่งต่อไปยังเคร่ืองรับ และผู้รับที่ปลายทางดังน้ันระบบการส่งผ่านสัญญาณจึงถือได้ว่านับเป็นส่วนท่ีสาคัญและจาเป็นมากในระบบ การสอ่ื สารโทรคมนาคม เครื่องรับสญั ญาณ (Receiver) เครื่องรับสัญญาณ เป็นส่วนที่ทาการเปล่ียนสัญญาณ หรือคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า ท่ีถูกส่งผ่านระบบการ ส่งผ่านสัญญาณจากต้นทาง เพ่ือให้กลับมาเป็นสัญญาณไฟฟ้าท่ีใช้แทนข่าวสารที่ถูกส่งมาจากต้นทาง ท้ังน้ีเพ่ือ ส่งให้อุปกรณป์ ลายทางทาการแปลง หรอื เปล่ียนสัญญาณไฟฟ้าน้นั ให้กลบั มาเป็นขา่ วสารที่ผรู้ ับสามารถเข้าใจ ความหมายได้สาหรับระบบการสื่อสารข้อมูลส่วนน้ีจะเป็น MODEM หรืออุปกรณ์ที่เหมาะสมในการเปล่ียน สัญญาณแม่เหลก็ ไฟฟ้า ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่ใช้ข้อมูลในรูปแบบท่ีถูกต้อง และเหมาะสมสาหรับการส่งต่อให้ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ดังน้ันอปุ กรณ์บางชนิด เช่น MODEM อาจเปน็ ไดท้ ง้ั อุปกรณ์ในการส่ง และรบั สญั ญาณ ใน อปุ กรณช์ นิดเดียวกัน ผรู้ ับสญั ญาณ (Destination) ผ้รู ับสญั ญาณ เปน็ สว่ นสดุ ทา้ ยในระบบการสอื่ สารโทรคมนาคม ซง่ึ ทาหน้าที่รบั ขอ้ มลู ข่าวสารที่ส่งมาจากต้นกาเนดิ ข่าวสารดังนัน้ อุปกรณ์รบั สัญญาณ และอปุ กรณ์สง่ สญั ญาณ อาจเปน็ อปุ กรณ์ชนิด เดยี วกันก็ไดเ้ ช่นคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ หนา้ ที่ของระบบโทรคมนาคม ทาหน้าท่ีในการส่งและรับข้อมูลระหว่างจุดสองจุด ได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร (Sender) และ ผู้รับข่าวสาร (Receiver) จะดาเนินการจัดการลาเลียงข้อมูลผ่านเส้นทางท่ีมีประสิทธิภาพท่ีสุด จัดการตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของขอ้ มลู ทีจ่ ะส่งและรับเข้ามา สามารถปรบั เปลย่ี นรปู แบบข้อมลู ให้ท้ังสองฝา่ ยสามารถเขา้ ใจได้ตรงกัน ซึ่งที่กล่าวมาน้ีส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวจัดการ ในระบบโทรคมนาคมส่วนใหญ่ใช้อุปกรณ์ในการรับส่ง ข้อมูลข่าวสารต่างชนิด ต่างย่ีห้อกัน แต่สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกันได้เพราะใช้ชุดคาสั่งมาตรฐานชุด เดียวกัน กฎเกณฑ์มาตรฐานในการส่ือสารน้ีเราเรียกว่า “โปรโตคอล (Protocol)” อุปกรณ์แต่ละชนิดใน เครือข่ายเดียวกันต้องใช้โปรโตคอลอย่างเดียวกัน จึงจะสามารถส่ือสารถึงกันและกันได้ หน้าท่ีพื้นฐานของ

8 โปรโตคอล คือ การทาความรู้จักกับอุปกรณ์ตัวอ่ืนที่อยู่ในเส้นทางการถ่ายทอดข้อมูล การตกลงเง่ือนไขในการ รบั สง่ ขอ้ มลู การตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู การแก้ไขปญั หาข้อมลู ทเี่ กิดการผดิ พลาดในขณะท่สี ง่ ออกไป และการแก้ปัญหาการส่ือสารขัดข้องท่ีอาจเกิดข้ึนโปรโตคอลท่ีรู้จกั กันมาก ได้แก่ โปรโตคอลในระบบเครือขา่ ย อินเตอร์เนต เช่น Internet Protocal ; TCP/IP , IP Address ท่ีเราใชก้ นั อยทู่ ุกวนั น้ี ประเภทของสัญญาณ สัญญาณแอนะลอ็ ก(analog signal) สามารถเขียนแทนได้ด้วยรูปกราฟคลื่นไซน์ (sine wave) ลักษณะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง อธิบาย รูปกราฟคล่ืนไซต์ด้วยค่าความถี่ และระดับความเข้มของสัญญาณค่าความถี่ คือ จานวนรอบของคล่ือนที่ เคล่ือนที่ใน 1 วินาที หรือในเวลา 1 วินาที คล่ืนเคล่ือนที่ได้ก่ีรอบน่ันเอง เช่น สถานีวิทยุ hotwave กระจาย เสียงที่ความถี่ 91.5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) หมายความว่า เสียงดีเจจากคล่ืนวิทยุ hotwave จะถูกแปลงเป็น สัญญาณแอนะล็อก โดยใน 1 วินาที สามารถผลิตคล่ืนให้มีสัญญาณ 91.5 ล้านรอบ ถ้าผู้รับต้องบการรับฟัง เพลงจากสถานีวิทยุ hatwave ก็ต้องหมุนเคร่ืองรับวิทยุให้ตรงกับความถ่ีท่ีสถานีส่งออกมานั่นเอง ข้อเสียของ สัญญาณแบบแอนะล็อก คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ทาให้เกิดข้อผิดพลาดในการรับส่งข้อมูล เม่ือต้องส่ง ข้อมูลออกไปในระยะทางไกลระดับของสัญญาณจะอ่อนลง และมีสัญญาณรบกวน ดังน้ันจึงต้องมีเครื่งทวน สัญญาณ เพ่ือเพิ่มระดับสัญญาณแส่งต่อไป ตัวอย่างของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก เช่น สัญญาณเสียงใน สายโทรศัพท์ สญั ญาณเสยี งท่สี ่งจากสถานวี ิทยุ เป็นต้น สญั ญาณดิจทิ ัล ลักษณะเป็นกราฟส่ีเหลี่ยม (square graph) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเน่ือง รูปแบบของสัญญาณมีการ เปลี่ยนแปลงแบบไม่ปะติดปะต่อ กล่าวคือ มีบางช่วงที่ระดับสัญญาณเป็น 0 การแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของ สัญญาณดิจิทัลต้องทาการเเปลงข้อมูลให้ข้อมูลเป็นแบบดิจิทัลก่น น่ันคือต้องแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ เลขฐานสอง คือ 0 และ 1 แล้วทาการแปลงข้อมุลนั้นให้เป็นสัญญาณดิจิทัล ซ่ึงสามารถแปลงได้หลายรูปแบบ เช่น แบบ unipolar แทนบิต 0 ด้วยระดับสัญญาณที่เป็นกลาง และบิต 1 ด้วยระดับสัญญาณเป็นบวก การส่ง สัญญาณข้อมูลแบบดิจิทัลมีคุณภาพดีกว่าแบบแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งในระยะทางที่ไกลออกไปจะต้องใช้ อุปกรณ์ทวนสัญญาณท่ีเรียกว่า รีพีตเตอรื (repeater) ซึ่งรีพีตเตอร์จะทาการกรองเอาสัญญาณรบกวนออก กอ่ นแลว้ คอ่ ยเพิม่ ระดบั สญั ญาณ จากน้ันจงึ ส่งออกไป จะเหน็ ได้ว่าคุณภาพของสัญญาณท่ีสง่ ออกไปจะใกล้เคียง ของเดิมที่ส่งมา สัญญาณดิจิทัลมีหน่วยวัดความเร็วเป็นบิตต่อนาที หรือ bit per second (bps) หมายถึง จานวนบิตท่ีส่งได้ในช่วงเวลา 1 วินาที เช่น โมเด็มมีความเร็ว 56 kbps หมายความว่า โมเด็มสามารถผลิต สญั ญาณดิจทิ ัลไดป้ ระมาณ 56,000 บิตใน 1 วนิ าที ตัวกลางหรือช่องทางการสอื่ สาร ช่องสื่อสาร (communication channels) หมายถึง รูปแบบใดๆ ท่ีสามารถนามาใช้ในการถ่ายทอด สัญญาณข้อมูลจากอุปกรณ์ตัวหนึ่งในระบบเครือข่ายไปยังอุปกรณ์อีกตัวหน่ึงสื่อต่างๆ ที่ใช้ได้แก่ สายคู่บิด เกลียว สายใยแก้วนาแสง สัญญาณไมโครเวฟ สัญญาณผ่านดาวเทียม และสัญญาณไร้สายแบบต่างๆความเร็ว ในการถ่ายทอดข้อมูลปริมาณข้อมูลที่ส่งผ่านช่องส่ือสารใดๆ มีหน่วยวัดเป็น บิตต่อวินาที(bits per second :

9 bps)ช่วงคล่ืนสัญญาณท่ีรวมกันอยู่ในช่องส่ือสารหนึ่งช่อง เรียกว่า ความกว้างของช่องสื่อสาร(bandwidth) ช่วงคล่ืนท่ีกว้างมากหมายถึงช่องสัญญาณท่ีกว้างมาก สามารถส่งข้อมูลปริมาณมากได้ในเวลาอันรวดเร็ว มลั ตเิ พล็กเซอร์เป็นอปุ กรณท์ ีช่ ่วยให้การใช้ส่ือหรือชอ่ งสื่อสารขนาดใหญ่มปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ข้ึน ระบบเครอื ขา่ ยส่อื สาร LAN ย่อมาจาก Local Area Network คอื ระบบเครอื ขา่ ย แบบเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ด้วยกนั ในระยะจากัด เช่น ในอาคารเดียวกัน หรือบริเวณเดียวกันที่สามารถลากสายถึงกันได้โดยตรง ส่วนมากจะใช้สายเคเบิ้ล หรือ ท่ีเรียกกันว่า สายแลน เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ อัตราเร็วของเครือข่าย LAN อยู่ท่ีระหวาง 1-100 Mbps ทั้งน้ีความเร็วขอมูลข้ึนอยู่กับ ตัวกลางสายส่งที่ใช้ เทคนิคการส่งสัญญาณ และข้อกาหนดของผู้ให้บริการ เนต็ เวริ ค์ การเชือ่ มโยงเครอื ข่ายแบบแลน มี 3 รปู แบบ คอื 1.Bus มีการรับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 10-100 MB/sจะเช่ือมต่อกันบนสายสัญญาณเส้นเดียวกัน โดยจะมี อปุ กรณ์ท่ีเรยี กวา่ T-Connector เป็นตวั แปลงสญั ญาณขอ้ มลู เพ่ือนาเข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอร์และ Terminator ในการปดิ หวั ท้ายของสายในระบบเครอื ข่ายเพ่ือดดู ซบั ขอ้ มูลไม่ใหเ้ กดิ การสะทอ้ นกลบั ของสัญญาณ 2.Star เป็นระบบท่ีมีเป็นการต่อแบบรวมศูนย์ โดยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองจะต่อสายเข้าไปที่อุปกรณ์ที่ เรียกว่า Hub หรือ Switch โดยอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า Hub หรือ Switch จะทาหน้าที่เปรียบศูนย์กลางที่ทาหนา้ ท่ี กระจายข้อมูล โดยข้อดีของการต่อในรูปแบบน้ีคือ หากสายสัญญาณเกิดขาดในคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่อง หนงึ่ เครื่องคอมพิวเตอร์อน่ื ๆจะสามารถใช้งานไดป้ รกติ แตห่ ากศนู ยก์ ลางคอื Hub หรือ Switch เกดิ เสียจะทา ใหร้ ะบบทงั้ ระบบไม่สามารถทางานได้ทั้งระบบ 3.Ring เป็นระบบท่ีมีการส่งข้อมูลไปในทิศทางเดียวกัน โดยจะมีเคร่ือง Server หรือ Switch ในการปล่อย Token เพ่ือตรวจสอบว่ามีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใดต้องการส่งข้อมูลหรือไม่และระหว่างการส่งข้อมูลเครื่อง คอมพวิ เตอร์อ่นื ๆท่ตี ้องการสง่ ข้อมูลจะตอ้ งทาการรอให้ข้อมูลก่อนหน้านัน้ ถูกส่งให้สาเรจ็ เสยี ก่อน ความรู้เกย่ี วกับขอ้ มลู สารสนเทศ และระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ข้อมลู คอื คา่ ของตวั แปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ทอี่ ยูใ่ นความควบคุมของกลุ่มของส่ิงต่าง ๆ ข้อมูลใน เร่ืองการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหน่ึง ซ่ึงมักจะเป็น โครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อท่ีมีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือ โครงสรา้ งกราฟ (กล่มุ ของจุดต่อท่ีเชื่อมระหว่างกนั ) ข้อมูลโดยปกติเปน็ ผลจากการวดั และสามารถทาใหเ้ ห็นได้ โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหน่ึง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่าที่สุดของภาวะ นามธรรมท่ีสบื ทอดเป็นสารสนเทศและความรู้

10 ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลท่ียังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคาหน่ึงท่ีเก่ียวข้อง หมายถึงการรวบรวมจานวนและ อักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลท่ีประมวลผลแล้ว จาก ระยะหนึง่ อาจถอื วา่ เปน็ ขอ้ มูลดบิ ของระยะถัดไปกไ็ ด้ ข้อมูลสนาม หมายถงึ ข้อมลู ดิบทีร่ วบรวมมาจากสภาพแวดลอ้ ม ณ แหล่งกาเนิด ที่ไมอ่ ยู่ในการควบคุม ข้อมูลเชิงทดลอง หมายถึง ข้อมูลท่ีสร้างข้ึนภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการ สงั เกตและการบนั ทึก ชนดิ ของข้อมูล ชนิดของขอ้ มลู ท่ีต้องการใสใ่ นเซลล์ของโปรแกรม Microsoft Excel 1. ข้อมูลประเภทข้อความ (Text) หมายถึง ข้อมูลท่ีไม่นามาคานวณ อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมาย การใส่ข้อมูลท่ีมีความยาวมากกว่าความกว้างของเซลล์ข้อความน้ันจะถูกแสดงต่อไปในเซลล์ท่ีอยู่ ทางขวามือ ตราบใดท่เี ซลลท์ างขวามอื นั้นยังไมม่ ีขอ้ มลู ขอ้ มูลชนดิ น้จี ะถูกจัดใหอ้ ยูช่ ดิ ซ้ายของเซลลเ์ สมอ 2. ข้อมูลประเภทตวั เลข (Numeric) ขอ้ มลู ท่นี ามาคานวณได้ ข้อมลู จะอยชู่ ดิ ขวา และไมส่ ามารถแสดงผลเกิน ความกวา้ งของเซลล์ได้ ถา้ ความกวา้ งของเซลล์ไม่พอจะปรากฏเคร่ืองหมาย การแก้ไขโดยขยายความกว้างของ เซลล์ออกไป 3. ขอ้ มูลประเภทวนั ท่ี (Date) หมายถงึ ขอ้ มลู ทป่ี ระกอบดว้ ยวันทแ่ี ละเดือน เดือนและปี หรอื วนั ที่ เดือนและปี โดยเดือนสามารถกาหนดได้ทง้ั แบบตวั เลข หรือตัวอักษร ข้อมลู ชนิดน้นี าไปคานวณได้ 4. ข้อมลู ประเภทเวลา (Time) หมายถงึ ข้อมลู ทปี่ ระกอบด้วยช่ัวโมงและนาที โดยมีเคร่อื งหมาย : ข้อมูลชนิด นสี้ ามารถนาไปคานวณได้ 5. ข้อมูลประเภทสูตร (Formular) ข้อมูลประเภทนี้คือสมการคณิตศาสตร์ จะต้องใช้เคร่ืองหมายเท่ากับ (=) นาหน้า ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมาย ถงึ ขอ้ มูลต่างๆ ที่ไดผ้ ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมี การประมวลหรอื วเิ คราะห์ ผลสรุปด้วยวิธีการตา่ งๆ ให้อยู่ในรูปแบบทีม่ ีความสมั พันธ์กัน มีความหมาย มีคุณค่าเพ่ิมข้ึนและมีวตั ถุประสงค์ ในการใชง้ าน หมายถึง ข้อมูลที่ได้ถูกกระทาให้มีความสัมพันธ์หรือความหมายนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การเก็บข้อมูล การ ขายรายวันแล้วนาการประมวลผล เพ่ือหาว่าสินค้าใดมียอดขายสูงที่สุด เพ่ือจัดทาแผนการขายในเดือนต่อไป ระบบสารสนเทศ สารสนเทศ (Information System)หมาย ถึง ขบวนการประมวลผลข่าวสารที่มีอยู่ให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูง สุด เพ่ือเป็นข้อสรุปท่ีใช้สนับสนุนการบริหารและการตัดสินใจท้ังในระดับปฏิบัติ การ ระดบั กลาง และระดับ สงู ระบบสารสนเทศจงึ เปน็ ระบบทไ่ี ดจ้ ัดตั้งข้ึนเพ่ือปฏบิ ตั ิการเกี่ยวกับข้อมลู ตังตอ่ ไปนี้ 1. รวบรวมขอ้ มลู ทัง้ ภายใน ภายนอก ซง่ึ จาเป็นต่อหน่วยงาน 2. จดั กระทาเก่ียวกับข้อมูลเพ่อื ให้เปน็ สารสนเทศที่พร้อมจะใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 3. จดั ใหม้ ีระบบเก็บเป็นหมวดหมู่ เพอื่ สะดวกต่อการคน้ หาและนาไปใช้

11 4. มกี ารปรับปรุงข้อมูลเสมอ เพ่ือให้อยใู่ นภาพที่ถูกต้องทันสมยั ประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ในปัจจุบนั สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ระบบที่นาคอมพิวเตอรม์ าใช้ หรอื ที่เรยี กวา่ ระบบสารสนเทศอิง คอมพิวเตอร์ (Computer-Based Information Systems หรือ CBIS) ระบบสารสนเทศที่อิงคอมพิวเตอร์ (Computer-Based Information Systems) แบ่งออกเป็น 6 ประเภท ดงั น้ี 1. ระบบสารสนเทศประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing Systems: TPS) เป็น ระบบสารสนเทศ ประเภทแรกที่นิยมนามาใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อการประมวลผลท่ีรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่าย และปรับปรุงการ ให้บริการลูกค้า ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลธุรกรรมทาหน้าท่ีรวบรวม บันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูล(File) หรือฐานข้อมูล(Database) และประมวลผลข้อมูลท่ีเกิดจากการทาธุรกรรมและการปฏิบัติงานประจา (Routine) ขององค์การเพื่อนาไปจัดทาระบบสารสนเทศที่เกย่ี วข้องกับข้อมลู น้นั ๆ โดยปกติ พนักงานระดับปฏิบัติงานจะเป็นผู้จัดทาระบบสารสนเทศประเภทนี้ แต่ด้วยความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี ในปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาระบบการประมวลผลธุรกรรมที่ลูกค้าสามารถป้อนข้อมูลและ ประมวลผลรายการดว้ ยตนเองได้ เรยี กระบบสารสนเทศลักษณะน้วี ่า Customer Integrated Systems หรอื CIS เช่น ระบบฝาก-ถอนเงนิ อตั โนมตั ิ ลกั ษณะการประมวลผลขอ้ มูลของ TPS แบง่ เป็น 2 ประเภทคอื 1.1 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) เป็นการประมวลผลท่ีข้อมูลจะถูกรวบรวมและสะสมไว้ ระหว่างช่วงเวลาที่กาหนด แล้วจึงจะประมวลผลรวมกันเป็นคร้ังเดียว การออกแบบลักษณะการประมวลผล แบบกลุ่มกเ็ พอ่ื ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย และใหเ้ กดิ ความเหมาะสมกับลกั ษณะของงาน 1.2 การประมวลผลแบบทันที (Real-Time Processing) เป็นการประมวลผลแต่ละรายการและให้ผลลัพธ์ ทนั ทีเมื่อมีการป้อนข้อมลู เข้าสรู่ ะบบ การประมวลผลแบบทันทถี ้าเปน็ การประมวลผลรายการแบบออนไลน์จะ เรยี กวา่ Online Transaction Processing หรือ OLTP เช่น การจองต๋ัวเครือ่ งบนิ 2. ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (Management Information System: MIS)เป็นระบบสารสนเทศที่โดย ปกติแล้วจะประมวลผลและสรุปผลจากแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูลที่ได้จาก TPS เพ่ือจัดทาสารสนเทศตาม ความต้องการของผู้บริหารสาหรับนาไปใช้ในการวางแผน ควบคุม กากับดูแล ส่ังการ และประกอบการ ตัดสินใจ โดยสามารถจาแนกไดเ้ ป็น 4 ประเภทดังน้ี 2.1 รายงานท่ีจัดทาตามระยะเวลาที่กาหนด (Periodic Reports) เป็นรายงานที่จัดทาขึ้นตามระยะเวลาที่ กาหนดไว้ล่วงหนา้ ซ่ึงอาจเปน็ รายงานท่ีจดั ทาขนึ้ ทุกวนั ทุกสปั ดาห์ ทกุ เดอื น หรอื ทกุ ๆ ปี 2.2 รายงานสรปุ (Summarized Reports) เป็นรายงานทจ่ี ัดทาเพอ่ื สรปุ การดาเนินงานโดยภาพรวม โดยปกติ จะแสดงผลในรปู ของตารางสรปุ จานวนและกราฟเปรยี บเทียบ 2.3 รายงานท่ีจัดทาตามเง่ือนไขเฉพาะ (Exception Reports) เป็น รายงานท่ีจัดทาตามเง่ือนไขพิเศษไม่อยู่ใน เกณฑ์การจัดทารายงานตามปกติ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้บริหารได้ใช้สารสนเทศสาหรับการตัดสินใจอย่าง ทนั เวลา

12 2.4 รายงานท่ีจัดทาตามความต้องการ (Demand Reports) เป็นรายงานท่ีมีลักษณะตรงข้ามกับรายงานที่ จดั ทาตามระยะเวลาที่กาหนด ซง่ึ รายงานจะกระทาตามเวลาอยา่ งสม่าเสมอ ในขณะท่ี Demand Reports จะ จัดทาเมือ่ ผบู้ ริหารมีความตอ้ งการในรายงานน้ันๆ เทา่ นั้น 4. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems: EIS หรือ Executive Support Systems: ESS) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้ม และการ วางแผนกลยุทธ์ ผู้บริหารสามารถเข้าถึงสารสนเทศโดยกาหนดมุมมองได้ในรูปแบบต่างๆ จึงเป็นระบบที่มี ความยดื หยนุ่ และคลอ่ งตัวสงู และรวดเร็วต่อความต้องการ ใชง้ านได้ง่าย EIS สามารถเขา้ ถงึ สามาสนเทศจากฐานขอ้ มูลภายในและภายนอกองค์การและจะนาเสนอสารสนเทศท่ีได้จาก การวิเคราะห์ในรูปของรายงาน ตาราง และกราฟ เพ่ือการสรุปสารสนเทศให้ผู้บริหารได้เข้าใจง่ายและ ประหยดั เวลา 5 . ปั ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ( Artificial Intelligence: AI) แ ล ะ ร ะ บ บ ผู้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ( Expert Systems: ES) ปัญญาประดิษฐ์เป็นความพยายามท่ีจะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ (ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์) ให้สามารถ ปฏิบัติงานเหมือนกับมนุษย์หรือเลียนแบบ การทางานของมนุษย์ AI มีหลายสาขา เช่น การประมวลผล ภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing), ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์(Robotics), ระบบการมองเห็น (Vision Systerms), ระบบการเรียนรู้(Learning Systems), เครือข่ายเส้นประสาท(Neural Networks) และ ระบบผู้เช่ียวชาญ(Expert Systems) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) หรือระบบฐานความรู้ (Knowledge-based System) เป็นระบบท่ี รวบรวมและจดั เก็บความรแู้ ละประสบการณ์ของผเู้ ชี่ยวชาญ เพอ่ื ชว่ ยในการหาขอ้ สรุปและคาแนะนาให้กับผู้ใช้ 6. ระบบสารสนเทศสานักงาน (Office Information Systems: OIS) หรือระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems: OAS) เป็นระบบสารสนเทศท่ีนาเทคโนโลยมี าประยุกต์ใช้ เพ่ือช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการทางานของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหาร แบ่งได้เป็น 5 ประเภท คือ ระบบจัดการเอกสาร ระบบการ จัดการข่าวสาร ระบบการทางานร่วมกัน /ประชุมทางไกล ระบบการประมวลภาพ และระบบการจัดการ สานักงาน องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเปน็ งานที่ต้องใชส้ ว่ นประกอบหลายอย่าง ในการทาให้เกิดเป็นกลไกในการนาข้อมูลมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ได้ นักเรียนลองนึกดูว่า ถ้าต้องการประมวลผลรายงานการเรียนของนักเรียนได้อย่าง ถูกต้อง รวดเร็ว ทันการ ระบบการจัดการสารสนเทศนั้น เก่ียวข้องกับอะไรบ้าง ประการแรกคือ บุคลากรหรืออาจารย์ประจาช้ันท่ีเป็น ผู้รับผิดชอบ หรืออาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชา ประการที่สอง คือ หากมีการบันทึก ข้อมูลก็ต้องมีขั้นตอนการ ปฏิบตั งิ านของอาจารย์เปน็ ขัน้ ตอนที่กาหนดไวว้ ่าจะต้องทาอะไรบา้ ง เมอ่ื ไร อย่างไร ประการท่ีสาม คอื เคร่ือง คอมพิวเตอร์ เป็นเคร่ืองช่วยให้การทางานให้ผลรวดเร็ว และคานวณได้แม่นยาถูกต้อง ประการที่สี่ คือ ซอฟต์แวร์ท่ีใช้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ช่วยทาให้คอมพิวเตอร์ทางาน ตามท่ีต้องการได้ ประการสุดท้ายคือ ตัว ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ เสมือนวัตถดุ บิ ทีจ่ ะได้รับการเปลย่ี นแปลงใหเ้ ปน็ สารสนเทศตามท่ตี ้องการ

13 ส่วนประกอบที่สาคัญของระบบสารสนเทศมี 5 ส่วนคอื 1. ฮารด์ แวร(์ เครอ่ื งจักรอปุ กรณ์ 2. ซอฟตแ์ วร์ 3. ขอ้ มูล 4. บุคลากร 5.ขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ าน เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยในการจัดการสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผล คัดเลือก คานวณ หรือพิมพ์รายงาน ผลตามที่ต้องการ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานได้รวดเร็ว มีความแม่นยาใน การทางาน และทางานได้ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบ สารสนเทศ ซอฟต์แวร์ คือลาดับขั้นตอนคาส่ังให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทางานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซอฟต์แวร์ จึง หมายถึงชุดคาส่ังท่ีเรียง เป็นลาดับขั้นตอนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ และประมวลผลเพื่อให้ได้ สารสนเทศทีต่ อ้ งการขอ้ มูล เป็นวตั ถดุ ิบที่ทาใหเ้ กิดสารสนเทศ ข้อมลู ทเี่ ป็นวัตถุดบิ จะต่างกัน ข้นึ กับสารสนเทศ ทีต่ อ้ งการ เชน่ ในสถานศึกษามกั จะตอ้ งการ สารสนเทศท่เี กี่ยวข้องกับขอ้ มลู นกั เรยี น ขอ้ มลู ผลการเรียน ข้อมลู อาจารย์ ขอ้ มูลการใช้จา่ ยต่าง ๆ ข้อมูลเป็นสงิ่ ทีส่ าคัญประการหนึ่งที่มีบทบาทต่อการให้เกิด สารสนเทศ ความหมายของระบบเครือขา่ ย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มาเช่ือมต่อเข้า ด้วยกันโดยอาศัยช่องทางการสอ่ื สารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ และการ ใช้ทรพั ยากรของระบบรว่ มกัน (Shared Resource) ในเครอื ข่ายนัน้ รปู แสดงระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพ่ือการเช่ือมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอรแ์ ม่ข่าย (File Server) ชอ่ งทางการสือ่ สาร (Communication Chanel) สถานงี าน (Workstation or Terminal) และ อปุ กรณ์ในเครือขา่ ย (Network Operation System) ประเภทของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( computer network ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น สามารถใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน สามารถใช้ฮาร์ดดิสก์ร่วมกัน แบ่งปันการใช้อุปกรณ์อ่ืนๆ ท่ีมีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ แม้กระท่ังสามารถใช้โปรแกรม ร่วมกันได้เป็นการลดต้นทุนขององค์กรเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทตามพ้ืนท่ีท่ี ครอบคลุมการใชง้ านของเครอื ข่าย ดังนี้ 1. เครือข่ายส่วนบุคคล หรอื แพน ( Personal Area Network: PAN ) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ส่วนบุคคล เช่น การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์มือถือ การเช่ือมต่อพีดีเอกับ เครอื่ งคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งการเชือ่ มต่อแบบนจี้ ะอยู่ในระยะใกล้ และมีการเชอื่ มตอ่ แบบไรส้ าย

14 2. เครอื ข่ายเฉพาะท่ี หรือแลน ( Local Area Network: LAN ) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ในการเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น ภายในบ้าน ภายในสานักงาน และภายในอาคาร สาหรับการใช้งานภายในบ้านนั้นอาจเรียกเครือข่าย ประเภทน้ีว่า เครือข่ายที่พักอาศัย ( home network ) โดยอาจเป็นการเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่อง หรือมากกว่า เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะองค์กร การเชื่อมต่อเครือข่ายแลนสามารถ สอื่ สารข้อมลู ไดอ้ ย่างรวดเร็วและเกดิ ประสทิ ธภิ าพกบั องค์กรมาก 3. เครอื ขา่ ยนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network: MAN) เป็นเครือข่ายทีใ่ ช้เชอื่ มโยงแลนท่ีอยหู่ ่างไกลออกไป เชน่ การเชอ่ื มตอ่ เครอื ข่ายระหว่างสานักงานที่อาจอยู่ คนละอาคารและมีระยะทางไกลกัน การเช่ือมต่อเครือข่ายชนิดนี้อาจใช้สายไฟเบอร์ออพติก หรือบางคร้ังอาจ ใช้ไมโครเวฟเชื่อมต่อ เครือข่ายแบบน้ีใช้ในสถานศึกษามีชื่อเรียกอีกอย่างหน่ึงว่าเครือข่ายแคมปัส ( Campus Area Network: CAN ) ซ่ึงถือว่าเป็นระบบเครือข่ายท่ีมีการเชื่อมต่อกันในระหว่างท่ีกว้างใหญ่ ครอบคลุม ระยะทางเปน็ 100 กิโลเมตร ที่มีการติดตอ่ กนั ในระยะที่ไกลกวา่ ระบบแลนและใกลก้ ว่าระบบแวน รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. โทโปโลยีแบบบสั เปน็ โทโปโลยีทีไ่ ดร้ ับความนิยมใชก้ ันมากท่สี ุดมาต้ังแต่อดีตจนถึงปจั จุบัน ลกั ษณะการทางานของเครือขา่ ย โท โปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายส่ือสารหลักท่ี เรียกว่า”บัส” (BUS) เม่ือโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนด หนึ่งภายในเครือข่าย จะต้อง ตรวจสอบให้แนใ่ จก่อนว่าบสั วา่ งหรือไม่ ถ้าหากไม่วา่ งกไ็ ม่สามารถจะส่งข้อมูลออกไปได้ ทั้งนเี้ พราะสายสื่อสาร หลักมีเพียงสายเดียว ในกรณีท่ีมีข้อมูลว่ิงมาในบัส ข้อมูลนี้จะวิ่งผ่านโหนดต่างๆ ไปเร่ือยๆ ในขณะที่แต่ละ โหนดจะคอยตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านมาว่าเป็นของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้ข้อมูลวิ่งผ่านไป แต่ หากเลขทอ่ี ย่ปู ลายทาง ซ่งึ กากบั มากับข้อมลู ตรงกบั เลขท่ีอยู่ของของตน โหนดน้ันก็จะรบั ขอ้ มลู เข้าไป 2. โทโปโลยแี บบดาว โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) เป็นรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องท่ีเช่ือมต่อเข้าด้วยกันในเครอื ข่าย จะต้องเช่ือมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งท่ีเรียกว่า ฮับ (HUB) หรือสวิตช์ (Switch) หรือเคร่ือง ๆ หนึ่ง ซึ่งทาหน้าทีเ่ ปน็ ศนู ย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญานที่มาจากเคร่ืองต่าง ๆ ในเครอื ข่าย และควบคมุ เส้นทาง การสื่อสาร ทั้งหมด เม่ือมีเครื่องท่ีต้องการสง่ ข้อมลู ไปยังเครื่องอ่ืน ๆ ท่ีต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะตอ้ ง ส่งข้อมูลมายงั HUB หรือเครอ่ื งศูนย์กลางกอ่ น แล้ว HUB กจ็ ะทาหนา้ ทีก่ ระจายขอ้ มลู นน้ั ไปในเครือข่ายต่อไป 3. โทโปโลยแี บบวงแหวน (RING) เป็นรูปแบบท่ี เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทงั้ เครือ่ งทีเ่ ปน็ ผใู้ หบ้ รกิ าร( Server) และ เคร่ือง ท่ีเป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเช่ือมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารท่ีส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ BUS ในแต่ ละโหมดหรอื แต่ละเครื่อง จะมีรพี ีตเตอร์ (Repeater) ประจาแตล่ ะเครอ่ื ง 1 ตวั ซึ่งจะทาหนา้ ที่เพิม่ เตมิ ข้อมูลที่

15 จาเป็นต่อการติดต่อส่ือสารเข้าในส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่ง มาถึง ว่าเปน็ ขอ้ มูลของตนหรอื ไม่ แตถ่ า้ ไม่ใช่กจ็ ะปล่อยข้อมูลนัน้ ไปยงั Repeater ของเครอ่ื งถัดไป 4. โทโพโลยีแบบตน้ ไม้ (Tree Topology) มีลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสร้างแบบดาวแต่จะมีโครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสัญญาณแยกออกไป เป็นแบบก่ิงไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเคร่ือง คอมพิวเตอรร์ ะดับต่างๆกนั อยู่หลายเคร่ืองแลว้ ต่อกนั เป็นชั้น ๆ ดรู าวกับแผนภาพองค์กร แตล่ ะกล่มุ จะมีโหนด แมล่ ะโหนดลกู ในกลุ่มนัน้ ท่ีมีการสัมพันธ์กัน การสอ่ื สารขอ้ มูลจะผา่ นตวั กลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทง้ั หมด เพราะ ทุกสถานีจะอยู่บนทางเช่ือม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังน้ันในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่ง พร้อมกัน 5. โทโพโลยแี บบผสม (Hybrid Topology) เป็นเครือข่ายท่ีผสมผสานโทโพโลยีแบบต่างๆ เข้าด้วยกัน เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่เพียงเครือข่ายเดียว เช่น การเช่ือมเครือข่ายแบบวงแหวน แบบดาว และแบบบัสเข้าเป็นเครือข่ายเดียวกัน เครือข่ายบริเวณกว้าง (WAN) เป็นตัวอยา่ งที่ใชล้ ักษณะโทโพโลยีแบบผสมท่ีพบเห็นมากท่ีสุด เครอื ขา่ ยแบบนีจ้ ะเชื่อมต่อท้ังเครือข่าย ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ หลากหลายที่เข้าด้วยกนั ซึ่งอาจจะถกู เชื่อมต่อจากคนละจงั หวัด หรอื คนละประเทศก็ ได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทที่มีสาขาแยกย่อยตามจังหวัดต่าง ๆ สาขาที่หน่ึงอาจจะใช้โทโพโลยีแบบดาว อีกสาขา หนึ่งอาจใช้โทโพโลยีแบบบัส การเชื่อมต่อเครือข่ายเข้าด้วยกันอาจใช้ส่ือกลางเป็นไมโครเวฟ หรือดาวเทียม เป็นตน้ Advertisementsพอสมควรระยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในอาชีพของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (Digital Ci3 ความหมายของอนิ เทอรเ์ นต็ อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่าง เครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาท่ีใช้ส่ือสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถส่ือสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้น ข้อมลู และขา่ วสารตา่ ง ๆ รวมทั้งคดั ลอกแฟม้ ข้อมลู และโปรแกรมมาใช้ได้ ประวัตคิ วามเป็นมาของอินเทอรเ์ นต็ อินเทอร์เน็ตเกิดข้ึนในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครือข่าย ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork) ซึ่งเป็นเครือข่ายสานักงานโครงการวิจัยช้ันสูงของกระทรวงกลาโหม ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์หลักของการสร้างเครือข่ายคือ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และมี ปฏิสัมพันธ์กันได้ เครือข่าย ARPANET ถือเป็นเครือข่ายเร่ิมแรก ซึ่งต่อมาได้พัฒนาให้เป็นเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ ในปจั จุบนั การเช่อื มตอ่ เข้าสรู่ ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ การเชื่อมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้าสู่อินเทอร์เน็ตผู้ใช้จะต้องสมัครเป็นสมาชิกเครือข่ายจะต้องมีบีป ระจา เคร่ือง (Account Number) ที่ศูนย์บริการ แล้วเชื่อโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครื่องที่ศูนย์บริการ โดยใช้

16 สายโทรศัพท์ผ่านทางโมเด็ม (Modem) และจะมีซอฟต์แวร์ทาหน้าที่แปลงคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เป็นเทอร์มนิ ัล ของคอมพิวเตอร์ท่ีศูนย์บริการเมื่อสมัครเป็นสมาชิกแล้ว ผู้ใช้จะมี User ID หรือ User name หรือ Login name และ Password ผใู้ ช้จะตอ้ งจดั เตรียมและเชือ่ มต่ออปุ กรณ์ดังน้ี 1.เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ไมจ่ ากดั ชนดิ และย่หี ้อ สว่ นใหญท่ นี่ ยิ มใช้จะใชเ้ ครอ่ื ง PC 2.โมเด็ม ทาหน้าท่ีช่วยใหค้ อมพิวเตอร์แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ ความเร็วของโมเด็มเป็นความเรว็ ในการส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ โมเด็มมีขนาดความเร็วต่าง ๆ กัน โมเด็มมีขนาดความเร็วสูงต้ังแต่ 14.4 Kbps ขึ้นไป สว่ นใหญ่แลว้ จะมคี วามสามารถรบั ส่ง Fax ไดด้ ว้ ย เรียกกว่า Fax Modem โมเด็มที่มคี วามเรว็ สูง จะมีราคาแพงกว่า ความเร็วของโมเด็มวัดเป็นบิดต่อวนิ าที (bps) ไอพแี อดเดรส IP Address คอื อะไร ไอพี แอดเดรส คือ หมายเลขประจาเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ IP Address ย่อมาจากคาเต็มว่า Internet Protocal Address คือ หมายเลขประจาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่องในระบบเครือข่ายท่ีใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP ถ้าเปรียบเทียบก็คือบ้านเลขที่ของเรานั่นเอง ใน ระบบเครือขา่ ย จาเป็นจะต้องมีหมายเลข IP กาหนดไว้ใหก้ ับคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์อืน่ ๆ ทตี่ อ้ งการ IP ทงั้ น้ี เวลามีการโอนย้ายข้อมูล หรือส่ังงานใดๆ จะสามารถทราบตาแหน่งของเครื่องท่ีเราต้องการส่งข้อมูลไป จะได้ ไม่ผิดพลาดเวลาส่งข้อมูล ซ่ึงประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเคร่ืองหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น โดยหมายเลข IP Address ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองจะมีค่าไม่ซ้ากัน สิ่งตัวเลข 4 ชุดนี้บอก คือ Network ID กับ Host ID ซึ่งจะบอกให้รู้ว่า เคร่ือง Computer ของเราอยู่ใน Network ไหน และเป็นเครื่องไหนใน network น้ัน เราจะรู้ได้อย่างไรว่า Network ID และ Host ID มีค่า เท่าไหร่ ก็ขึ้นอยูก่ บั วา่ IP Address น้ัน อยใู่ น class อะไร โปรโตคอลของอนิ เทอร์เนต็ อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล ย่อว่า ไอพี (อังกฤษ: Internet Protocol: IP) หรือ เกณฑ์วิธีอินเทอร์เน็ต[1] เป็นโพร โทคอลการส่ือสารท่ีสาคัญใน Internet protocol suite สาหรับถ่ายทอดดาต้าแกรม(หน่วยข้อมูลพ้ืนฐานของ แพ็กเกต ซึ่งการส่ง, เวลาถึงและลาดับท่ีถึง ไม่ถูกรับประกันโดยเครือข่าย)ข้ามเขตแดนเครือข่าย ฟังก์ชันการ กาหนดเสน้ ทางของมันจะชว่ ยงานภายในเครื่อข่ายและก่อตัง้ ระบบอนิ เทอร์เนต็ ขึน้ การทางานของไอพีเป็นการ ทางานแบบไมร่ บั ประกันความถูกต้องของข้อมูล รุ่นปัจจุบันคือ IPv4 และกาลังอยู่ในช่วงผลักดันให้ใช้ IPv6 ในอดีต IP เป็นบริการดาต้าแกรมแบบ connectionless ใน Transmission Control Program เดมิ ท่ีถกู แนะนาโดย Vint Cerf และบอ๊ บ คาหน์ ในปี 1974; อีกตัวหนึ่งเป็น Transmission Control Protocol (TCP) แบบ connection-oriented ชุดโพรโทคอ ลอินเทอร์เน็ตจึงมักจะเรียกว่า TCP / IP รุ่นแรกของ IP, Internet Protocol เวอร์ชัน 4 (IPv4) เป็นโพรโท คอลทโ่ี ดดเดน่ ของอินเทอร์เน็ต ผรู้ บั ช่วงตอ่ ของมนั คอื Internet Protocol เวอรช์ นั 6 (IPv6) คาศัพทท์ ่ีใช้ในอินเทอรเ์ น็ต คาศพั ท์ทีส่ าคัญ ในการศึกษาเกี่ยวกบั อนิ เทอรเ์ นต็ ที่ควรทราบ มดี ังนี้ 1. Website หมายถงึ จานวนไฟล์หรอื จานวนหนา้ ทง้ั หมดของเวบ็ ไซต์น้ันๆ

17 2. WebPages หมายถงึ หน้าในแตล่ ะหนา้ หรือไฟลแ์ ต่ละไฟลท์ ี่ประกอบกันขน้ึ รวมๆ กนั กลายเป็นเว็บไซต์ 3. Homepage หมายถึง หน้าแรกของเว็บเพจทั้งหมดท่ีผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตจะพบเมื่อเข้าไปยังเว็บไซต์ หรืออาจจะกล่าวได้ว่าโฮมเพจเปรียบเสมือนสารบัญและคานาท่ีเจ้าของเว็บไซต์สร้างขึ้น นอกจากน้ีโฮมเพจ หนงึ่ ๆ อาจจะมกี ารเช่อื มกบั เวบ็ เพจ อื่นๆ อีกจานวนมากได้ 4. Web Browser หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับเป็นประตูเปิดสู่โลก WWW หรือก็คือ โปรแกรมท่ีใช้เล่นอินเทอร์เน็ตหรือโปรแกรมค้นดูเว็บ โดยเว็บเบราว์เซอร์จะเข้าใจและทางานตามคาส่ังของ ภาษา HTML โปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ท่ีนิยมใช้ในปัจจุบันมีหลายโปรแกรม เช่น Windows Internet Explorer (IE), Netscape Navigator, Mozilla Firefox, Opera, Chrome เปน็ ต้น 5. Webmaster หมายถึง บุคคลท่ีทาหน้าที่วางแผน ดูแล บริหาร และจัดการเว็บไซต์ เพ่ือให้เว็บไซต์น้ันๆ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไว้ 6. ISP ย่อมาจาก Internet Service Provider หมายถงึ ผใู้ ห้บรกิ ารอินเทอร์เน็ต หน้าท่ีหลกั คอื การใหบ้ ริการ อินเทอร์เน็ต โดยจะรวมไปถึงบริการ Webhosting ซง่ึ หมายถึง บรกิ ารให้เชา่ พนื้ ท่ี Website และผู้ท่ีทาหน้าที่ ดูแล Webboard สาธารณะ โดยอาจรวมถึง Webmaster ที่มีความรับผิดชอบโดยตรงกับข้อมูลที่ปรากฏ บนเวบด้วย บริษัทท่ีเป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต เช่น บริษัท ล็อกซ์เล่ย์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จากัด , บริษัท เคเอสซี คอมเมอร์เชียล อินเทอร์เน็ต จากัด, บริษัท อินโฟ แอคเซส จากัด, บริษัท สามารถ อินโฟเน็ต จากัด เปน็ ต้น 7. WWW ย่อมาจาก World Wide Web เป็นเทคนิคในการนาเสนอข้อมูลในลักษณะส่ือประสม ที่เป็น ข้อความ ภาพ และมัลติมิเดียเข้าไว้ด้วยกัน อยู่ในรูปเอกสารแบบ Hypertext ซ่ึงภายในเอกสารจะมีจุดเช่ือม โยง (link) ไปยังเอกสารอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เอกสารต่างๆ ท่ีเชื่อมโยงกันเหมือนใยแมงมุม เป็นท่ีมาของคาว่า Web 8. HTTP ย่อมาจาก HyperText Transfer Protocol เป็นโปรโตคอลสาหรับเปิดดูข้อมูลจาก www เรียกใช้ งานไดโ้ ดยระบุ http:// และตามด้วย URL ในชอ่ งกรอก Address ด้านบนของโปรแกรมเวบ็ บราวเซอร์ 9. HTML ย่อมาจาก Hypertext Markup Language คือ ภาษามาตรฐานท่ีใช้ในการสร้าง เว็บเพจ เพื่อนา ไปแสดงผลในโปรแกรม Web browser เอกสารเว็บเพจจะมีนามสกุลเป็น .htm หรือ .html - 166 - เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 10. TCP/IP ย่อมาจาก Transmission Control Protocol/Internet Protocol เป็นระบบโปรโตคอล การ ส่ือสารพื้นฐานของระบบอินเตอร์เน็ต สามารถใช้เป็น โปรโตคอลในการสื่อสารภายใน เครือข่ายส่วนบุคคล เรียกว่า intranet และ extranet ได้เมื่อมีการติดต่อโดยตรงกับ internet เครื่องคอมพิวเตอร์จะได้รับการ คดั ลอกโปรแกรม TCP/IP เช่นเดียวกบั คอมพิวเตอรอ์ ่ืน ๆ เพือ่ ทาใหส้ ่งขอ้ ความขอรบั สารสนเทศ 11. WAP ย่อมาจาก Wireless Application Protocal เป็น Communication Protocal ท่ีมีพื้นฐานมา จาก Internet Protocal ซ่ึง WAP เป็นมาตรฐานเปิดของระบบการส่ือสารด้านข้อมูลไร้สาย การใช้งาน อินเทอร์เน็ต ผ่านบริการของเคร่ืองมือส่ือสารไร้สาย อันได้แก่ โทรศัพท์เคล่ือนท่ี หรือ เคร่ืองมือสื่อสารไร้สาย อื่นๆ (โดยไม่ต้องมีโมเดม็ หรอื ตัวแปลงสญั ญาณอ่ืนๆ)

18 12. Wi-Fi ย่อมาจาก Wireless Fidelity เป็นศัพท์ของประเภทเครือข่ายท้องถ่ินไร้สาย (WLAN : Wireless Local Area Network) 13. GPRS ย่อมาจาก General Packet Radio Services เป็นบริการด้านการสื่อสารไร้สายแบบแพคเก็ตท่ี ยอมให้อัตราข้อมูลจาก 56 ถึง 114 kbps และการเชื่อมต่อเน่ืองกับอินเตอร์เน็ตสาหรับผู้ใช้โทรศัพท์และ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค GPRS มีพ้นื ฐานบนการสอ่ื สารแบบ Global System for Mobile (GSM) 14. EDGE (เอดจ)์ ยอ่ มาจาก Enhance Data Rates for Global เป็นเทคโนโลยีมอื ถอื อีกขน้ั หนึ่งทพ่ี ฒั นาขึ้น จาก GPRS ใชร้ บั -สง่ ข้อมลู ดว้ ยเครือขา่ ยไรส้ ายความเร็วสงู สงู กวา่ ระบบ GPRS ถงึ 4 เท่าตวั จดั เป็นเทคโนโลยี ระดับ 3 G ยุคต้น ๆ ส่วนจีพีอาร์เอสเรียกว่ายุค 2.5 G การใช้เทคโนโลยีเอดจ์นั้นจะทาให้ผู้ใช้บริการสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการดาวน์โหลดวิดีโอคลิป ส่งข้อมูลมัลติมีเดีย และวิดีโอสตรีมม่ิงซ่ึง อนาคต เร่ืองวิดีโอ แชร์ริ่ง หรือการใช้มือถือถ่ายวิดีโอ ส่งผ่านให้เพื่อน ๆ ดูแบบเรียลไทม์ก็สามารถเกิดข้ึนได้ จริง ในปัจจุบันเทคโนโลยสี ารสนเทศมีการเปลยี่ นแปลงอย่างมาก เมื่อเข้าสู่ยคุ สงั คมดจิ ิตอลทมี่ ี การติดตอ่ สื่อสารกันดว้ ยความรวดเร็วและซบั ซ้อน ตลอดจนมีการแข่งขนั ทร่ี นุ แรง ท าใหเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศไม่ได้เปน็ เพยี งเครื่องมือสนบั สนุนในการด าเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ใหส้ ะดวกและรวดเร็วขึน้ เท่านั้น แตไ่ ดก้ ลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ าวันของมนุษย์ มีความส าคัญ และเก่ยี วขอ้ งกบั คน ทกุ ระดบั ทง้ั ในระดับประเทศ ระดับองค์กร หรือระดบั บคุ คล ดังน้ี ระดบั ประเทศ ตามนโยบายเศรษฐกิจและสงั คมดจิ ิตอลของรฐั บาลใหม้ กี ารน าเทคโนโลยี สารสนเทศทที่ นั สมัย และหลากหลายมาเปลย่ี นแปลงวิธกี ารการด าเนินชวี ิตของประชาชน การด าเนิน ธรุ กจิ การด าเนนิ งานของภาครัฐ ซงึ่ จะส่งผลให้ประชาชนมีความรอบร้สู ามารถพัฒนา และใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศไดอ้ ย่างรู้เท่าทนั มโี อกาสในการสร้างรายไดแ้ ละมีคุณภาพชวี ิตท่ี ดีขนึ้ เกิดความมงั่ ค่งั ทางเศรษฐกิจท่ีแขง่ ขนั ได้ในเวทีโลก และความมน่ั คงทางสังคมของประเทศตอ่ ไป ระดบั องค์กร ในยคุ ของสงั คมดิจิตอลทท่ี าใหส้ ามารถท างานได้ทุกสถานท่ี และทุกเวลาตลอด 24 ชั่วโมง ทัง้ องค์กรภาครฐั และเอกชนตอ้ งพบกับข้อมูลจ านวนมหาศาลอย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้ ดังนนั้ ความสามารถในการท างานผา่ นเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตความเข้าใจเครือขา่ ยสังคมออนไลน์การซื้อ สนิ ค้าและบริการทางอนิ เตอรเ์ น็ต และการวเิ คราะห์ข้อมูลอย่างชาญฉลาด จงึ เปน็ ส่งิ จ าเป็นเพอ่ื ความ อยู่รอดขององค์กร การด าเนินงานในองค์กรจงึ ต้องมีเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือเปน็ เคร่ืองมือชว่ ยใน การปฏิบัตงิ านที่รวดเร็ว ชว่ ยเพมิ่ ผลผลิต ลดต้นทนุ ใช้เป็นกลยุทธ์เพ่อื ความได้เปรียบในการแข่งขนั สร้างความพึงพอใจกับลูกค้าหรอื กลมุ่ เป้าหมาย และเกดิ ประสิทธิภาพในการด าเนนิ งาน ระดับบุคคล ส าหรบั คนทว่ั ไปเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เข้าถงึ ข้อมูลขา่ วสาร สามารถ

19 พฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ คนทีฉ่ ลาด รเู้ ทา่ ทันสื่อ เท่าทันโลก และยงั เป็นเคร่ืองมือในการสรา้ งศักยภาพของ บุคคล ช่วยยกระดบั คนไปสสู่ งั คมแห่งการเรยี นรูแ้ ละสามารถน าไปใชใ้ นการประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างมี คณุ ภาพ นอกจากน้เี ทคโนโลยสี ารสนเทศยงั เป็นสว่ นหนึง่ ในด าเนินชวี ติ ประจ าวันของคนปัจจบุ ัน เชน่ ดูรายการโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซอื้ สินค้าผ่านทางอินเตอรเ์ น็ต จองต๋วั เดินทางแบบ ออนไลน์ การลงทะเบียนหรอื ดผู ลการเรยี นทางเวบ็ ไซต์เป็นต้น นอกจากน้เี ทคโนโลยสี ารสนเทศยงั มคี วามส าคญั และเกี่ยวข้องกับคนทกุ ระดับ ไม่ว่าจะเป็น นักเรยี น นักศึกษา ขา้ ราชการ ผ้ปู ระกอบการ ผูบ้ ริหาร นักธรุ กจิ หรือบุคคลท่วั ไป ดังนน้ั ในฐานะ นักเรียน นักศกึ ษาจงึ จ าเปน็ ตอ้ งมที ักษะในการน าเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือส าหรับ การแสวงหาความรูอ้ ยา่ งถูกวิธี น ามาปรบั ใชอ้ ย่างถูกตอ้ ง และเกดิ ประโยชน์สงู สุด สามารถน าองค์ ความร้ทู ี่มอี ยูม่ าบรู ณาการเชิงสรา้ งสรรค์ เพ่ือพฒั นานวัตกรรมต่างๆ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละสามารถ ตอบสนองความต้องการของสงั คม และมีทักษะในการปฏิสมั พันธก์ บั คนในสังคมปกติและในสงั คม ออนไลน์เพอ่ื ทจี่ ะสามารถท างาน หรอื อยรู่ ่วมกันในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข เทคนคิ การสืบคน้ ข้อมูล 1. การค้นหาแบบพื้นฐาน (Basic search) เป็นการค้นหาสารสนเทศอย่าง ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน โดยใช้คาโดดๆ หรอื ผสมเพียง 1 คา ในการสบื คน้ ขอ้ มลู โดยสว่ นใหญ่การคน้ หาแบบงา่ ยจะมีทางเลือกในการค้นหา ช่ือผู้แต่ง (Author) เป็นการค้นหาโดยใช้ชื่อของบุคคล กลุ่มบุคคล นามปากกา หรือช่ือหน่วยงาน/องค์กร ที่ เปน็ ผู้แต่งหรือเขียนหนงั สือ บทความ งานวจิ ัย วทิ ยานพิ นธ์ หรอื ทรพั ยากรสารสนเทศนน้ั ๆ ชื่อเร่ือง (Title) เป็นการค้นหาข้อมูลด้วยชื่อเรื่อง เช่น ช่ือหนังสือ ช่ือบทความ ช่ือเรื่องส้ัน นวนิยาย ชื่อ งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ การค้นโดยใช้ช่ือเรื่องนี้ เป็นการค้นหาแบบเจาะจงต้องรู้จักชื่อเร่ือง หลักการค้นหา ด้วยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ค้นหาตามชื่อนั้นๆ ได้เลย โดยระบบ จะทาการค้นหาจากช่อื เรือ่ ง เร่มิ จากอักษรตัวแรกและตวั ถัดไปตามลาดับ หัวเร่ือง (Subject Heading) คือคาที่กาหนดขึ้นมา เพ่ือใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธห์ รอื ทรัพยากรสารสนเทศ หัวเรอ่ื งทีใ่ ช้ในการคน้ หาน้ัน คาสืบค้น (Keywords) คือ การค้นหาด้วยคาท่ีกาหนดข้ึนมา เพื่อใช้แทนเร่ืองที่ต้องการค้นหา โดยท่ัวไปคา สาคัญจะมลี ักษณะท่ีสนั้ กะทดั รดั ได้ใจความ มีความหมาย เปน็ คานามหรอื เป็นศัพท์เฉพาะในแตล่ ะสาขาวชิ า 2. การค้นหาแบบขั้นสูง (Advanced Search) เป็นการค้นหาที่ซับซ้อนมากกว่าแบบพื้นฐาน ซึ่งมีเทคนิค หรือรูปแบบการค้นท่ีจะช่วยให้ผู้ค้นสามารถจากัดขอบเขตการค้นหา หรือค้นแบบเจาะจงได้มากขึ้น เพื่อให้ สามารถค้นหาข้อมูลไดท้ ต่ี รงกับความตอ้ งการมากทส่ี ุด การสืบค้นขอ้ มูล โดยใช้ operator เป็นการค้นหา โดยใชค้ าเชอ่ื ม 3ตัว คือ AND, OR, NOT ดังน้ี - AND ใช้เชือ่ มคาคน้ เพอื่ จากดั ขอบเขตการคน้ หาใหแ้ คบลง

20 เช่น ต้องการค้นหาคาว่า ส้มตาที่เป็นอาหาร มีรูปแบบการค้นดังนี้ คือ ส้มตา AND อาหาร หมายถึง ต้องการ ค้นหาคาว่า สม้ ตา และคาว่า อาหาร - OR ใชเ้ ชอ่ื มคาคน้ เพอ่ื ขยายขอบเขตให้กวา้ งข้นึ เชน่ ส้มตาไทย OR สม้ ตาปปู ลารา้ หมายถึง ต้องการคน้ หาคาว่า สม้ ตาไทย และ ส้มตาปูปลาร้า หรือค้นหาคา ใดคาหน่ึงก็ได้ - NOTใช้เชอื่ มคาคน้ เพ่อื จากัดขอบเขตให้แคบลง เช่น ต้องการค้นหาคาว่า ส้มตา AND อาหาร NOT เพลง หมายถึง ต้องการค้นหา คาว่า ส้มตา เฉพาะที่เป็น อาหาร ไม่เอาเพลงส้มตา เปน็ ต้น - NEAR ใชเ้ มือ่ ต้องการใหค้ าทกี่ าหนดอยหู่ า่ งจากกันไม่เกนิ 10 คา ในประโยคเดยี วกันหรือใกล้เคยี งกนั เช่น Research NEAR Thailand ข้อมูลท่ีได้จะมีคาว่าResearch และ Thailand ท่ีห่างกันไม่เกิน 10 คา ตัวอยา่ งเชน่ Research on the Cost of Transportation in Thailand - BEFORE ใช้เมื่อต้องการกาหนดใหค้ าแรกปรากฏอยูข่ ้างหน้าคาหลงั ในระยะห่างไม่เกิน 8 คา เชน่ Research BEFORE Thailand - AFTER ใช้เมื่อต้องการกาหนดใหค้ าแรกปรากฏอยขู่ า้ งหลังคาหลังในระยะหา่ งไมเ่ กิน 8 คา เช่น Research AFTER Thailand - (parentheses) ใชเ้ ม่อื ต้องการกาหนดใหท้ าตามคาสัง่ ภายในวงเลบ็ ก่อนคาสงั่ ภายนอก เชน่ (Research OR Quantitative) and Thailand ความหมายของการจัดเก็บและสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศ เมื่อทาการสืบค้นหรือค้นหาข้อมูลสารสนเทศได้แล้วถ้าต้องการที่จะจัดเก็บข้อมูลที่ค้นหาเหล่าน้ั นไว้ใช้งาน ตา่ งๆ ต่อไปนี้ ก็ต้องดาเนนิ การจดั เกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศ ซ่งึ มีวธิ จี ัดเก็บดงั นี้ การจัดเกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศในรูปแบบของข้อความ จะมไี ฟล์ขอ้ มูลทจี่ ะต้องทาการจัดเกบ็ ใน 3 รูปแบบ คือ 1.1ข้อความที่ปรากฏอยู่หน้าเว็บไซต์แล้วคลิกท่ี Cop (คัดลอก) ทาการเปิดโปรแกรม Microsoft Word หรือ โปรแกรมท่ตี อ้ งการ แลว้ คลกิ เมาสข์ ้างขวาบรเิ วณตาแหนง่ ท่ตี ้องการวาง เสรจ็ แล้วใหค้ ลิก Paste (วาง) 1.2ข้อความท่ีมีรูปแบบไฟล์ .doc เม่ือทาการค้นหาข้อมูลท่ีต้องการ จะปรากฏชื่อรูปแบบของไฟล์ ถ้าเป็น ข้อมูลที่สร้างโดยโปรแกรม Microsoft Word จะปรากฏชื่อไฟล์ DOC ให้คลิกท่ีช่ือเรื่องท่ีต้องการจะเริ่ม ดาเนินการดาวน์โหลดข้อมูลให้คลิกท่ีช่ือไฟล์ข้อมูลท่ีทาการดาวน์โหลดเสร็จแล้ว เพื่อดาเนินการเปิดข้อมูลทา การจัดเกบ็ ข้อมูลโดยคลกิ ที่ File (แฟ้ม) ทเ่ี ราตอ้ งการ แล้วคลิก Save (บันทึก) 1.3 ขอ้ ความที่มีรูปแบบไฟล์ .pdf ไฟล์ PDF เปน็ ไฟล์ที่เปิดด้วยโปรแกรม Acrobat ซง่ึ จะปรากฏชอื่ ไฟล์ PDF ให้ทาการคลิกชื่อไฟล์ข้อมูลท่ีต้องการจัดเก็บ จะปรากฏกรอบให้ทาการดาวน์โหลด ดังนี้ ทาการจัดเก็บข้อมูล โดยคลิกที่ File (แฟม้ ) ทเ่ี ราตอ้ งการ แล้วคลกิ Save (บันทกึ ) 1.4ข้อความท่ีมีรูปแบบไฟล์ ppt ไฟล์ PPT เป็นแฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บโดยใช้โปรม Microsoft PowerPoint ซึ่ง เม่ือคลิกท่ีบริเวณช่ือจะปรากฏช่ือเร่ืองท่ีต้องหารแล้ว จะปรากฏกรอบให้ดาวน์โหลดดังน้ี ทาการจัดเก็บข้อมูล

21 โดยคลิกท่ี File (แฟ้ม) ที่เราต้องการ แล้วคลิก Save (บันทึก) จะปรากฏรายละเอียดของเร่ืองที่เราต้องการใน รูปแบบของไฟล์ PowerPoint การเตรียมการค้นคืนสารสนเทศ การเข้าถึง(Access) เป็นวิธีการท่ีผู้ใช้สามารถค้น ค้นหา ค้นคืน และได้รับ สารสนเทศ ที่เข้าถึงเป็นทรัพยากรสารสนเทศท่ีสถาบันบริการสารสนเทศและแหลง่ ต่างๆ จัดเก็บไว้บริการผู้ใช้ การค้นหา (Searching) เป็นการป้อนคาส่ังโดยผู้ค้นเตรียมประโยคหรือคาค้นไว้ และปฏิสัมพันธ์กับระบบค้น คนื และพิจารณาผลท่ไี ดร้ บั ซ่ึงเปน็ ขั้นตอนในกระบวนการคน้ หา การคน้ คนื (Retrieval) หมายถึง การไดร้ ับสิ่งต้องการกลับคนื มาการค้นคืนสารสนเทศ จงึ เป็นการกระทาใดๆท่ี คัดเลือกสารสนเทศจากแหล่งเก็บเพ่ือทาให้ได้รับสารสนเทศตามที่ต้องการซ่ึงอาจเป็นข้อมูล หรือรายการ เอกสาร ที่มีเน้ือหาท่ีต้องการหลักสาคัญของการค้นคืนสารสนเทศคือ การค้นหาและนาสารสนเทศท่ีตรงตาม ความต้องการ ส่งให้ผู้ใช้อย่างรวดเร็ว ทันกาล จึงเรียกว่า ระบบการค้นคืนสารสนเทศ เช่น บัตรรายการ สง่ิ พมิ พด์ รรชนี เป็นตน้ สรุป การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ คือ กระบวนการในการรวบรวมรายละเอียดของสารสนเทศและ ทรัพยากรสารสนเทศท่ตี อ้ งการกลบั คืนมาได้สะดวกและรวดเรว็ ดว้ ยวธิ ีและเทคนิคอยา่ งเป็นข้ันตอน การเตรยี มการในการคน้ คนื สารสนเทศ มขี ัน้ ตอนในการปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1.การเตรียมรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการ WHO หมายถึงเร่ืองราวท่ีกาลังต้องการค้นหาเก่ียวกับใคร ได้มีการ ปรึกษาบุคคลอื่นก่อนหรือไมแ่ ละมีการพดู คยุ กบั กลุม่ หรือบุคคลเปา้ หมายใดบ้าง WHAT หมายถึง ต้องการสนเทศอะไรบ้างหรือประเภทใดบ้างที่ต้องการการคาดว่าทรัพยากรสารสนเทศใดมี ประโยชน์สูงสุดต่อการค้นหา มีการตรวจสอบทรัพยากรท่ีมีอยู่ เพ่ือย่นระยะเวลาในการค้นหาและรูปแบบ สารสนเทศที่ตอ้ งการเป็นอย่างไร WHERE หมายถึง ข้อมูลที่ต้องการค้นหาเกิดข้ึนท่ีไหน สามารถค้นพบได้แหล่งใด และในอนาคตจะสามารถ ค้นหาสารสนเทศที่ตอ้ งการได้จากที่ไหน WHY หมายถึง จะต้องการสารสนเทศมากน้อยแค่ไหน จะนาทรัพยากรสารสนเทศท่ีรวบรวมมาได้มา สังเคราะห์อย่างไร มีงบประมาณเท่าไร เพียงพอ หรือไม่ท่ีจะสืบค้น วิธีการค้นหาข้อมูล มี 2 แบบ ท้ังแบบ ออนไลน์ และแบบออฟไลน์ จะขอความชว่ ยเหลอื อยา่ งไรถ้าเกดิ ปญั หา

22

ค อ้างองิ https://www.google.com/search?q=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0 %B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0 %B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0% B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B 8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8 %8A%E0%B8%B5%E0%B8%9E+pdf&oq=%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84&aqs=chrom e.0.69i59l2j69i57j0l3.5088j0j8&sourceid=chrome&ie=UTF-8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook