Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปราชญ์ชาวบ้านโพนเพ็ก

ปราชญ์ชาวบ้านโพนเพ็ก

Published by Weerawut Chainu, 2019-12-18 00:59:49

Description: ปราชญ์ชาวบ้านโพนเพ็ก

Keywords: ปราชญ์ชาวบ้านโพนเพ็ก

Search

Read the Text Version

บคุ คลแห่งการเรียนรู้ปราชญ์ชาวบา้ น นางทองเลศิ สอนจันทร์

ประวัตินางทองเลิศ สอนจันทร์ นางทองเลิศ สอนจันทร์ เกิดวันท่ี 5 ตุลาคม 2509 ปจั จุบนั อายุ 46 ปี เปน็ คนภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื เกิดท่อี าเภอมญั จาครี ี จงั หวัดขอนแกน่ ได้สมรสกบั นายรศั มี สอนจันทร์ มีบตุ รด้วยกนั 3 คน คือ ชาย 2 คน หญิง 1 คน ปจั จบุ นั อยู่บา้ นเลขท่ี 36 หมู่ที่ 9 บ้านหนองหญา้ ปลอ้ ง ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมญั จาครี ี จังหวัดขอนแกน่ 40160 ด้านการศึกษา จบระบบชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายจากศนู ย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอมัญจาครี ี กาลังศกึ ษาต่อ ระดับปรญิ ญาตรี โครงการมหาวิทยาลยั ราชภัฎชยั ภูมิ ปัจจุบนั ดารงตาแหนง่ รองนายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโพนเพ็ก อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น เกยี รติยศที่ได้รับ 1. ผ้นู าองคก์ รเครอื ขา่ ยชมุ ชนดีเดน่ ปี 2549 2. ผนู้ าเครอื ขา่ ยพฒั นาชมุ ชนดเี ดน่ ปี 2552

ประวัตคิ วามเปน็ มาของหมู่บา้ นและภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ เก่ียวกบั การเล้ยี งไหมป่า สาระสาคัญ บา้ นหนองหญา้ ปล้อง หมู่ 9 ต.โพนเพก็ อ.มญั จาคีรี จงั หวดั ขอนแก่น จานวนประชากร ชาย 326 คน หญงิ 353 คน รวม 679 คน สว่ นใหญ่สบื เช้ือสายมาจากชาวอาเภอมญั จาคีรี และชาวอาเภอชนบท ภาษาที่ใช้ คอื ภาษาอีสานและภาษากลาง วิถีชวี ติ ความเป็นอยู่แบบพงึ่ พาอาศยั กันสังคมชนบทมีความเปน็ อยู่แบบ เศรษฐกิจพอเพียง อาชพี หลกั ทานา อาชพี รองทาไร่ ทาสวน อาชีพเสริมในหมู่บา้ น การเลี้ยงไหม การยอ้ มผา้ ไหมผา้ ฝาู ยมดั หมี่ย้อมสีจากธรรมชาติ ผลติ ภัณฑ์จากกก กล่มุ มะมว่ งแซ่อิ่ม บว๊ ย เล้ียงจง้ิ หรีดในบ่ซีเมนต์ สภาพแวดล้อมเป็นที่ราบลุ่ม ดินเปน็ ดินเหนียวและดินรว่ มปนทราย ต้งั อยูใ่ นเขตภมู อิ ากาศแบบร้อนชน้ื แห้ง แล้ง ฝนตกน้อย ประชากนส่วนใหญ่รกั ความสงบ มีความเช่ือเรื่องบาปบุญคณุ โทษ มีความสามคั คีปรองดองกนั มคี วามเออื้ เฟ้อื เผ่ือแผ่ตอ่ กนั มคี วามสามัคคีกนั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั 1. บอกประวัติของหม่บู ้านหนองหญา้ ปล้องได้ 2. บอกประวตั ภิ มู ิปญั ญาชาวบา้ นแหง่ บ้านหนองหญา้ ปลอ้ งได้ 3. บอกความร้ทู ว่ั ไปเกี่ยวกับการเลยี้ งไหมปาุ ได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา มี 3 เร่ืองดังน้ี เรื่องที่ 1.1 ประวัติของหมู่บ้านหนองหญ้าปลอ้ ง เรอื่ งท่ี 1.2 ประวตั ิภมู ิปัญญาชาวบ้านแห่งบา้ นหนองหญ้าปล้อง เร่ืองที่ 1.3 ความรทู้ ่ัวไปเก่ียวกับการเลี้ยงไหมปาุ

เร่อื งที่ 1.1 ประวตั ิของหมู่บ้านหนองหญ้าปลอ้ ง วิถีชวี ติ ชุมชนบา้ นหนองหญ้าปลอ้ ง เปน็ วิถีชวี ติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียงมอี าชีพหลักคือทานา อาชีพ เสริม คือ ทาสวน ทาไร่ ปลกู หม่อนเล้ยี งไหม ทาผลิตภัณฑ์จากกก กลมุ่ ฝร่ัง มะมว่ งแซบ่ ว๊ ย เลี้ยงจง้ิ หรีดในบอ่ ซีเมนต์ สภาพแวดลอ้ มเปน็ ทร่ี าบล่มุ ดนิ เป็นดนิ เหนยี วและดินรว่ นปนทราย ต้งั อยู่ในเขตภมู อิ ากาศแบบร้อน ชื้น แหง้ แล้ง ฝนตกน้อย ด้านศาสนาและความเชื่อ ประชากร 100% นับถือศาสนาพุทธ สถานทีส่ าคญั ทาง ศาสนามี 2 แห่ง คอื วดั สาราญชัย ซึ่งเป็นวัดประจาหมบู่ ้าน และท่พี กั สงฆ์วิเวกธรรม ประชากรสว่ นใหญ่รัก สงบมีความเช่อื เร่อื งบาป บุญ คุณ โทษ มีความสามัคคปี รองดอง และมีความเอื้อเฟ้ือเผ่อื แผ่ต่อกัน และ เนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ มเขตภูมอิ ากาศแหง้ แลง้ ฝนตกน้อย จงึ มีแนวทางการพฒั นาสง่ เสรมิ ทรัพยากรธรรมชาติ โดย 1. ปลูกไมย้ ูคาลปิ ตัส 2. ปลูกพชื ฝักสวนครวั 3. ปลกู มันสาปะหลัง 4. ปลกู อ้อย 5. ปลกู พืชทตี่ ้องการนา้ นอ้ ย ปกติในหมบู่ า้ นจะปลูกหม่อนเพ่ือเลีย้ งไหมเปน็ อาชพี รองปลูกพืชท่ีต้องการน้าน้อย ปกติในหมู่บา้ นจะ ปลกู หม่อนเพ่อื เลย้ี งไหมเปน็ อาชีพรอง ประวัติหมบู่ ้านหนองหญ้าปล้อง หม่ทู ่ี 9 ตาบลโพนเพก็ อาเภอมัญจาครี ี จังหวัดขอนแก่น 1. สภาพภมู ศิ าสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม สถานท่ีตง้ั บ้านเลขท่ี 36 บา้ นหนองหญ้าปลอ้ ง หมู่ 9 ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมัญจาคีรี จังหวดั ขอนแกน่ เปน็ ศูนยผ์ ลติ และจาหนา่ ยสินค้า OTOP ของคุณทองเลิศ สอนจนั ทร์ เป็นประจาตาบลโพนเพ็ก เป็น แหลง่ ทอ่ งเที่ยวของตาบล และเปน็ สถานทตี่ ้ัง กศน.ตาบลโพนเพก็

1.1 อาณาเขต เนอ้ื ทป่ี ระมาณ 1,431 ไร่ ทศิ เหนอื จด บ้านโนนคูณ ตาบลโพนเพก็ อาเภอมัญจาคีรี จงั หวัดขอนแกน่ ทศิ ใต้ จด บ้านหนองไฮ ตาบลโพนเพก็ อาเภอมญั จาคีรี จงั หวัดขอนแก่น ทิศตะวนั ออก จด บ้านขามปอู ม ตาบลโพนเพก็ อาเภอมัญจาคีรี จงั หวดั ขอนแกน่ ทิศตะวันตก จด บา้ นคาแคนใต้ ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมญั จาคีรี จังหวดั ขอนแก่น 2. สภาพภมู ิประเทศ / ภมู ิอากาศ บ้านหนองหญา้ ปล้องมสี ภาพภมู ิประเทศเปน็ ที่ราบลมุ่ ดนิ เป็นดนิ เหนียวและดินรว่ นปนทราย ตง้ั อยู่ในเขตภมู อิ ากาศแบบรอ้ นชืน้ แห้งแลง ฝนตกนอ้ ย ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ส่ี าคัญของหมู่บา้ น ได้แก่ 1. หนองหญ้าปลอ้ ง 2. ฝายใหญ่ สาธารณะประโยชน์ 3. ฝายใหม่

3. แนวทางการพฒั นา ส่งเสริม ทรพั ยากรธรรมชาตไิ ด้แก่ 1. ปลูกไม้ยคู าลบิ ตัส ปลูกพืชผกั สวนครัว ปลกู มันสาปะหลงั ออ้ ย ขา้ ว 2. ขุดลอกหนองบงึ กกั เก็บน้าไว้ใช้ 3. ปลูกพืชท่ีต้องการน้าน้อย 4. ประชากร 4.1 จานวนประชากร ชาย 326 คน หญิง 353 คน รวม 679 คน ส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาว อาเภอมญั จาคีรี และชาวอาเภอชนบท ภาษาท่ีใช้คือ ภาษาอีสานและภาษากลาง 4.2 ศาสนาและความเชือ่ ประชากร 100 % นับถอื ศาสนาพุทธ สถานท่ีสาคัญทางศาสนามี 2 แหง่ คอื วัดสาราญชยั ซ่ึงเป็นวดั ประจาหมู่บ้าน และท่พี กั สงฆ์วเิ วกธรรม ประชากรส่วนใหญ่รกั สงบมี ความเชอื่ เร่ืองบาป บญุ คุณ โทษ มีความสามคั คีปรองดอง และมีความเอื้อเฟอื้ เผื่อแผ่ การประกอบอาชพี ของประชากรในหมบู่ า้ น มดี งั น้ี 1. เกษตรกร ทาไร่ ทานา ปลูกพชื และเลย้ี งสตั ว์ ประมาณ 95 % 2. รับราชการ รฐั วสิ าหกจิ พนักงาน โรงงาน บรษิ ทั ประมาณ 2 % 3. รบั จา้ งทัว่ ไป ว่างงาน อ่นื ๆ ประมาณ 3 % การเกดิ แหลง่ การเรียนรู้ 1. เกิดจากการถ่ายถอดความร้จู ากบรรพบรุ ษุ 2. เกดิ จากความสนใจและรักในอาชพี 3. เกดิ เปน็ รายได้เสริมในครอบครวั และหมบู่ ้าน 4. มคี วามขยนั อดทน ซอ่ื สตั ย์ ในอาชีพ จนประสบความสาเร็จเป็นทน่ี า่ ยกยอ่ งชมเชย

3. ศาสนาและวัฒนธรรม 3.1 ศาสนา ประชาชนส่วนใหญน่ ับถือศาสนาพทุ ธ คดิ เปน็ ร้อยละ 99.99 ศาสนาอืน่ ๆ ประกอบด้วย ศาสนาคริสต์ 3.2 วัฒนธรรมทอ้ งถิน่ มวี ัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ไดแ้ ก่ - วนั ลอยกระทง วนั ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 - งานวนั ปีใหม่ขอพรกับผ้สู ูงอายุ วันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 - วิปสั สนาประจาปี วนั ที่ 15 – 25 มกราคม พ.ศ. 2555 - บญุ กุ้มข้าวใหญ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 - วนั วิสาฆบูชา วันท่ี 18 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2555 - ผ้าปุา วนั ท่ี 13 เมษายน พ.ศ. 2555 - วนั สงกรานต์ “รดนา้ ดาหวั ผเู้ ฒ่าผู้แก่” วนั ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2555 - บญุ บ้ังไฟ วันท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ประเพณีวฒั นธรรม ตาบลโพนเพก็ มปี ระเพณีวัฒนธรรมท่สี ืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรษุ โดยถือ บุญประเพณีของภาคอีสาน คือ ฮีต 12 ครอง 14 และชาวบ้านตาบลโพนเพก็ ยงั ร่วมกนั ปฏิบตั ติ ามประเพณี อยา่ งเครง่ ครดั แต่ปัจจบุ ันมีการเปลีย่ นแปลงไปบ้างให้เหมาะสมกับยุคสมัย งานบุญประเพณีฮตี 12 คลอง 14 ที่ชาวบา้ นตาบลโพนเพ็กยังยดึ ถือปฏิบัติอยู่คือ งานบญุ ข้าวจี่ จัดขึ้นในชว่ งเดอื นกมุ ภาพันธ์ ถึงมนี าคม หรือเดือน 3 ของทกุ ปี ซึง่ มกี ารรว่ มกันทา กิจกรรมภายในหมู่บา้ นหลายอย่าง เชน่ การทาข้าวเกรยี บแผน่ หรอื ขา้ วโปรง่ เพ่ือไปตกั บาตรตอนเชา้ ท่วี ัดอาจมี ข้าวตม้ มัดไปรว่ มถวายดว้ ย เม่ือเสรจ็ งานบญุ ในชว่ งเช้าแลว้ ชาวบ้านกจ็ ะออกไปทาไร่ทานาตามปกติ งานประเพณสี งกรานต์ ซ่งึ จดั ขึ้นในเดือนเมษายน หรอื เดอื น 5 ในระหว่างวนั ที่ 13 – 15 เมษายน ของทุกปี จะมกี ารสรงนา้ พระ ผ้าปาุ ร่วมกนั ทง้ั 2 หม่บู ้าน มีขบวนแหร่ อบหมบู่ า้ นเวลาประมาณ 4 โมงเย็น บญุ เขา้ พรรษา จะจัดขึน้ ในวนั ขึน้ 15 คา่ เดอื น 8 จะมีการห่อขนม ข้าวต้ม ทาบญุ เล้ียงพระและฟงั เทศน์ มีการแห่เทยี นพรรษาร่วมกันทาบุญรักษาศลี มตี ้นเทยี น ดอกไม้เงนิ ดอกไมท้ องร่วมในงานแหด่ ้วย ชาวบา้ นสว่ นหนงึ่ ที่ต้องการจะงดเวน้ จากของมึนเมาในช่วงเข้าพรรษากจ็ ะปฏิญาณตนว่าจะงดเวน้ ในวันนี้

บญุ ขา้ วประดบั ดนิ จัดข้ึนในวันขึ้น 15 คา่ เดือน 9 ชาวบา้ นจะนาหอ่ ข้าว ทีเ่ รยี กว่า หอ่ ข้าวน้อย ภายในห่อขา้ วจะประกอบดว้ ย หมาก พลู ยาเส้น ของคาวที่เปน็ ของแห้ง จะใช้ใบตองห่อเป็นกระทงเล็กๆ และ ตอนกลางคืน ชาวบ้านจะนาห่อขา้ วเหลา่ น้ีไปวางไว้รอบๆวกั หรอื ตามต้นไม้ การประกอบพิธกี รรมนเี่ พือ่ อุทศิ ส่วนกศุ ลใหบ้ รรพบรุ ษุ และผไี ม่มญี าติ โดยมมี คั ทายกกลา่ วคาเรยี กวิญญาณใหม้ ารับส่วนกุศล บญุ ขา้ วสาก จัดทาข้นึ ในวันขน้ึ 15 ค่า เดือน 10 ชาวบ้านตาบลสวนหมอ่ นจะทาขา้ วหอ่ เชน่ เดยี วกับการ ทาบญุ ข้าวประกับดิน แต่เรยี นกว่า หอ่ ข้าวใหญ่ การทาบญุ กเ็ ช่นเดียวกันกบั บุญข้าวประดับดิน งานบญุ ออกพรรษา จัดขน้ึ ในวันขนึ้ 15 ค่า เดอื น 11 กอ่ นวันออกพรรษา 1 วัน จะมกี ารเตรียม อาหารไว้ตกั บาตรในช่วงเชา้ มีการแห่ดอกไมร้ ่วมกันทั้ง 2 หมบู่ า้ นและทาบญุ ทีว่ ดั ยังมีการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณีการทาดอกไม้ และร้อยมาลัยก่อนวนั ออกพรรษา 2 วัน ในตอนกลางคนื จะมกี ารเวียนเทียนและหนุ่ม สาวก็จะมกี ารเล่นประทดั ดอกไม้ไฟ ในตอนกลางคืนของวนั ทดั มาจะมกี ันเทศนโ์ ดยที่เราไม่ไดน้ ิมนตพ์ ระไว้กอ่ น (ภาษาพ้นื บ้านเรียกวา่ กณั ฑห์ ลอน) ชาวบา้ นจะนมิ นตพ์ ระข้ึนเทศนต์ อนกลางคนื และหน่มุ สาวจะเอาคาผญา มาโตต้ อบกันอยา่ งสนกุ สนาน พอวันรงุ่ ขน้ึ จะมกี ารตักบาตรเทโวโลหนะ บญุ กฐนิ งานบุญนีจ้ ะจดั ขน้ึ หลังจากออกพรรษาแลว้ มรี ะยะกาลภายใน 1 เดอื น คือนบั ต้ังแต่วันแรม 1 ค่า เดอื น 11 ถึงวนั ขึน้ 15 ค่า เดือน 12 ก่อนวนั งานจะมกี ารเตรียมอาหาร ห่อขนมข้าวตม้ มีการต้งั กองกฐนิ ไวท้ ี่บา้ นเจา้ ภาพ ซึง่ เจา้ ภาพจะทาการจองวัดท่ีจะทอดกฐินไว้ก่อน เพราะวัดหนง่ึ ๆ จะสามารถรับกฐินไดป้ ีละ 1 กองเทา่ น้ัน หลังจากตักบาตรและถวายภัตตาหารเพล ก็จะถวายองค์กฐินซ่ึงประกอบดว้ ยผา้ ไตร จวี ร เครอ่ื ง อฐั บริขารสาหรบั พระสงฆ์ บุญเบิกบา้ น จะจัดขนึ้ ในช่วงเดือนอ้าย หรือเดอื นธันวาคม ซงึ่ ถือเปน็ เดือนแรกในการนบั เดือนของ ไทย ชาวบา้ นจะรว่ มกนั จัดงานบญุ นี้ข้ึนทุกปี เพ่อื ทาบญุ ใหเ้ ปน็ สิรมิ งคลแกห่ มู่บา้ นและชาวบ้านท่ีอาศัยใน หมูบ่ า้ นทุกครัวเรือน และถอื เป็นการเรมิ่ ต้นปีใหม่ตามประเพณไี ทยอสี าน พธิ กี รรมจะเร่ิมโดยการนินมต์ พระสงฆม์ าสวดท่บี รเิ วณกลางหมูบ่ ้าน และทาบญุ เล้ียงพระรว่ มกนั ของชาวบา้ นทง้ั หมดหมู่ 1 ถึง หมู่ 15 หลงั จากนนั้ พระสงฆก์ ็จะรดน้านมิ นตต์ ามบ้านเรอื น ยุง้ ขา้ ว คอกสัตว์ เพือ่ ขับไลส่ งิ่ ชั่วรา้ ยในปีท่ีผ่านมา และ เพอ่ื เปน็ สิริมงคลในการเริม่ ต้นปใี หม่ ประเพณีแหด่ อกไม้ ชาวบ้านจะจดั บุญแหด่ อกไมห้ ลงั จากวันสงกรานต์ประมาณ 2 – 3 วัน ชาวบา้ น จดั งานบญุ นี้เพอ่ื บูชาพระยาแถน ซึง่ เป็นเทวดาและเป็นการขอฝน เพอ่ื ทีจ่ ะใหส้ ามารถทาการเกษตรไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เป็นการนาดอกไมม้ าบูชาพระยาแถนและพระสงฆ์ที่มาสรงนา้ ด้วย โดยพธิ ีการในการแห่ดอกไมจ้ ะจัด ใหม้ งี านบญุ 3 วัน เรม่ิ จากการทว่ี ดั จะตีระฆงั เรียกชาวบา้ นมารวมกันทว่ี ัด ชาวบ้านกจ็ ะถอื ภาชนะใส่นา้ และมี ดอกไม้มารว่ มขบวนแห่ ภายในขบวนจะมีพระภกิ ษสุ ามเณรร่วมขบวนอยดู่ ้วยพธิ นี ้ีจะจัดข้นึ ในช่วงเยน็

ประมาณ 5 โมงเยน็ แต่ละวนั ชาวบ้านกจ็ ะนาภาชนะใสน่ า้ ออกมาวางหน้าบา้ น เม่ือขบวนแหผ่ า่ นมาพระที่เป็น ผู้นาในขบวนแห่จะนาดอกไมม้ าจ่มุ นา้ ทีช่ าวบ้านเตรยี มไว้และรดน้าใหพ้ รแกชาวบา้ น ผูท้ ีร่ ว่ มขบวนจะเลน่ สาด น้ากนั อย่างสนกุ สนาน เม่อื เดินไปตามถนนจนรอบหมูบ่ ้านแลว้ ชาวบ้านก็จะเดินทางกลับไปท่วี ัดเพ่อื นาดอกไม้ ไปเสียบตามศาลาวดั ชาวบา้ นที่ไปทาไรท่ านาเม่อื เสรจ็ จากงานกจ็ ะนาดอกไมม้ าร่วมในพธิ ที หี ลัง เห็นไดว้ ่า ลกั ษณะการทาบุญแห่ดอกไมน้ ้ี เป็นการรวมกันทางพิธกี รรมและความเช่อื ระหว่างประเพณีสงกรานต์และเพณี บญุ บั้งไฟ โดยมพี ิธีกรรมเปน็ ของสงกรานต์แต่เช่ือตามความเชือ่ ในการทาบุญบ้งั ไฟ ด้วยเหตนุ ชี้ าวบ้านจงึ ไมม่ ี การจัดงานบุญบัง้ ไฟทาพธิ บี อกผบี า้ น นอกจากนีช้ าวบา้ นยังยดึ พธิ กี รรมในหมบู่ ้านดังนี้ การเลยี้ งผี คอื การบอกกล่าวผีบา้ นเกยี่ วกบั การกระทาของชาวบา้ นในหมู่บา้ น โอกาสในการเลยี้ งผี บ้าน มาบนบานขอให้เจา้ ปูุช่วยเหลอื แลว้ ดงั ท่ีหวงั จาเป็นตอ้ งมาแกบ้ นก็ต้องมาทาพธิ ีเลยี้ งผที งั้ นาเครอ่ื งเซ่นใน การเลีย้ งผี มีดังน้ี ก.ไก่ฆ่าไมเ่ ชอื กคอ หา้ มตดั เล็บไก่ จับไก่หกั หลงั นาเครอ่ื งในไก่ออกใหห้ มดแลว้ นาไกท้ ง้ั ตัวไปต้มใสเ่ กลือ ข. เหล้าขาว ค.ขา้ ว น้า ง. หมาก ยาสูบ จ.น้าพรกิ ทุกครั้งที่มกี ารเลี้ยงผีต้องนาไปเลย้ี งตอนเชา้ วันพุธ โดยจ้าประจาหมู่บา้ นคือ (จ้าคอื ผทู้ ี่ชาวบา้ นเลอื กเปน็ ผตู้ ดิ ต่อกับผบี ้าน ซงึ่ จา้ นี้จะตอ้ งมาจากตระกลู ที่เป็นจา้ ของหม่บู า้ น โดยตลอดและ เป็นผทู้ ีช่ าวบ้านนบั ถือดว้ ย) เรียกว่าเป็นพธิ แี กบ้ น พิธีจะเริ่มเวลาประมาณ 7 โมงเชา้ โดยปกติจะมีชาวบ้านมา แก้บนทกุ วันพธุ การแก้บนอาจนาหมอลาซิง่ มาจดั แสดงหนา้ ศาล สาหรบั การแกบ้ นที่สาคญั เช่น ลกู สอบเขา้ มหาวิทยาลยั ได้ การได้งานหรือการเล่อื นตาแหนง่ หน้าที่การงาน

การเลย้ี งบ้าน จะเลย้ี งในเดือน 3 และเดอื น 6 กอ่ นฤดทู าการเกษตร เคร่อื งเซน่ หรอื ของทาบุญก็ใช้ อย่างเดยี วกับการเลย้ี งผี แตจ่ ะมีการกระทาอยา่ งอ่ืนเพิม่ เตมิ คือ ชาวบา้ นทกุ คนทกุ ครวั เรอื นตอ้ งทาสัญลกั ษณ์ ของสมาชิกในบ้าน สมาชิกในบ้าน ใช้ข้าวป้ันเปน็ จานวนกอ้ นตามจานวนสมาชกิ สตั วเ์ ลยี้ ง จะใชใ้ บตองฉีกเปน็ ร้วิ และมดั คล้ายหลอดดดู เทยี น ดอกไม้ เทา่ กับจานวนสมาชกิ ในครอบครัว ธูป จา้ จะเปน็ ผูจ้ ุดเอง นาส่งิ ของทง้ั หมดใส่กล่องไปวางรวมกนั บริเวณทที่ าพธิ ี ซึ่งจ้าจะเป็นผู้ทาพธิ ีตอ่ ไป การทาพธิ นี เ้ี พ่ือ ต้องการใหเ้ จ้าปุูดูแลลูกหลานและสัตว์เลี้ยงในหมูบ่ ้านอยา่ ให้มีความทกุ ข์ ใหม้ แี ต่ความสขุ การทาพิธีก่อน การเกษตร จะมีการเสย่ี งทาย ไก่ 3 ตัว ท่ีบรเิ วณศาลเจ้าปูุ โดยการเสย่ี งทาย 1) ชาวบ้านในบ้านหนองหญา้ ปลอ้ งจะอยดู่ ี มคี วามสุข 2) ฟูาฝนในปีน้จี ะดหี รือไม่ 3) พชื พรรณธญั ญาหารจะอุดรสมบูรณห์ รือไม่

หมูบ่ า้ นหนองหญา้ ปล้อง ทอผา้ ไหม มัดหม่ี ยอ้ มสีธรรมชาติ ได้รบั รางวัลชนะเลิศ 1 ตาบล 1 ผลติ ภัณฑ์ ร้านทองเลศิ ไหนไทย กลุม่ ทอผา้ ไหม ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านอาชพี เสริมในหมู่บา้ น

โครงการฝึกอบรมแหลง่ ทอ่ งเท่ียวและมัคคเุ ทศกป์ ระจาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ณ บา้ นหนองหญ้าปลอ้ ง



หม่บู ้านนาร่อง บ้านหนองหญ้าปล้อง หม่ทู ี่ 9 จานวน 191 ครัวเรือน จานวนประชากร ชาย 385 คน หญิง 388 คน รวม 773 คน

อาชีพเสริมในหมบู่ า้ น กล่มุ ทอผา้ ไหม ผา้ ฝ้ าย ผลิตภณั ฑ์ มดั หมี่ ย้อมสีธรรมชาติ ไดร้ บั จากกก รางวลั ชนะเลิศ 1 ตาบล 1 ผลิตภณั ฑ์ กล่มุ ฝร่งั มะม่วง แช่ เลีย้ งจ้ิงหรีด ในบ่อ บ๊วย ซีเมนต์

แหล่งเรียนรู้ การทอผ้าไหม ผ้าฝ้ าย มัดหมี่ ย้อมสี ธรรมชาติ 36 หมู่ 9 บ้านหนองหญ้าปล้อง ของ นางทองเลศิ สอนจนั ทร์



เร่อื งที่ 1.2 ประวัตภิ ูมิปัญญาท้องถ่ิน ประวตั นิ างทองเลศิ สอนจนั ทร์ นางทองเลศิ สอนจันทร์ เกดิ วันท่ี 5 ตลุ าคม 2509 ปจั จุบนั อายุ 46 ปี เปน็ คนภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เกดิ ทอี่ าเภอมัญจาครี ี จงั หวัดขอนแกน่ ได้สมรสกับนายรศั มี สอนจันทร์ มีบุตรด้วยกัน 3 คน คือ ชาย 2 คน หญงิ 1 คน ปจั จบุ ันอย่บู า้ นเลขที่ 36 หมทู่ ่ี 9 บ้านหนองหญา้ ปล้อง ตาบลโพนเพ็ก อาเภอมัญจาครี ี จังหวัดขอนแก่น 40160 ด้านการศกึ ษา จบระบบช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายจากศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอมญั จาครี ี กาลังศกึ ษาต่อ ระดับปรญิ ญาตรี โครงการมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎชัยภูมิ ปจั จุบนั ดารงตาแหนง่ รองนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบลโพนเพ็ก อ.มญั จาคีรี จ.ขอนแกน่ เกยี รติยศทไี่ ดร้ บั 3. ผนู้ าองค์กรเครือข่ายชมุ ชนดีเด่น ปี 2549 4. ผู้นาเครอื ขา่ ยพัฒนาชุมชนดเี ดน่ ปี 2552

ภาคเี ครอื ขา่ ย 1. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2. สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอมญั จาคีรี 3. สานักงานเกษตรอาเภอมัญจาครี ี 4. สานักงานสหกรณ์อาเภอมญั จาครี แี ละ สานักงานสหกรณ์จงั หวดั ขอนแกน่ 5. อตุ สาหกรรมภาค 5 จังหวดั ขอนแกน่ 6. ศนู ย์หม่อนไหมเฉลมิ พระเกียรติจังหวดั ขอนแก่น

เร่อื งท่ี 1.3 ความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกับการเลี้ยงไหมป่า การเลย้ี งไหมปาุ เนื่องจากในชมุ ขนบ้านหนองหญา้ ปลอ้ งมีการปลกู หมอ่ นเลีย้ งไหมซึง่ เปน็ ไหมพันธ์ พน้ื บ้านและกนิ ใบหม่อนเป็นอาหาร ในหนา้ แหง้ มักจะไม่มใี บหม่อนเลี้ยงตัวไหม คณะผจู้ ดั ทาจงึ ไดน้ าพนั ธุไ์ หม ปาุ มาเล้ยี งเพื่อแกป้ ญั หาการขาดใบหมอ่ น ซึง่ เลี้ยงงา่ ยในทุกฤดูกาลทส่ี าคญั คอื ใช้ใบมันสาปะหลัง ใบละหงุ่ เลีย้ งเป็นอาหารได้ และที่สาคญั คอื ตลาดกาลังต้องการรังไหม เสน้ ไหมและดกั แด้ การปลกู หมอ่ นเล้ียงไหมเป็นอาชพี เสรมิ ของคนในชมุ ชนเพอ่ื ทาเครอื่ งนุ่งหม่ สวมใส่ในครวั เรือน ในงาน พธิ ตี ่างๆ คนในชมุ ชนมกั จะสวมผ้าไหมเพ่อื รักษาวัฒนธรรมประเพณีในดา้ นการแต่งกายทาใหเ้ กดิ ความภมู ใิ จใน เอกลกั ษณข์ องตนเอง การเลี้ยงไหมเป็นการพึง่ พาตนเองผลิตเสอ้ื ผ้าสวมใส่เอง รจู้ กั ประหยัดอดออม รูจ้ ักความ พอเพียงเอื้อเฟอ้ื เผ่ือแผแ่ บง่ ปนั ในสิ่งทตี่ นมีอยู่ ปัจจุบันการเลีย้ งไหมมักจะประสบปญั หาในหน้าแลง้ เพราะขาด ใบหมอ่ นซ่งึ แห้งเหยี่ วตายทาให้ผู้เลี้ยงไหมพันธุ์พน้ื บ้านขากเสน้ ไหมท่จี ะนามาทอเสอื้ ผ้าสวมใส่ จึงไดค้ ดิ คน้ การ เลย้ี งไหมปุา อาหารก็คอื ใบมันสาปะหลัง สมาชกิ ในกลุ่มผู้เลี้ยง 20 คน ต่อมาขยายออกไปเลย้ี งตามกลมุ่ และ ขยายไปแตล่ ะหมู่บา้ นในตาบลโพนเพก็ ศึกษาวิจยั เลีย้ งไหมอีร่ี เพมิ่ ทางเลือกผูป้ ลกู มันฯ

ตัวไหมอีรแี่ ละเส้นไหมที่ไดจ้ ากการป่ัน. แมป้ ระเทศไทยจะสง่ ออกสนิ คา้ สง่ิ ทอทตี่ อ้ งพ่ึงวัตถุดิบจากเส้นใยฝูายเปน็ หลัก แต่ปัจจบุ ันการ ปลกู ฝูายในบา้ นเราประสบปัญหาเรื่องโรคและแมลงศัตรู จงึ ไม่สามารถผลติ เส้นใยได้เพยี งพอกับความต้องการ เพอื่ แกป้ ญั หาดงั กลา่ ว อีกทง้ั เป็นทางเลือกให้กับเกษตรกรโดยเฉพาะกล่มุ ผปู้ ลูกมันสาปะหลังในอนาคต รศ.ดร. ทิพยว์ ดี อรรถธรรม ผ้อู านวยการศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางวิชาการด้านไหม ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม จึงทาโครงการ “วจิ ยั พฒั นาไหมอี รี่สู่อุตสาหกรรม” โดย สานักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) สนับสนุนทุน ศ.ดร.สวสั ดิ์ ตันตระรตั น์ ผอ.สกว. บอกตอ่ ว่า สกว.ได้เลง็ เห็นว่าไหมอีร่เี ป็นแมลงทมี่ ีประโยชน์ และมีศักยภาพที่จะพฒั นาสอู่ ตุ สาหกรรมขนาดเล็กในครวั เรือน หรืออุตสาหกรรมขนาดกลางในชุมชน เพ่ือเปน็ อาชีพทางเลอื กใหก้ บั เกษตรกร รวมทั้งเป็นการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร ซงึ่ เส้นใยไหมอีร่เี ปน็ ไหมปนั่ (spun silk) เชน่ เดียวกบั ฝูาย ดงั นัน้ จึงอาจทดแทนกันไดใ้ นอนาคต

ศ.ดร.สวัสด์ิ ตนั ตระรตั น์ ผอ.สกว. (ขวา) และ รศ.ดร.ทิพยว์ ดี อรรถธรรม. รศ.ดร.ทพิ ย์วดี เปิดเผยถึงแนวทางการวจิ ัยวา่ ท่ีผา่ นมาไหมทาซาร์ (tasar silk, A. mylitta และ A. proylei) ไหมมูกา้ (muga silk, A. assamensis) และไหมอีร่ี (eri silk, Philosamia ricini ) ท่มี ีการเลยี้ งเป็น อาชีพในประเทศต่างๆ เชน่ จีน ญ่ีปนุ อนิ เดยี และเกาหลี โดยไหมอีรี่เป็นไหมปุาเพียงชนิดเดยี วที่มนุษยส์ ามารถ เลีย้ งได้ครบวงจรชวี ิตอยา่ งสมบรู ณ์ จากข้อมูลดงั กล่าว ดงั นั้น ทีมวจิ ยั จงึ มุ่งศกึ ษาการเลี้ยงไหมชนิดนี้ โดยเร่มิ แรก ทดลองเลยี้ งด้วยใบพืชชนดิ ต่างๆ เช่น ละหุ่ง มนั สาปะหลงั มะละกอ อ้อยช้าง สบดู่ า มะยม ปุา และ สันปลาช่อน ช่วงระยะเวลาหนง่ึ แลว้ พบวา่ ใช้ ใบละหุง่ (castor plant) ได้ดที ่ีสุด หนอนไหมให้รงั ทมี่ ขี นาด ใหญ่และปรมิ าณเสน้ ไหมมาก รองลงมาคือใบมันสาปะหลงั (cassava plant) ส่วนพชื ชนดิ อื่นอาจใช้เปน็ พืชอาหาร ทดแทนได้ในช่วงท่ใี บละหุง่ หรือใบมนั สาปะหลังขาดแคลน แต่ไม่สามารถใช้เลยี้ งจนครบวงจรชีวิต

กระทั่งไดร้ งั ไหมที่มีเสน้ ใยประกอบดว้ ยสาร fibroin ลอ้ มรอบด้วยสาร sericin ซง่ึ เป็นสารเหนียวใช้ยดึ เสน้ ใยให้สานกันเป็นรงั หุ้มดักแด้ไวภ้ ายใน รังไหมอรี ี่มลี กั ษณะยาวเรียวสีขาว มิได้เป็นเสน้ ยาวเหมือนไหม หม่อน ต้องดงึ เส้นใยจากรงั ด้วยวธิ ปี ัน่ (spun) แบบเดยี วกบั การปั่นฝูาย จงึ ไมต่ อ้ งตม้ รงั ตอนท่ียังมีดกั แด้ โดย สามารถตัดเปลอื กก่อนจงึ นารงั ไปตม้ แล้วนาผ่านขบวนการกระท่งั ไดเ้ สน้ ไหมมคี วามเหนยี ว ยาว แวววาว สวยงาม และราคาดีกว่าเสน้ ใยฝูาย สาหรบั ประชาชนที่สนใจสามารถเข้าชมได้ ซงึ่ ทาง สกว.ไดน้ ามาจดั ใน งาน มหกรรมวชิ าการ สกว. วจิ ยั ตามรอยพระยคุ ลบาท : สรา้ งสรรค์ปัญญา เพือ่ พัฒนาประเทศ เฉลมิ พระ เกยี รตพิ ระบาทสมเด็จ พระเจ้าอย่หู ัว...ภายใต้แนวคิดหลัก 9 บนั ดาล...สูง่ านวจิ ัย ในวันท่ี 20–24 มิถุนายน 2555 ณ ฮอลล์ 7–8 อมิ แพค เมืองทองธานี. เพญ็ พิชญา เตียว วัน-เวลาการแสดง: วนั เสารท์ ี่ 23 มถิ นุ ายน 2555 เวลา 15.00 - 16.30 น. เอกสาร แฟช่นั โชว์ “อีรี่” ไหมไทย..เฉดิ ฉายบนแค็ทวอล์ค ตารางกจิ กรรมเวทีกลางงานมหกรรมวชิ าการ สกว. ฯ ทีม่ าและความสาคัญ จากการทไี่ หมอรี ีก่ นิ ใบมนั สาปะหลงั เป็นอาหาร สกว.ไดส้ นับสนุนการดาเนนิ งานวจิ ยั เพื่อส่งเสรมิ ใหเ้ กษตรกรชาวไร่มนั สาปะหลังเลยี้ งไหมอีร่ีเปน็ อาชพี เสริม และพฒั นาไปสอู่ ุตสาหกรรม เพ่ือเพิม่ รายได้ครัวเรือน ขจดั ปัญหาความยากจน และการละถน่ิ ฐานไปทางานทอี่ ืน่ ในช่วงรอการเก็บเก่ียวมนั สาปะหลัง การดาเนนิ งานของ โครงการวจิ ัยทาใหเ้ กษตรกรในจังหวัดตา่ งๆ ของประเทศ เล้ียงไหมอรี ่ีเป็นอาชพี เสริมจนสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ จากไหมอรี ี่หลายรปู แบบ รวมทง้ั ผ้าไหมทอมอื และสามารถขับเคลื่อนไหมอรี ี่เข้าสอู่ ุตสาหกรรมไหมปน่ั ได้ โดยมี ภาคเอกชนท่ีสนใจนารังไหมอรี เ่ี ขา้ โรงงานส่งิ ทอและผลิตผ้าทมี่ คี วามหลากหลาย การจัดแฟชั่นโชว์ครงั้ น้ีจงึ มีความสาคญั ที่เปน็ การเปดิ ตัวผา้ ไหมอีรซี่ ึ่งเปน็ ผลิตภัณฑ์เส้นใย ธรรมชาตชิ นดิ ใหม่ ให้เป็นท่รี จู้ กั โดยท่ัวกัน เปิดโอกาสใหภ้ าคเอกชนด้านอุตสาหกรรมส่งิ ทอได้เห็นศักยภาพ ของไหมอีรีว่ ่าสามารถทาผลติ ภัณฑส์ ิง่ ทอทห่ี ลากหลาย เพอ่ื ความร่วมมือในการนาวตั ถดุ ิบไหมอีร่เี ข้าสู่ อุตสาหกรรมไหมปน่ั ของประเทศ เพ่ือการจาหนา่ ยในประเทศและส่งออกต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลดตี ่อทัง้ เกษตรกรชาวไร่มันสาปะหลังและภาคอุตสาหกรรมท่เี กย่ี วข้องทง้ั ระบบ

วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อแนะนาและประชาสัมพันธ์ผ้าไหมอรี ่ีใหเ้ ปน็ ท่ีรู้จกั แพร่หลาย 2. เพอื่ ให้บุคคลทว่ั ไปสนใจในการใช้ผ้าไหมอีร่ี ซ่งึ จะช่วยเพิ่มโอกาสการสรา้ งอุตสาหกรรมไหม ป่นั ทีม่ ่นั คงของประเทศ 3. เพ่ือเปน็ แรงจงู ใจให้เกษตรกรเลีย้ งไหมอีร่ีมากข้นึ เพราะเห็นแนวทางการนาไหมอรี ไี่ ปใช้ ประโยชน์ และเปน็ ทย่ี อมรบั ของภาคอตุ สาหกรรม ประเดน็ ท่ีจะนาเสนอ ผา้ ไหมอรี ท่ี อมือโดยเกษตรกร และผ้าไหมอรี ท่ี อจากโรงงานอตุ สาหกรรม ได้รับการสร้างสรรค์ ท้งั การดีไซน์ เฉดสีและผวิ สัมผัสตากเอกลักษณพ์ เิ ศษของไหมอีรแ่ี ละสอดรับกับเทรนดแ์ ฟชัน่ ฤดกู าล Spring/Summer 2012 เพื่อนาเสนอภาพลักษณ์ที่ทันสมยั สาหรบั สาวทีม่ ไี ลฟ์สไตล์ Casual Elegance วธิ กี ารและลกั ษณะกจิ กรรม การเดนิ บน Stage ของนางแบบท่สี วมชดุ ท่ีตัดจากผ้าไหมอีร่ี ซงึ่ จะมที ง้ั ผา้ ทอมอื โดยกลุ่ม เกษตรกรเครอื ข่ายผเู้ ลย้ี งไหมอีร่ี และผา้ ทอจากภาคอตุ สาหกรรมโรงงานสิง่ ทอ รายชอ่ื ผู้ร่วมกจิ กรรม 1. นางแบบ: นิสติ จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ประมาณ 12 คน 2. ผูอ้ อกแบบแฟชนั่ : นสิ ติ ช้ันปีท่ี 4 ภาควิชาวิทยาการสง่ิ ทอ คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 3. ผคู้ วบคมุ การออกแบบ: ผศ. ดร. อโนทัย ชลชาติภิญโญ 4. ผู้ควบคมุ การเดนิ แฟชั่นโชว์: คุณกฤตริน อิทธิเดชรตั น์ 5. ช่างทาผม แตง่ หนา้ : คณุ ทนิ กฤติ ร่งุ โรจน์ 6. ผชู้ ่วยทวั่ ไปในการเตรียมการแฟชนั่ โชว์: นสิ ติ ชัน้ ปีที่ 4 ภาควชิ าวทิ ยาการสง่ิ ทอ คณะ อตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั ทาใหภ้ าคธรุ กจิ เอกชนด้านสิ่งทอรจู้ ักไหมอีร่ี และเกิดความสนใจในการนาเส้นใยไหมอีรี่ไป ทาผลติ ภณั ฑ์ผ้าไหมอีรหี่ ลากหลายสไตล์ และเกดิ ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการทาผลิตภัณฑส์ ่ิงทออน่ื ๆ ซ่ึงจะชว่ ย ใหม้ คี วามตอ้ งการวตั ถุดิบ คอื รงั ไหมอีรีม่ ากขึน้ ส่งผลให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไหมอีรี่ขายรังได้มากขึน้ และไดร้ าคาดี ขึน้ และมีเกษตรกรเลอื กการเลย้ี งไหมอรี เี่ ปน็ อาชีพเสรมิ เพือ่ เพิม่ รายไดม้ ากข้ึน ช่อื +เบอรต์ ิดตอ่ ผ้ปู ระสานงาน ศ.ดร.ทพิ ยว์ ดี อรรถธรรม (ภาควชิ ากีฏวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์ โทรศัพท์ : 034-281268 มอื ถอื : 081-821-6274

วธิ ดี าเนนิ งานตามโครงการ ๑.ประชมุ สมาชกิ เพอ่ื ปรกึ ษาหารือเกี่ยวกับข้นั ตอนการทาโครงงานและแบ่งงาน ๒.ศึกษาค้นควา้ การเล้ียงไหมปาุ ลกู ผสมจากผู้ชานาญจากเอกสารและเว็บไซด์ ๓.สอบถาม สมั ภาษณจ์ ากกลุ่มแม่บา้ น ๔.รวบรวมข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากแหลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆ ๕.นาเสนอในรปู แบบโครงงาน โรงเลยี้ งไหมปุาศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน กศน.ตาบลโพนเพก็ จ่อ สาหรบั ใหต้ ัวหนอนไหมทารัง

กระด้ง สาหรับวางตัวไหมวยั ต่างๆ ช้นั สาหรบั วางหนอนไหมเล้ยี งแทนกระดง้ กรณลี ้ียงจานวนมา

จากการ การเลยี้ งไหมปุาทาให้ไดร้ ับความรู้และวธิ กี ารเลยี้ ง การดูแลรกั ษาไหมปาุ ซ่งึ เปน็ ตัวไหมท่ี สามารถเลี้ยงง่ายในทกุ ฤดูกาล ทนตอ่ โรคสามารถนาใบละหงุ่ หรือใบมนั สาปะหลังมาเล้ยี งได้ เปน็ การแกไ้ ข ปญั หาการเลย้ี งไหมของเกษตรกรสามารถพฒั นาปรบั ปรุงเปน็ อาชีพหลกั ต่อไปในอนาคตได้ ระยะเวลาในการเลย้ี ง วัยตวั ไหม จานวนวัน หมายเหตุ ไข่ ๑๐ ออกเปน็ หนอน ๙-๑๒ ตัวไหมเริม่ แก่ วยั อ่อน ๙-๑๓ ตัวไหมจะสกุ วัยแก่ ๑๐ ออกเปน็ ผีเสอ้ื รังไหม ๒-๓ ผเี สือ้ ๔๐ เรมิ่ วางไข่ รวมเวลาเล้ียงดปู ระมาณ คดิ คานวณตน้ ทุนราคาจาหน่าย ค่าใช้จ่าย ผลกาไร -ค่าใชจ้ ่ายในการจดั ซอ้ื วสั ดุอปุ กรณ์ เชน่ -ขายทงั้ รังไหมกโิ ลกรัมละ ๙๐ บาท กระดง้ , กระจอ่ ,มงุ้ เขียว ฯลฯ -ขายแยกดกั แด้กิโลกรัมละ ๒๘๐ บาท -คา่ แรงในการดแู ลรกั ษาประมาณ ๔๐ หมายเหตุ :กาไรจะมากนอ้ ยขึ้นอยู่กบั วัน ปรมิ าณการเพาะเล้ยี ง -ขายดกั แดก้ ิโลกรัมละ ๑๕๐ บาท วธิ ีการจาหน่าย -ไร่มันสาปะหลงั ๕ ไร่ สามารถเลย้ี งตัว ๑.ขายท้งั รงั ไหมได้ผลผลิตประมาณ ๑๐๐ กโิ ลกรัม ๒.ตดั แยกดกั แด้ /๓๐-๔๐ วัน

เรอ่ื งท่ี 1.4 ขั้นตอนการเล้ียงไหมป่า วธิ ีการเลีย้ งไหมปา่ การฟักไขไ่ หม ไขไ่ หมท่มี ีอายุประมาณ ๑๐ วัน จะเร่มิ เปล่ยี นจากสขี าวเป็นสเี หลืองและดาคล้า จงึ นาเข้าฟัก ประมาณ ๑-๒ วนั หนอนไหมจะเรม่ิ ฟกั ออกจากไหมจึงเร่มิ เล้ียงใบมันสาปะหลงั สบั ใบละหงุ่ สับละเอยี ดวาง บนกลุ่มไข่ไหมให้หนอนไหมไตข่ ึน้ บนกองพชื อาหารนั้น แล้วย้ายหนอนไหมไปเลีย้ งในตะกร้าหรือกระดง้ เก็บไขไ่ หมไว้ในนา้ ปอู งกนั แมลงลงกิน การเล้ยี งไหมวัยออ่ น ( วัย 1-3 ) การเลยี้ งไหมวยั อ่อนควรเล้ียงในตะกรา้ หรือกระดง้ เตรียมใบมันสาปะหลงั ท่อี อ่ นและสดนาหนอน ไหมแรกฟกั วางบนชนั้ เล้ียงแล้วนาใบละหงุ่ หรือใบมนั สาปะหลังสบั ละเอยี ดวางบนตัวไหมหลงั จากนน้ั 2 วัน จึง เสรมิ ใบมนั สาปะหลงั ทั้งใบ แก่หนอนไหม เมอ่ื หนอนไหมข้นึ วัย ๒ ค่อยถา่ ยมูลไหมและคราบหนอนไหมทิง้ โดยวางใบละหุง่ หรือใบมันสาปะหลงั บนตวั หนอนไหมให้หนอนไหมเกาะแลว้ ยกใบมันสาปะหลังที่มหี นอนเกาะติด วางบนกระดง้ หรือช้ันเล้ยี งจนกวา่ หนอนไหมจะเข้าสู่วัย ๓ ลาตัวเปลี่ยนเปน็ สขี าวมหี นามเหน็ ชดั จงึ ถ่ายมลู อกี คร้ัง ควรใหอ้ าหารอยา่ งน้อยวันละ ๒ ม้อื ในตอนเช้าและตอนเย็น การให้อาหารควรเพม่ิ ข้ึนตามความเหมาะสมไหมวัย ออ่ นใช้เวลาเลีย้ ง ๙-๑๒ วัน

สับใบมันใหห้ นอนไหมขน้ึ กนิ แลว้ ยกใส่กระดง้ หอ่ ด้วยผ้าทอี่ ากาศถ่ายเทสะดวก การเล้ียงไหมวัยแก(่ วัย ๔-๕) เม่ือหนอนไหมข้นึ วยั ๔ ลาตัวจะยาวขนาดใหญม่ ากขึน้ มีหนามเห็นชัดลาตัวสขี าวจะกินอาหารมาก ควรให้ปริมาณอาหารทเ่ี พียงพอโดยการเพ่มิ ม้อื อาหารเป็น ๓-๔ ม้ือตอ่ วัน วางใบละหุ่งหรือใบมนั สาปะหลังบน ตัวไหมระวงั ไม่ให้แน่นจนเกนิ ไปเพราะจะทบั ตวั ไหมตายควรถา่ ยมูลไหมอกี คร้ังเมือ่ หนอนไหมนอน กอ่ นเขา้ สู่ วัย ๕ เม่อื หนอนไหมเขา้ ส่วู ยั ๕ ควรใหอ้ าหารอย่างตอ่ เน่ืองและเพยี งพอจนหนอนไหมเริม่ สุกจะกินน้อยลง หนอนไหมวัยแกใ่ ชเ้ วลาเล้ียง ๙-๑๓ วัน

การเก็บไหมสกุ เข้าจอ่ การสงั เกตหนอนไหมสุกคอื หนอนเร่มิ หยุดกนิ อาหารลาตวั หดสนั้ ผวิ เปลยี่ นเปน็ สเี หลอื งใสไตอ่ อกจากชน้ั เลยี้ ง หนอนไหมสุกเต็มท่ีประมาณวนั ท่ี ๕-๗ ของการเล้ยี งไหมวยั ๕ เม่ือหนอนไหมถ่ายมลู อกี ครงั้ สุดทา้ ยแลว้ จึง เจบ็ หนอนไหมเข้าจอ่ กระด้งประมาณ ๓๐๐ ตวั ต่อจอ่ สาหรับจอ่ ชนดิ อื่นๆขึ้นอยู่กบั ความเหมาะสมไม่ควรใส่ หนอนไหมสกุ จนแนน่ จ่อ คมุ จ่อใหม้ ิดชิดดว้ ยผา้ บางๆ ทส่ี ามารถระบายอากาศไดด้ ชี ่วยใหเ้ ปอร์เซ็นต์การทารัง สูง และไหมสาวไดง้ า่ ยขึน้

การเกบ็ หนอนไหมเขา้ จอ่ หลงั จากหนอนไหมทารงั ไหมจนหมดประมาณ ๕ วนั สามารถเกบ็ รงั ไหมมาใช้ประโยชนโ์ ดยการลอก รงั ออกจากจอ่ ใสใ่ นตะกร้าเพ่ือนารังไหมไปตดั แยกดักแดอ้ อกจากเปลอื กรงั คัดรังไหมที่สกุ วันแรก สภาพรงั สมบูรณ์เพื่อเกบ็ ไวข้ ยายพันธุต์ ่อไปส่วนรงั ไหมท่ีเหลือนาไปตดั แยกดักแด้ โดยใชก้ รรไกรปลายแหลมสอดเขา้ รู เปิดส่วนทา้ ยของรังไหม ตัดตามแนวยาวเพอ่ื เปิดรังไหม

การผลิตไขไ่ หม นารงั ไหมที่เก็บไว้สาหรับขยายพนั ธมุ์ าร้อยด้วยเสน้ ด้ายแลว้ นาไปแขวนไวใ้ นตู้ผสมพนั ธ์ุประมาณ ๑๐ วนั ผีเสือ้ จะออกจากดกั แดเ้ รม่ิ จับคูผ่ สมพนั ธุ์ นาผีเสือ้ ท่ีเขา้ คูก่ ันวางบนไม้สาหรบั ให้แมผ่ ีเสื้อวางไขป่ ระมาณ ๒-๓ วนั ตอ่ มาแม่เชอื้ จะเรมิ่ วางไขผ่ ู้เล้ียงสามารถเกบ็ ไข่ไหมไดป้ ระมาณ ๓ ครัง้ โดยทาการเกบ็ ไขไ่ หมชว่ งเช้า หรือบ่ายวันละ ๑ ครั้ง ควรแยกไขไ่ หมท่ีเก็บไดใ้ นแต่ละวนั เพื่อให้ไข่ไหมฟักออกพรอ้ มกนั ผเู้ ลีย้ งสามารถชว่ ยให้ ผเี สื้อตัวผ้แู ละตวั เมยี จบั คู่ผสมพนั ธก์ุ ันได้เรว็ ข้ึน โดยจับผีเสอ้ื วางบนไม้ทแี่ ขวนไว้โดยให้ผีเสอื้ ตวั ผู้ ๑ ตัวตอ่ แม่ ผีเสื้อ ๑ ตัว

วฏั จกั ร หนอนไหมปุา ผีเสือ้ ไข่ไหม รังไหม หนอนไหม

การดูแลไหมวยั ออ่ น วางไขไ่ วใ้ นภาชนะที่มีนา้ กันแมลง ประมาณ ๑๐ วัน ไขจ่ ะแตกเป็นตวั ไหมวยั ออ่ น

หลงั จากไขแ่ ตกเป็นหนอนแลว้ สับใบมนั วางใหต้ ัวไหมเกาะกนิ และยกมาวางที่กระด้งท่เี ตรียมไว้จนกวา่ ไขจ่ ะ แตกหมด หมอนไหมโตข้นึ วางใบมันสาปะหลังทั้งใบใหก้ นิ ประมาณ ๙-๑๒ วัน จะเขา้ วัยที่ ๔-๕

ไหมปาุ ลกู ผสมใช้ใบมนั สาปะหลงั หรอื ใบละหุ่งเป็นอาหาร ใหอ้ าหารวันละ ๒ มื้อ หรือ ๓ มอ้ื เช้า เทยี่ ง เยน็

ใหอ้ าหารมากตวั ไหมสมบูรณใ์ หร้ ังใหญน่ า้ หนกั ดไี ดเ้ ส้นไหมมาก ห่อด้วยผา้ บางๆอากาศถ่ายเทได้ ปูองกนั แมลงกินตวั ออ่ น รงั ไหมทีไ่ ดจ้ ากจอ่

ผเี ส้อื ไหมปาุ ลูกผสมพร้อมทจี่ ะนาไปขยายพนั ธ์ุ กาลังให้อาหารหนอนไหม วยั ๔-๕

ตอนท่ี 2 คณุ ลักษณะและคณุ ประโยชน์ของไหมป่า สาระสาคญั การเล้ยี งไหมปาุ ทาให้ไดร้ ับความรูแ้ ละวิธกี ารเลี้ยง การดูแลรักษาไหมปาุ ซึง่ เปน็ ตวั ไหมที่สามารถเล้ียง งา่ ยในทกุ ฤดกู าล ทนต่อโรคสามารถนาใบละหุง่ หรือใบมนั สาปะหลงั มาเลีย้ งได้ เปน็ การแก้ไขปัญหาการเล้ียง ไหมของเกษตรกรสามารถพัฒนาปรับปรงุ เป็นอาชพี หลกั ต่อไปในอนาคตได้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง 1. สามารถบอกคุณลักษณะของไหมปุา 2. สามารถอธบิ ายประโยชนข์ องไหมปุา ขอบขา่ ยเน้อื หามี 2 เรือ่ งดงั นี้ 2.1 คณุ ลักษณะของไหมปุา 2.2 ประโยชน์ของไหมปุา เรอื่ งท่ี 2.1 คุณลักษณะไหมปา่ ไหมอรี ี่ (Samia ricini) เป็นไหมอีกชนิดหนงึ่ สามารถเพาะเล้ียงเพ่ือผลิตรงั ไหมได้เช่นเดยี วกบั การ เลี้ยงไหมบา้ น แต่การเลี้ยงและการดแู ลงา่ ยกวา่ ขอ้ ดขี องการเลีย้ งไหมอรี ีเ่ พ่อื เปน็ รายไดเ้ สริมแก่เกษตรผเู้ ล้ียง ปลกู มันสาปะหลงั การศึกษารวบรวมและปรบั ปรุงพันธไ์ุ หมปุาอรี ข่ี องโครงการวิจัยและพฒั นาไหมปาุ อรี ่ภี าค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รวบรวมไวจ้ านวน 3 สายพนั ธ์ุ คอื สายพนั ธจ์ุ ีน สายพนั ธไ์ุ ทยและสายพนั ธเ์ุ ชยี งใหม่ กาลังคัดเลอื กเพม่ิ เติมเพ่อื ปรับปรงุ พนั ธไุ์ หมลกู ผสมทด่ี ี สาหรับสง่ เสรมิ การเล้ยี งในภาคเกษตรตอ่ ไป (คณะทางานโครงการวจิ ัยและพัฒนาไหมปุาอีรภี่ าคตะวันออกเฉยี งเหนือ,2549) จากรายงานพืชอาหารที่ สามารถใช้เล้ียงไหมชนิดน้ีไดแ้ ก่ ละหงุ่ สบ่ดู า มะละกอ อ้อยช้าง มนั ลาย มนั ตนั ลั่นทม และมะยมปาุ หรอื

มะยม เป็นตน้ แต่พชื อาหารหลักท่ีสามารถทาให้ไหมชนดิ นี้เจริญเตบิ โตไดค้ รบวงจรชวี ติ คือ ละหงุ่ และมนั สาปะหลัง (ศวิ ิลยั :ไม่ระบุปีทพ่ี มิ พ์) จากประสบการณข์ องทางโครงการพัฒนาฯ ไหมอรี ่ี พบวา่ การเล้ียงไหมอรี ี่ ต้งั แตแ่ รกฟักด้วยใบสบู่ดาทาใหห้ นอนไหมตายท้ังหมดในชว่ งหนอนไหมวัย 1-2 เดือน ไดแ้ นะนาคุณลักษณะและการใช้ประโยชนจ์ ากไหมอีรี่วา่ - เพาะเล้ียงไดง้ ่ายโดยใช้หลักการและอุปกรณ์คลา้ ยกบั ทใี่ ช้ในการเพาะเล้ยี งไหมบ้าน แต่ง่ายและ ประหยดั แรงงานกวา่ - ทนโรค ทนแมลงศัตรูในขบวนการเพาะเล้ียง จึงไม่มกี ารใชส้ ารเคมีใดๆ - กินพชื อาหารไดห้ ลายชนดิ - เส้นใยจากไหมอรี ่ีมีความเหนียว มันแต่ไมแ่ วววาว ทนเหงอื่ ไคลได้ดี - ผลติ ภัณฑ์ผ้าทไ่ี ดม้ ีลายในเนอ้ื ผ้าซงึ่ เปน็ เอกลกั ษณ์ สวยนุม่ แปลกตาคลา้ ยผสมดว้ ยขนสัตว์ สวมใส่ สบายคลา้ ยฝาู ย - การผลิตเสน้ ใยจากไหมอีร่ีไม่จาเปน็ ตอ้ งฆ่าตัวไหม จงึ ถือว่าเปน็ ผา้ เจ และในขบวนการเพาะเลีย้ งไม่มี การใช้สารเคมใี ด ๆ จงึ ทาเปน็ ผลติ ภัณฑ์ปลอดสารเคมี (green product) - ดักแดแ้ ห้งหรอื สุกมีไขมนั 25% โปรตีน 50% ดกั แด้เม่ือปนุ แล้วมไี นโตรเจน 11% จงึ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็น อาหารคนและสตั ว์ไดด้ ี - หนอนและดักแดใ้ ช้เป็นอาหารไดด้ ี มรี สชาตอิ รอ่ ย (กาลงั อยูร่ ะหว่างการจดสิทธิบัตรอาหารมากกวา่ 10 ตารบั ) - ตวั หนอนไหมสามารถนาไปเป็นอาหารสัตวแ์ ละเพาะเลย้ี งแมลงตวั หา้ ใช้ในการปอู งกนั กาจดั แมลง ศัตรูพืช - ไขส่ ามารถใช้ในการเพาะเลย้ี งแมลงตวั เบยี นใช้ในการปอู งกนั กาจดั แมลงศัตรูพชื

เรอื่ งที่ 2.2 ประโยชน์ของไหมปา่ ประโยชน์ท่ไี ดจ้ ากไหม ไหมเป็นแมลงที่มปี ระโยชนใ์ นเชิงการค้าและอตุ สาหกรรม ผลติ ภัณฑ์จากไหมหลายชนดิ สามารถทา รายได้ใหก้ ับประเทศเปน็ จานวนมาก ไหมสามารถนาไปใชป้ ระโยชนเ์ พื่อสนองความต้องการของมนษุ ย์ไดห้ ลาย ประการ ประโยชนท์ ี่ได้จากไหม ไดแ้ ก่ 1. ส่งิ ทอ เส้นใยจากไหมเปน็ เสน้ ใยทม่ี คี ุณสมบัติเหนียวทนทาน มีความสามารถในการระบายอากาศ ดูด ซบั ความรอ้ นไดด้ ี แตเ่ ส้นใยจากไหมมีราคาแพง จึงไดม้ กี ารนาเส้นใยสงั เคราะหท์ ีม่ คี ุณสมบัติยืดหยนุ่ ดี ราคาถกู มาทดแทนเสน้ ใยไหมที่มีราคาแพง การพฒั นาคณุ ภาพของเสน้ ใยไหมและเสน้ ใยสงั เคราะห์เขา้ ด้วยกัน เพ่อื ให้ ได้เสน้ ใยทม่ี คี ุณภาพดีขนึ้ 2. เครื่องสาอาง เสน้ ไหมมีโปรตนี คือ ไฟโบรอนิ ทม่ี คี ุณสมบตั ิในการปอู งกันอนั ตรายจากรงั สอี ลุ ตราไวโอ เลต จงึ นิยมเอาเส้นไหมมาทาเคร่ืองสาอางหลายชนดิ เชน่ ครมี รองพื้น ครีมแต่งหนา้ 3. การแพทย์ ทางการแพทยใ์ ช้เส้นไหมเปน็ เส้นดา้ ยในการเยบ็ แผลผา่ ตดั เพราะเหนียวทนทานและ สามารถเขา้ กบั เนอ้ื เยือ่ มนษุ ย์ไดด้ ี นอกจากน้ียังสามารถใชป้ ระโยชน์ในการทาผิวหนงั เทียม คอนแทกเลนส์ 4. สารปอู งกันกาจดั แมลง ในสหรฐั อเมริกาไดส้ กัดสารจากเชอ้ื Bacillus Thuringiensis ทีแ่ ยกได้จากหนอนไหมนามาใชเ้ ป็นสารกาจัด แมลง ( microbial insecticide ) เชื้อราซึง่ ไม่เปน็ อันตรายต่อหนอนไหม พบว่าสามารถทาลายดว้ งหนวดยาว นอกจากน้ยี งั มีการใชฮ้ อรโ์ มนบางชนิดจากหนอนไหมควบคุมการเจรญิ เติบโตของแมลง และยังสามารถใช้ หนอนไหมเปน็ อาหารไสเ้ ดือนฝอยในการขยายพันธ์ุเพอ่ื ใช้กาจัดแมลงศัตรพู ชื บางชนิด 5. สารปอู งกนั โรคพชื การใชม้ ลู ไหมในการปอู งกันโรคโคนเนา่ ปอแก้ว ( Phytopthora nicotianae var. parasitica )เพ่อื ลดความ รุนแรงของโรคและทาให้ต้นพชื เจรญิ เปน็ ปกติ การศึกษาผลของมูลไหมตอ่ ความรนุ แรงของการเกิดโรค พบวา่ มูลไหมมีจลุ นิ ทรีย์ 4 ชนดิ ทส่ี ามารถยบั ยง้ั การเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytopthora nicotianae var. parasitica การใช้จุลนิ ทรียแ์ ละมูลไหมชว่ ยลดความรุนแรงของการเกิดโรคโคนเน่าในปอแกว้ ได(้ สถาบนั วิจยั หม่อนไหม,2540 )

6. อืน่ ๆ 6.1 ผงซกั ฟอก ไฟโบรอนิ ใชเ้ ป็นสว่ นผสมในการผลิตผงซักฟอก ที่มปี ระสิทธิภาพสงู เนือ่ งจากมี ความสามารถในการเคลือ่ นยา้ ยส่งิ สกปรกไดด้ ี 6.2 ดอกไม้ รงั ไหมท่ผี ่าเอาดกั แด้ออกแล้วสามารถนามาประดษิ ฐ์ ดอกไม้ไดห้ ลายชนิด เชน่ ดอกทิวลปิ ดอกบัว เฟื่องฟูา หรอื สามารถประดษิ ฐ์เปน็ รปู สตั ว์ตา่ ง ๆ เช่นหนู นก ใช้ประดบั ในอาคาร ในรถยนต์ นอกจาก จะสวยงามและยงั สะดุดตาแก่ผูพ้ บเห็นดว้ ย 6.3 อาหารมนุษย์ ดกั แด้ของไหมสามารถที่จะนามาผลิตเปน็ อาหารได้หลายชนดิ เช่น นาไปคั่วทอดกบั ไข่ ผดั กระเพรา บรษิ ัทอตุ สาหกรรมของไทยสง่ ออกผลิตภัณฑ์ไปยงั ต่างประเทศ เนื่องจากมีความต้องการสูง เพราะดักแด้ไหมมีโปรตีนและเกลือแรห่ ลายชนิด มคี ุณค่าทางอาหารสงู กว่าสตั ว์อ่นื ดักแดแ้ ห้งมีโปรตนี สงู ถงึ 49 % 6.4 อาหารสัตว์ ดักแด้ไหมสดหรอื ไหมแห้งสามารถนามาเปน็ อาหารเลี้ยงปลาได้ การเลีย้ งสัตวอ์ กี หลาย ชนิดเชน่ สัตว์ปกี กาลังมองหาแหล่งโปรตนี ใหมๆ่ ทดแทนการใชป้ ลาปนุ ซึ่งหายากและมีราคาแพงข้ึนเรื่อย ๆ ดกั แด้ไหมก็เป็นอกี ทางหน่งึ ในการนาไปใชท้ ดแทน ปลาปนุ ปัจจบุ นั ยงั ไม่มีขอ้ มลู มากนัก คาดว่าจะมีการใช้ ดักแด้ไหมไปเลีย้ งสัตวเ์ รว็ ๆ น้ี 6.5 ทดแทนเครื่องนอน ปุยไหมชั้นนอกไม่สามารถจะนาไปสาวเป็นเส้นได้ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ ในการนาเอาปุยไหมที่เหลือน้มี าใช้ในการทาเคร่ืองนอนแทนการยัดนนุ่ และการใช้ใยโพลเี อสเตอร์ท่ีมีราคาแพง สถาบันวจิ ัยหมอ่ นไหม.2540 .ผลงานวิจยั ที่สาคัญ ปี 2539. ใน:การประชมุ วิชาการ ประจาปี 2540 . 28 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2540 .โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว เชียงใหม่.

บทที่ 3 ข้นั ตอนและวิธีการผลิตผา้ ไหมจากไหมปา่ สาระสาคัญ การทอผ้าไหมของกลมุ่ บ้านหนองหญ้าปล้อง จะดาเนนิ กิจการตลอดทงั้ ปี วัตถดุ ิบทีใ่ ช้ คือเส้นไหม ทีไ่ ด้ไปซื้อท่อี าเภอชนบทและกร็ บั ซอ้ื จากชาวบา้ นท่เี ลี้ยงไหมเพอ่ื ขาย ในการผลิตก็ไดแ้ บง่ กลุม่ ยอ่ ยผลิตโดย แบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 3 คนใหค้ นหนง่ึ เปน็ หวั หนา้ กลุ่ม สว่ น 2 คน เป็นสมาชิก และได้ใหเ้ งนิ ทนุ กลมุ่ ละ 10,000 บาท เพ่อื จะได้นาไปลงทุนผลติ ผ้าไหมภายในกลุ่ม และการทอผ้าไหมของกลมุ่ นั้นสีท่ีใช้ย้อมผ้าก็ได้ ใช้สธี รรมชาติ การย้อมสีจะจา้ งคนนอกยอ้ มกโิ ลกรมั ละ 100 บาท หลังจากทไ่ี ด้ยอ้ มสไี วแ้ ลว้ สมาชิกก็เอาไป ทอเป็นลวดลายต่างๆ โดยใช้ กี่ (กระตุก)ทอเป็นผา้ ผืน ความกวา้ ง ความยาวของผ้าไหมสว่ นมากจะทอพ้นื 2 หลา ลายไหมมดั หม่ี 2 หลา หรือตามลูกคา้ ส่งั หลงั จากน้นั ก็นาไปแปรรูปเป็นเส้อื บรุ ษุ เส้ือสตรหี รอื ขายเป็นผา้ ผืนให้กบั ลูกคา้ ทว่ั ไปและสง่ ไปฝากขายสนิ คา้ กับเครอื ขา่ ยต่างจังหวดั กล่มุ ทอผ้าไหมบ้านหนองหญา้ ปล้อง เปน็ กลมุ่ ทีม่ ีการวางแผนการทางานท่ดี ีและสามารถพฒั นากลุม่ ได้อย่างรวดเรว็ ซง่ึ ได้ทาให้หน่วยงานต่างๆ นัน้ เหน็ ถึงความพยายามของกลุม่ ทอผ้าไหม จงึ ได้เข้าไป ช่วยเหลือในเรอื่ งของเงนิ ทนุ ที่ใชใ้ นการผลติ สินค้าและกไ็ ดเ้ ข้าไปใหค้ วามรู้ในเร่ืองตา่ งๆ เชน่ ใหค้ วามรใู้ นเรือ่ ง การผลติ การจดั การ การตลาด ท่ถี ูกวธิ ีและเหมาะสม หลงั จากที่ทางกลุ่มไดท้ างานชว่ ยกันจนทาให้กลุ่ม เข้มแขง็ และเป็นทรี่ ู้จักของคนท่ัวไป จึงมกี ลมุ่ เกษตรกร นกั ศกึ ษา อาจารยเ์ ข้ามาศึกษาดูงาน ทางกล่มุ ก็ได้ให้ ความรแู้ กผ่ ู้ทเี่ ข้ามาศกึ ษาดงู านอย่างต่อเน่ือง

เรือ่ งท่ี 3.1 รังไหม การสาวไหม ขั้นตอนและ วธิ ีการ ผลติ ผา้ ไหมจากไหมป่า 1. ขั้นตอนสาวไหม

2. ขั้นตอนสบื หกู 3. ขน้ั ตอนการค้นไหม การคน้ ไหม

4. ข้นั ตอนการยอ้ มไหมจากสธี รรมชาติ 5. ขัน้ ตอนการมดั หม่ี การมัดหม่ี

6. ข้นั ตอนการทอผา้ ไหม การทอผา้

คณะผ้จู ัดทา ทปี่ รกึ ษา นายโกศลั ย์ ตง้ั ใจ ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ นายประภาส ชมพมู ี รองผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จงั หวดั ขอนแกน่ นางมาลินี สุนทรศร ศกึ ษานเิ ทศกเ์ ชย่ี วชาญสานักงาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ นายสุรนิ ทร์ หวา่ งจิตร ผู้อานวยการ กศน.อาเภอมัญจาคีรี นางนงนุช เมอื งวงศ์ บรรณารกั ษ์ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ /แหลง่ เรยี นรู้ นางทองเลศิ สอนจันทร์ วทิ ยากร ภมู ิปญู ญาท้องถน่ิ ศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน กศน.ตาบลโพนเพก็ คณะผเู้ รยี บเรยี ง นางภัชราภรณ์ คาหวาน หัวหนา้ กศน.ตาบลโพนเพ็ก นายภาคภูมิ ศิริสจุ รติ กุล ครู กศน.ตาบลโพนเพ็ก นายสุชนิ หมอกชัย ครปู ระจากลุ่ม ปวช.คอมพวิ เตอร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook