ทวปี ยโุ รป กับพัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์
การพัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง ยโุ รปมพี ัฒนาการทแี่ ตกตา่ งกนั ดงั น้ี 1.ระบอบกษตั รยิ ภ์ ายใตร้ ฐั ธรรมนญู เป็นจุดเรมิ่ ตน้ ของการปกครองแบบกษัตรยิ ์ภายใต้ รฐั ธรรมนญู อย่างแทจ้ ริง ทง้ั ยังยุตปิ ญั หาความแตกแยก ทางศาสนาภายในประเทศโดยกาหนดให้กษัตริย์ต้องทรง นับถอื และเป็นองคศ์ าสนูปถัมภกของนิกายแองกลิคนั (Anglicanism) หรอื นกิ ายอังกฤษ (Church of England) 2. ระบอบกษตั รยิ แ์ บบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ระบอบการปกครองท่มี กี ษัตริยเ์ ป็นผูป้ กครองและมสี ทิ ธขิ์ าดในการบรหิ าร ประเทศ ในระบอบการปกครองน้ี กษัตริยก์ ็คือกฎหมาย กล่าวคือ ทม่ี า ของกฎหมายทงั้ ปวงอยู่ทกี่ ษตั ริย์ คาสง่ั ความต้องการต่าง ๆ ลว้ นมผี ล เป็นกฎหมาย กษัตรยิ ์มีอานาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมอื งโดยอสิ ระ โดยไม่มีกฎหมายหรอื องค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะหา้ มปรามได้ แม้องค์กร ทางศาสนาอาจทดั ทานกษตั ริย์จากการกระทาบางอย่างและองคร์ ัฏฐาธปิ ัตย์ (กษตั รยิ )์ น้ันจะถกู คาดหวังวา่ จะปฏิบตั ติ ามธรรมเนยี ม แตใ่ นระบอบ สมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์นั้น ไมม่ ีรฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมายใด ๆ ท่ีจะอยู่ เหนือกวา่ คาช้ีขาดของรฏั ฐาธปิ ตั ย์ ตามทฤษฎพี ลเมืองนัน้ ระบอบ สมบูรณาญาสทิ ธิราชยม์ อบความไวว้ างใจท้ังหมดใหก้ ับพระเจ้าแผ่นดนิ ท่ดี ี พรอ้ มทางสายเลือดและไดร้ ับการเลี้ยงดฝู กึ ฝนมาอย่างดตี ง้ั แต่เกดิ 1
การพฒั นาการดา้ นการเมอื งการปกครอง ระบอบการปกครองในทวีปยโุ รปสมยั ปจั จบุ ัน หลงั สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ ระบอบการปกครองของยุโรปแยก ออกเปน็ ๒ ระบอบอย่างเดน่ ชัด ดงั น้ี ระบอบประชาธปิ ไตย เป็นระบอบที่เนน้ ความเป็นปัจเจกบุคคลนิยม (individualism) เหตผุ ลนยิ ม (rationalism) และเสรภี าพ (freedom) หลักการ สาคญั ของแนวความคิดประชาธิปไตย คือ สทิ ธิ เสรีภาพของ ประชาชน ประชาชนเปน็ ทม่ี าของอานาจอธิปไตย ทุกคนมีสิทธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคภายใตก้ ฎหมาย ระบอบเผดจ็ การคอมมิวนิสต์ เปน็ ระบอบการปกครองที่อ้างอุดมการณ์ของลัทธิมากซ์ในการ สร้างสังคมท่ีปราศจากชนช้นั และมคี วามเสมอภาคกันในด้าน ต่างๆ โดยชนชั้นแรงงานเปน็ ผปู้ กครองประเทศระอบเผดจ็ การ คอมมวิ นสิ ต์มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ผนู้ าพรรค คอมมิวนสิ ต์และผ้นู ารัฐเป็นคนเดียวกนั 2
พฒั นาการดา้ นเศรษฐกจิ เมือ่ นานาประเทศในยุโรปสามารถควบคมุ และยดึ คลอง ตลาดการค้าในดินแดนโพน้ ทะเลใต้ ทาใหเ้ กดิ การปฏิวัติ ทางการค้า (Commercial Revolution) ที่พ่อค้าเรง่ ผลติ สินค้าจานวนมาก ก่อใหเ้ กิดการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจท่ีมี รปู แบบต่างๆ มาจนถงึ ปัจจบุ นั ดงั นี้ เศรษฐกจิ แบบพาณชิ ยนยิ ม เศรษฐกจิ แบบพาณิชยนิยม (mercantilism) เปน็ ระบบ เศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ ขึน้ และพฒั นาพรอ้ มๆ กับการกอ่ ตัวของรัฐชาติ เปน็ รปู แบบของเศรษฐกจิ ครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๑๖-๑๘ โดยรัฐ เข้าควบคุมอุตสาหกรรมและการค้าภายในประเทศ ส่งเสรมิ การดาเนนิ ธรุ กิจของพ่อคา้ การส่งสนิ คา้ ออก และกดี กนั การ นาเขา้ สนิ ค้าจากต่างประเทศลทั ธิพาณิชยนยิ มเปน็ ผลจากความ เชือ่ ว่าการควบคุมและการดาเนินธรุ กจิ ตา่ งๆ จะทาให้รัฐม่นั คง เขม้ แข็ง ดังน้ัน จึงถอื เปน็ หนา้ ทีแ่ ละความจาเปน็ ของรัฐท่ีจะต้อง ดาเนนิ การทุกวถิ ที างเพอ่ื เปน็ เจ้าของทรพั ยากรและโภคทรพั ย์ ต่างๆ และเข้าครอบครองดินแดนตา่ งๆ 3
พัฒนาการดา้ นเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม ปลายครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๑๘ ได้เกดิ แนวคิดทางเศรษฐศาสตรแ์ ละ การเมืองทส่ี าคัญ คอื แนวคดิ ไลสเ์ ซ-แฟร์ (laissez-faireเปน็ คา ฝรงั่ เศส หมายถงึ ปล่อยใหเ้ ป็นเอง) และแนวคดิ การค้าเสรี (free trade) ของแอดัม สมทิ (Adam Smith) ชาวสกอต เจ้าของ ผลงานเร่อื ง The Wealth of Nations (ค.ศ. ๑๗๗๖) ท่ี กาหนดใหอ้ ปุ สงค์ (demand) และอปุ ทาน (supply) เป็นตวั กาหนด กลไกของตลาด ดา้ นเศรษฐกิจน้ัน ไลสเ์ ซ-แฟร์ หมายถึง การดาเนนิ นโยบายภายใน ท่รี ัฐบาลไม่ควรเข้าไปกา้ วก่ายกับการค้า เป็นธุรกจิ ของภาคเอกชน ทัง้ ในดา้ นอุตสาหกรรมและการเงิน ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรีนยิ ม สง่ เสริมให้นายทนุ แข่งขนั กันอย่างเสรี ผู้บรโิ ภคจะทาให้กลไกของ ตลาดเคลอ่ื นไหวและนาความมัง่ ค่ังมาสรู่ ัฐได้ ในโลกปจั จุบันระบบทนุ นยิ มและแนวคิดไลส์เซ แฟร์ และการค้าเสรกี ็ ยังคงเปน็ นโยบายเศรษฐกจิ ที่สาคญั ของประเทศประชาธิปไตย โดย รัฐเขา้ มามีบทบาทในด้านการวางนโยบาย การควบคมุ คุณภาพและ วธิ ีการผลติ ตลอดจนการดแู ลในเรอ่ื งสวสั ดกิ ารของผ้ใู ช้แรงงาน ด้วย 4
พฒั นาการด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม เศรษฐกจิ แบบสังคมนยิ ม (socialism) เปน็ ระบบเศรษฐกจิ ที่ พฒั นามาจากแนวความคิดทางการเมืองของคาร์ล มากซ์ (Karl Marx) นกั สังคมนยิ มทม่ี ีชอ่ื เสียงของยุโรป เกิดขน้ึ กลาง คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ เพือ่ ตอบโต้การขยายตัวของลัทธทิ ุนนยิ ม และการเอารดั เอาเปรียบชนช้นั แรงงาน เขาตอ้ งการสร้างระบบ เศรษฐกิจทีเ่ สมอภาค คือ การยกเลิกกรรมสิทธิท์ รพั ย์สนิ สว่ น บคุ คล และใหม้ กี ารจดั การทางการผลิตโดยชนช้นั แรงงาน ซึ่ง ชนชน้ั แรงงานจะใชอ้ านาจเผดจ็ การในการปกครองเพื่อผลกั ดัน นโยบายสังคมนิยมให้บรรลผุ ลสาเรจ็ 5
พฒั นาการดา้ นสังคมและศลิ ปวัฒนธรรม กาเนดิ ของชนชนั้ กลาง ในสมัยกลางตอนตน้ สงั คมของตะวันตกประกอบดว้ ย ชนชน้ั ๓ ฐานนั ดร ไดแ้ ก่ กษัตริย์-ขนุ นาง นักบวช และชาวไร่-ชาวนา (ทาสติดทดี่ นิ ) แตเ่ ม่ือมีการฟน้ื ตัวของเศรษฐกิจและเมืองข้ึนใน คริสตศ์ ตวรรษที่ ๑๑ สังคมยโุ รปกเ็ กิดชนชั้นใหม่ คือ ชนชั้น กลางหรอื ชนชนั้ กระฎมุ พี ทป่ี ระกอบอาชพี ต่างๆ เชน่ ช่างฝีมอื ลกู จา้ ง พ่อค้า อาจารย์ นักศกึ ษา โดยอาศยั อยใู่ นเขตเมือง ถอื ว่าเปน็ ชนชัน้ ใหม่ ของสังคมตะวนั ตก ชนช้นั กลางเหล่านี้ได้ ร่วมกันวางรากฐานความเจรญิ ใหแ้ กส่ งั คมยโุ รปและปลูกฝงั อุดมการณ์และวิธีการปฏบิ ตั ิในการอย่รู ว่ มกนั เช่น สิทธิและหนา้ ท่ี ของชาวเมือง การจดั เกบ็ ภาษแี ละคา่ ปรบั เป็นตน้ เพ่ือนารายได้ มาบรหิ าร การทานุบารงุ แลการป้องกันเมือง ส่งเสรมิ และขยาย การศกึ ษาการจดั ตง้ั มหาวิทยาลยั และเกดิ การฟื้นฟศู ลิ ป วิทยาการและความเจรญิ อื่นๆ ตลอดจนส่งเสรมิ คุณธรรมและให้ ความสาคญั แก่สทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคปัจเจกบุคคล ซึ่งเปน็ พน้ื ฐานสาคัญท่ีทาให้สงั คมยโุ รปสามารถพฒั นาระบอบ การปกครองแบบระบอบประชาธปิ ไตย 6
พัฒนาการดา้ นสงั คมและศลิ ปวัฒนธรรม การขยายตวั ของเมอื งในยคุ ปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม การขยายตัวของเมืองในยุคปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมเด่นชัดข้นึ ใน กลางคริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ กล่าวคือใน ค.ศ. ๑๘๕๑ การสารวจ สามะโนครวั ในอังกฤษบง่ ช้ีให้เหน็ เป็นครงั้ แรกวา่ มีประชากรอาศัย อยูใ่ นเขตเมืองมากกว่าอยใู่ นเขตชนบท ขณะท่ีประเทศอน่ื ๆ กม็ ี แนวโน้มของสังคมเมอื งในลักษณะเดียวกนั นดี้ ้วย แตเ่ มื่อส้นิ คริสต์ศตวรรษท่ี ๑๙ มเี มืองกว่า ๕๐ แห่งทม่ี ีประชากรมากกวา่ ๑ ล้านคน ปจั จุบนั ประชากรสว่ นใหญใ่ นทวีปยุโรปมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ อาศยั อยใู่ นเขตเมอื งซง่ึ มีขนาดใหญ่ การสรา้ งสรรคท์ างศลิ ปวฒั นธรรม 7
END ภรู ิภทั ร รอบรู้ ม.3/1 เลขท่ี 15
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: