Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดกิจกรรม สปก.ปลอดบุหรี่(ฉบับย่อ)

คู่มือการจัดกิจกรรม สปก.ปลอดบุหรี่(ฉบับย่อ)

Published by jukky1988, 2021-06-25 06:32:02

Description: คู่มือการจัดกิจกรรม สปก.ปลอดบุหรี่(ฉบับย่อ)

Search

Read the Text Version

ชอื่ หนังสือ ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับยอ่ ด�ำ เนนิ การผลติ ผ้เู ขียน ดร.ศันสนีย์ กีรตวิ ริ ยิ าภรณ์ แผนงานพัฒนาการสร้างเสรมิ สขุ ภาพในสถานประกอบการ ฝา่ ยข้อมูล สมาคมพัฒนาคุณภาพส่งิ แวดล้อม หทยั รตั น์ พนั ตาวงษ์ 25/25 พุทธมณฑล 4 ต.ศาลายา อ.พทุ ธมณฑล จ.นครปฐม 73170 ภทั รพร ค�ำ หงษา โทร 02-441-9232, 02-889-3390 ประสานงาน ขนิษฐา คงแกว้ www.adeq.or.th, www.healthyenterprise.org พิสจู น์อักษร สนบั สนนุ โดย สำ�นกั งานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ หทยั รัตน์ พนั ตาวงษ์ จดั พมิ พ์ท่ ี บรษิ ัท แปลน พรน้ิ ทต์ ้งิ จ�ำ กัด โทร 02-277 2222 นิตยา สายเสง็ ออกแบบโดย บรษิ ทั สตดู ิโอ โก-ออน จ�ำ กัด

ร้จู ัก “สถานประกอบการปลอดบุหร่”ี 3 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับย่อ

1.1 สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ คือ สถานประกอบการทม่ี ีการดำ�เนนิ งานเพ่อื สรา้ ง ภาวะปลอดควนั บุหร่ใี นทีท่ ำ�งาน ดว้ ยการควบคมุ การสูบบหุ รข่ี องพนักงานและผูม้ า อย่างไร จึงเรียกว่า ติดต่อ ดงั นนั้ สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ในท่ีนี้ จึงเป็นสถานประกอบการท่ี สถานประกอบการ อาจจะยังมีพนักงานส่วนหนึ่งที่ติดบุหรี่ แต่มีการห้ามไม่ให้ทั้งพนักงานและบุคคล ปลอดบหุ ร่ี ภายนอก สูบบุหรี่ในพื้นที่ที่กฎหมายระบุเป็นเขตปลอดบุหรี่ ไม่ว่าเวลาใดก็ตาม โดยสามารถสูบได้เฉพาะในพื้นที่ที่จัดไว้ให้ (อย่างถูกต้องตามกฎหมาย) เท่านั้น รวมทั้งมีการดำ�เนินงานด้านต่างๆ เพื่อเฝ้าระวังการสูบบุหรี่นอกเขตสูบ มีการให้ ความรู้แก่พนักงานเพ่ือปอ้ งกันนักสบู บหุ รหี่ นา้ ใหม่ และมีการจดั กจิ กรรมสนับสนนุ ให้พนักงานทตี่ ดิ บุหรเ่ี ลกิ สูบบุหร่ี ขอ้ บ่งชีข้ องสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ใี นท่นี ี้ คอื 1. มีนโยบายท่ีสง่ เสรมิ ภาวะปลอดบุหรี่ ทีเ่ ป็นลายลกั ษณ์อักษร 2. มีคณะท�ำ งานหรืออย่างนอ้ ยผรู้ ับผิดชอบเรื่องนีอ้ ย่างชัดเจน 3. มีการจัดสภาพแวดลอ้ มในท่ีทำ�งานใหป้ ลอดบุหรต่ี ามกฎหมาย ไดแ้ ก่ • มีพนื้ ที่ดำ�เนินงานบางสว่ น (ในระยะแรก) และพน้ื ที่ทงั้ หมด (ระยะท่ี2) เปน็ เขตปลอดบุหรี่และหา้ มจำ�หน่ายบหุ รี่ • มีการจัด เขตสูบบหุ รี่ เพ่ือจ�ำ กัดการสบู บุหรใี่ หอ้ ยูใ่ นพนื้ ท่เี ฉพาะ อย่างเหมาะสม • มกี ารตดิ ตัง้ ปา้ ย/ สญั ลักษณ์ เขตปลอดบุหร/่ี เขตสบู บุหรี่อยา่ งชัดเจน • มมี าตรการเฝ้าระวังให้มีการปฏบิ ัติใหถ้ ูกตอ้ งตามพื้นที่ที่ก�ำ หนดไว้ 4. มรี ะบบสอ่ื สารใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั พษิ ภัยของบุหรี่ และแนวทางในการ เลิกบุหร่ี 5. มีการสนับสนุนให้พนกั งานท่ีติดบหุ รีเ่ ลิกบุหรี่ เช่น มคี ลินิกเลิกบหุ ร่ี หรือจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การเลิกบหุ รขี่ องพนักงาน 6. มีการสนบั สนุนให้พนักงานออกกำ�ลังกาย 7. มีมาตรการปอ้ งกันนักสบู บุหร่หี น้าใหม่ เชน่ ไม่รับผู้ท่ีสูบบุหรี่ เข้าเปน็ พนกั งาน 4 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบับย่อ

1.2 สถานประกอบการท่ีประสบความสำ�เร็จในการพัฒนาหน่วยงานให้เป็นสถาน ประกอบการปลอดบุหรี่ มักมีผู้บริหารและคณะทำ�งานควบคุมการสูบบุหรี่ ที่มี ทำ�ไมเจ้าของกจิ การ แรงบันดาลใจและมีความตั้งใจในการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำ�งาน เนื่องจากมี จงึ ต้องการใหท้ ี่ทำ�งาน แรงจงู ใจทางด้านตา่ งๆ เชน่ หว่ งสขุ ภาพของพนักงาน ตอ้ งการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการ หรอื สถานประกอบการ ผลิตของหน่วยงาน ตอ้ งการปอ้ งกันอคั คภี ยั ฯลฯ ผู้บรหิ ารเหลา่ นี้ มกี ารด�ำ เนนิ งาน ของตนปลอดบหุ ร่ี ด้านการควบคุมการสูบบุหรอี่ ย่างจรงิ จงั น�ำ มาซงึ่ ความสำ�เรจ็ ในการควบคุมการสูบ บุหรี่ ในทีส่ ดุ โดยแรงจงู ใจตอ่ การควบคุมการสูบบหุ ร่ี มดี ังน้ี 5 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบับยอ่ 1. บุหรม่ี ีผลต่อสุขภาพ ค่าใช้จา่ ย และคณุ ภาพชีวิตของพนกั งาน การดแู ลให้ พนักงานมีสขุ ภาพที่ดี ไม่มปี ญั หาทางดา้ นการเงิน เป็นแรงจูงใจส�ำ คญั ที่ท�ำ ให้ ผบู้ รหิ ารทมี่ ีภมู ิหลังเกย่ี วกับโรคภัยไขเ้ จ็บที่เกดิ จากการสูบบุหร่ี ตง้ั ใจควบคมุ การสูบบหุ รใ่ี นทีท่ �ำ งานอย่างจรงิ จงั 2. บหุ รี่สง่ ผลต่อประสทิ ธภิ าพการผลิตขององค์กร การดูแลให้พนกั งานมีสขุ ภาวะ ท่ีดี มีความรู้สึกมน่ั คงปลอดภยั มีเกยี รติและศักดศ์ิ รีในความเปน็ มนษุ ย์ ทำ�ให้ มีความสุขในการทำ�งาน และภาคภูมใิ จในหน่วยงาน ฯลฯ เป็นปัจจัยสำ�คัญ ท่ีท�ำ ใหค้ นทำ�งานสามารถท�ำ งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ นำ�มาซงึ่ ประสทิ ธิภาพ ของกระบวนการผลิตและคุณภาพของผลผลิตของสถานประกอบการนั้นๆ และนำ�ไปสู่การเพิ่มศักยภาพหรือสมรรถนะของสถานประกอบการในการ แข่งขนั ในทส่ี ุด 3. บุหรสี่ ง่ ผลตอ่ ต้นทนุ การผลติ ของสถานประกอบการ การควบคมุ การสูบบุหร่ี ของพนกั งานในสถานประกอบการ ยังสง่ ผลใหค้ นทำ�งานมสี ขุ ภาพดี ไมเ่ จ็บป่วย โดยง่ายทำ�ให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของหน่วยงานได้เป็นอย่าง ดี นอกจากนี้ยงั ลดผลกระทบจากการลาป่วยหรือขาดงาน 4. การสบู บหุ รใ่ี นที่ทำ�งาน ทำ�ใหเ้ พ่มิ ความเส่ยี งตอ่ การเกดิ อัคคภี ัย โดยเฉพาะ อคั คภี ยั ท่เี กดิ จากกน้ บหุ รท่ี ที่ ิง้ โดยพนักงาน 5. การสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานด้วยการควบคุมการสูบบุหรี่ มีผลต่อ ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร จากการที่สถานปะกอบการมีการดำ�เนินงานที่มี ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม โดยเฉพาะตอ่ พนักงานตนเอง (CSR ด้านการปฏิบัติ ตอ่ แรงงานในสถานประกอบการ Labor Practice) 6. สถานประกอบการมีหน้าที่ท่ีจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหร่ีจากการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่ สาธารณะและที่ทำ�งานท้ังภาครฐั และเอกชนทว่ั ประเทศ

7. แรงจงู ใจอืน่ ๆ เชน่ เกิดความขัดแย้งระหว่างพนักงานท่สี ูบและไม่สูบบหุ รี่ หรอื มีการรอ้ งเรียนเก่ียวกับควนั บุหร่ี รวมทง้ั การทบี่ ริษทั จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑต์ ่างๆ เพ่อื ให้สามารถจ�ำ หนา่ ยหรอื ส่งออกสนิ คา้ ได้ เชน่ ปฏิบตั ติ ามหลกั เกณฑว์ ิธีการที่ดใี นการผลิตอาหาร (GMP) หรือ ปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑ์ของระบบวิเคราะห์ อนั ตรายและควบคมุ จุดวิกฤต (HACCP: Hazard Analysis Critical Control Point) รวมทั้งปฏบิ ตั ิตาม หลกั เกณฑ์มาตรฐาน มอก.18000 มาตรฐานระบบการจัดการอาชวี อนามัย และความปลอดภยั หรือ มาตรฐาน ISO26000 หรอื CSR DIW เป็นต้น รอ้ ยละ 99 ของสถานประกอบการมีแรงจูงใจในการพัฒนา สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ เพราะมงุ่ หวงั ในการส่งเสรมิ สุขภาพ และคณุ ภาพชีวติ ของพนักงาน อน่ื ๆ (เช่นลดการปนเปอื้ นของผลติ ภณั ฑ์ ฯลฯ) 16.9 เพ่อื ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 7.7 เพื่อลดค่าใช้จา่ ยของบริษทั 6.2 เพ่ือลดการเกิดอคั คภี ยั 24.6 เพ่ือเพิม่ ประสิทธภิ าพการท�ำ งาน 15.4 เพ่ือภาพลักษณข์ ององค์กร 52.3 เพ่ือสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และคณุ ภาพชีวิตของพนกั งาน 99.1 ร้อยละของแรงจูงใจ 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 การสูบบุหร่ี เป็นสาเหตหุ ลักของการเสยี ชีวติ ทส่ี ามารถปอ้ งกันได้ และเป็นที่ยอมรับ โดยทั่วไปว่าการสูบบุหรี่เป็นอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพ ทำ�ให้เกิดโรคและ ผลกระทบตา่ งๆ ต่อร่างกายมากมายจากสารพษิ ท่เี กดิ ขึน้ เมื่อมีการบรโิ ภคยาสบู ดว้ ย วิธีตา่ งๆ โดยควนั บุหรแ่ี ละสารพษิ ทไ่ี ดร้ บั นอกจากจะไปทำ�ลายอวยั วะในระบบทาง เดนิ หายใจและระบบอื่นๆ (ผ่านการแพร่กระจายทางโลหติ ) แล้ว ยังทำ�ใหอ้ ากาศที่ สดู เขา้ ทางลมหายใจมสี ดั สว่ นของออกซเิ จนต�ำ่ จนกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพอกี ดว้ ย โดย พบวา่ ท่วั โลกมีผู้เสยี ชีวติ ด้วยโรคจากการสบู บุหรป่ี ระมาณ 4.9 ลา้ นคน (2547) และทุกๆ 10 รายที่เสยี ชวี ิต จะมี 1 รายทเ่ี สยี ชีวติ ดว้ ยสาเหตจุ ากบหุ ร่ี ภายในปี พ.ศ. 2573 ตัวเลขจะเพมิ่ ข้นึ เป็น 1 รายในทกุ 6 สปั ดาห์ หรือประมาณ 10 ล้านรายตอ่ ปี 6 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับยอ่

1.3 ซึ่งเป็นจำ�นวนที่มากกว่าการสูญเสียชีวิตด้วยสาเหตุอื่นๆ และมากกว่าการสูญเสีย ชวี ติ ด้วยโรคนิวมอเนีย ท้องรว่ ง วัณโรค ตายแต่แรกเกิด ทกุ สาเหตรุ วมกนั ต่อปี ที่ผ่านมาสถานประกอบการ สถานประกอบการที่มีการดำ�เนินงานด้านการควบคุมการสูบบุหรี่ (โดยเข้าร่วม ส่วนใหญ่ควบคมุ การสูบบหุ ร่ี โครงการพฒั นาสถานประกอบการปลอดบหุ ร)ี่ ส่วนใหญ่ตระหนักถงึ ผลเสยี ของการ ในทท่ี �ำ งานอย่างไร สูบบุหรี่ต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของพนักงาน โดยเฉพาะสถานประกอบการที่ มผี ้บู รหิ ารทมี่ ีจิตสาธารณะหรอื มภี มู หิ ลงั เก่ยี วกบั การสบู บุหรี่ เช่น ผู้บรหิ ารที่เคย 7 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ย่อ สบู บหุ รี่ และปจั จุบันเลิกได้สำ�เรจ็ จึงอยากใหพ้ นกั งานเลกิ สบู บหุ รไ่ี ดเ้ ชน่ เดียวกัน หรือผู้บริหารที่มีญาติพี่น้องใกล้ชิดสูบบุหรี่ และมีอาการเจ็บป่วยที่สืบเนื่องมาจาก การสูบบุหรี่ โดยเฉพาะเคยเห็นอาการเจ็บป่วยอย่างทรมานจากโรคที่เกิดจากการ สูบบุหร่ี เชน่ โรคมะเรง็ ปอด หรอื โรคถุงลมโป่งพอง เป็นตน้ ซงึ่ ผลจากการสำ�รวจ เหตุผลในการตัดสนิ ใจเข้าร่วมโครงการพัฒนาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ทจ่ี ดั ท�ำ โดยโครงการพฒั นาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ีสมาคมพัฒนาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม (พ.ศ.2552) พบว่ารอ้ ยละ 99 ของสถานประกอบการท่ที �ำ การสำ�รวจ ตอบวา่ “การส่งเสรมิ สุขภาพของพนักงาน” เปน็ แรงจงู ใจหลกั ที่ทำ�ใหส้ ถานประกอบการ ตดั สนิ ใจดำ�เนนิ งานควบคมุ การสูบบหุ รอี่ ยา่ งเป็นระบบ โดยสมคั รเข้ารว่ มโครงการฯ และนำ�มาซ่ึงความสำ�เร็จของการควบคุมการสูบบุหรี่ในสถานประกอบการเหล่านี้ ในท่สี ุด สถานประกอบการส่วนใหญ่ต้องการให้ที่ทำ�งานปลอดจากควนั บุหร่ี โดยมนี โยบาย ควบคมุ การสบู บุหรี่ แตน่ โยบายดงั กลา่ วมักไม่ถกู จัดทำ�ให้เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ไมม่ ี การประชาสัมพันธอ์ ย่างต่อเนื่อง ทำ�ใหไ้ ม่เป็นทีร่ ับรขู้ องพนกั งาน ทั้งน้ี พนักงานอาจ พบเหน็ เพียงแค่ป้ายหา้ มสูบบหุ รีเ่ ทา่ นนั้ การไมม่ ีนโยบายที่ชัดเจน ท�ำ ให้สถานประกอบการส่วนใหญ่มกี ารด�ำ เนินงานดา้ นน้ี อยา่ งไม่เป็นระบบ เช่น ไมม่ ีการแต่งต้ังคณะทำ�งานหรือผูท้ ี่รบั ผดิ ชอบเก่ียวกับการ ควบคมุ การสบู บหุ รข่ี องพนกั งาน และไมม่ มี าตรการหรอื แผนการด�ำ เนนิ งานทช่ี ดั เจน การควบคุมการสบู บุหร่จี งึ มักเป็นเพียงการออกกฎระเบียบ หรือติดป้ายหา้ มสูบ แต่ ไม่มีกลไกในการติดตามดูแลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพนักงาน หรือมีบทลงโทษ หากพนกั งานฝา่ ฝนื ในขณะทีส่ ถานประกอบการบางส่วน มีการจดั เขตสบู บหุ รี่ แต่ ไม่มีกลไกเฝ้าระวังหรือจูงใจให้พนักงานท่ีติดบุหรี่สูบบุหร่ีเฉพาะในเขตสูบเท่าน้ัน

1.4 รวมท้ังไม่มกี ิจกรรมสนับสนนุ ให้พนักงานเลกิ สบู หรอื ไมม่ รี ะบบสอ่ื สารใหค้ วามรูแ้ ก่ พนักงานอย่างต่อเน่ืองจนถึงระดับที่ทำ�ให้พนักงานปรับเปล่ียนพฤติกรรมจากที่สูบ สถานการณก์ ารสูบบหุ รี่ บุหรีอ่ ย่างอิสระ มาเปน็ การสบู บหุ รีใ่ นเขตสบู หรอื ถึงขน้ั เลิกสูบบุหรี่ ของพนักงานในสถาน ท�ำ ใหใ้ นท่ีสดุ แล้ว พนกั งานส่วนหนึ่งก็ยงั คงสูบบหุ ร่ใี นท่ีทำ�งาน โดยสูบในพ้นื ที่ท่ี ประกอบการ หน่วยงานจัดใหเ้ ป็นเขตสูบบุหรี่ หรอื แอบสบู ในพน้ื ทที่ ั่วๆ ไป (เชน่ ตามทางเดนิ ปอ้ มยาม นอกรวั้ โรงงาน มุมอาคาร ทจ่ี อดรถ ฯลฯ) ซ่งึ ในกรณหี ลงั น้ี มักจะสรา้ ง ความเดือดร้อนรำ�คาญให้แกพ่ นักงานที่ไมส่ ูบบุหร่ี มากกวา่ ในกรณแี รก การปลอ่ ย ให้พนักงานสูบบุหรี่ในที่ทำ�งาน (โดยเฉพาะการอนุญาตให้มีการสูบบุหรี่ในอาคาร) ไมว่ ่าจะสูบในพนื้ ท่ที ่กี ำ�หนดหรือพ้นื ทท่ี ัว่ ไป ต่างกม็ โี อกาสทำ�ให้สภาพแวดลอ้ มในที่ ทำ�งานมีการปนเปื้อนควันบุหรี่ ที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพของพนักงานทั้งที่สูบ และไมส่ บู บหุ รไี่ ด้ทั้งสิ้น และทส่ี �ำ คัญทำ�ใหเ้ กิดความขัดแยง้ ระหวา่ งพนกั งานท่ีสูบกับ ไม่สูบบหุ ร่ี จากการสำ�รวจของโครงการพัฒนาสถานประกอบการปลอดบุหรี่ (พ.ศ. 2553) พบว่า รอ้ ยละ 26.4 ของพนกั งานในสถานประกอบการ เป็นผทู้ ีส่ ูบบุหร่ี โดยสูบเปน็ ประจ�ำ ทุกวนั หรอื เกือบทกุ วนั เฉลีย่ วันละ 8 มวน ร้อยละ 81.8 ของพนกั งานทส่ี ูบบุหร่ี มีการสบู ในทท่ี �ำ งาน แบ่งเป็นสูบเป็นประจ�ำ รอ้ ยละ 38.4 และ สูบนานๆ ครงั้ ร้อยละ 43.4 ร้อยละของการสบู บหุ รใ่ี นท่ที ำ�งาน 43.4 18.2 ไม่สบู ในทที่ ำ�งาน 18.2 สูบเป็นประจำ� 38.4 สูบนานๆ คร้งั สบู นานๆ ครง้ั 43.4 38.4 สบู เปน็ ประจำ� 8 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบับย่อ

พนักงานที่สบู บุหร่ี ส่วนใหญส่ บู วันละ 8 มวน จำ�นวนมวนท่ีสบู 20 มวน ขึ้นไป 1.6 16-20 มวน 6.2 11-15 มวน 5.4 6-10 มวน 43.2 1-5 มวน 43.6 0 10 20 30 40 50 รอ้ ยละ 9 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบบั ยอ่

ร้อยละ 72 ของพนักงานทสี่ ูบบหุ ร่ใี นที่ท�ำ งาน จะสูบในเขตสูบบหุ รี่ ท่หี นว่ ยงานจดั ไว้ให้ ร้อยละของพ้นื ที่สบู บุหรใ่ี นท่ีท�ำ งาน อน่ื ๆ เชน่ ขา้ งก�ำ แพงนอกโรงงาน รา้ นคา้ ขา้ งโรงงาน 7.7 โรงอาหาร 2.8 ทีจ่ อดรถ 7 ห้องนำ้� 13 บันไดหนีไฟ 0.8 ห้องหรือเขตสบู บุหรีท่ ี่หน่วยงานจัดให้ 72.1 ระเบยี ง นอกพืน้ ที่ทำ�งาน 6.6 พนื้ ที่ทำ�งาน เช่น ในโรงงาน หรือในส�ำ นักงาน 2.2 หอ้ งทำ�งานส่วนตวั 0.7 0 10 20 30 40 50 60 70 80 ร้อยละ ร้อยละ 85.9 ของพนักงานทตี่ ิดบุหร่ี ตอ้ งการเลกิ สบู บุหร่ี ต้องการ ไมต่ อ้ งการ 85.9 14.1 10 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบับย่อ 0 20 40 60 80 100

ถอดรหัส สถานประกอบการปลอดบุหร่ี 11 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับย่อ

2.1 สถานประกอบการเป็นสถานที่ท่ีคนจำ�นวนมากมาอยู่รวมกันในช่วงเวลาหน่ึงเพ่ือ ประกอบกจิ การตามภาระหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบในฐานะของพนกั งานสถานประกอบการ รหสั สถานประกอบการ ในต�ำ แหนง่ หรอื ระดับต่างๆ จากการท่ตี อ้ งอยูด่ ้วยกนั อย่างน้อย 8 ช่ัวโมงใน 1 วัน ปลอดบหุ รี่ 5-6 วนั ต่อสปั ดาห์ ทำ�ให้พนักงานส่วนหนงึ่ ทต่ี ิดบหุ รี่ จำ�เปน็ ตอ้ งมีการสูบบหุ ร่ใี นที่ ท�ำ งาน ซงึ่ นอกจากจะสร้างความเดอื ดรอ้ นร�ำ คาญและเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของ พนกั งานท่ไี ม่สบู บุหร่ี จากการไดร้ ับควนั บหุ รีใ่ นสิง่ แวดลอ้ มแล้ว พฤตกิ รรมการสบู บุหรขี่ องพนกั งานท่ตี ดิ บหุ ร่ี ยงั อาจสง่ ผลต่อการชกั นำ�ใหพ้ นกั งานบางส่วนทไี่ มเ่ คย สบู บุหร่กี ลายเป็นนักสบู บุหร่หี นา้ ใหมไ่ ดอ้ กี ดว้ ย อีกท้ังการท�ำ ใหพ้ นักงานท่ีติดบุหร่ี สบู บหุ รใ่ี นพ้นื ที่ทห่ี น่วยงานจดั ให้ หรือเลกิ สูบโดยเดด็ ขาดนน้ั ยงั เป็นเรือ่ งท่ที �ำ ได้ไม่ ง่ายนักและต้องอาศัยเวลา เนือ่ งจากเปน็ เรอ่ื งของการปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม ทต่ี อ้ ง อาศัยการขัดเกลาทางความคิด สร้างเจตคติใหม่ ลงมือปฏิบตั จิ นสามารถน�ำ ไปสกู่ าร เปลยี่ นแปลงได้ ดงั น้นั การพัฒนาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี นอกจากจะตอ้ งเก่ียวข้องกับคน จ�ำ นวนมาก (พนกั งานทกุ คนในสถานประกอบการ) ทม่ี ลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ระหวา่ ง พนักงานทส่ี บู และไม่สูบบหุ รี่ ผู้บรหิ ารและพนกั งานระดับปฏบิ ตั ิการ ยงั เปน็ เรือ่ ง ท่ี จ ะ ต้ อ ง ทำ � ห รื อ ขั บ เ ค ล่ื อ น ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น ร ะ ดั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ท่ขี ้นึ อย่กู บั สถานการณ์ตา่ งๆ ทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา (Dynamics) ไม่วา่ จะเปน็ พฤตกิ รรมของพนกั งานทส่ี บู บุหรี่ หรือพฤติกรรมของพนกั งานทไ่ี มส่ บู บหุ รี่ ท�ำ ใหก้ ารควบคมุ การสบู บหุ รจ่ี ะตอ้ งจดั ท�ำ บนพน้ื ฐานความคดิ ทว่ี า่ หากสถานประกอบ การใดหวงั ผลใหเ้ กิดภาวะปลอดบหุ รี่ในที่ทำ�งานได้ 100% อย่างเปน็ รปู ธรรมและ ยั่งยนื จำ�เปน็ ต้องมกี ารดำ�เนินการด้านการควบคุมการสบู บุหรี่ โดยเนน้ 1. การท�ำ แบบมสี ว่ นร่วม การควบคุมการสบู บหุ รี่ หรือการสรา้ งภาวะปลอดบุหรีใ่ นท่ีทำ�งาน ต้องอาศัยความพร้อมและความร่วมมือของพนักงานทุกคน (ตั้งแต่ผู้บริหาร/เจ้าของจนถึงระดับ ปฏิบัตกิ าร/แรงงาน) ในการรว่ มกันด�ำ เนินการ ต้งั แตก่ ารรว่ มกันก�ำ หนดนโยบายสถานประกอบการ ปลอดบุหรี่ ก�ำ หนดมาตรการ และจัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ การสร้าง สภาพแวดล้อมใหป้ ลอดบหุ รโ่ี ดยพนกั งานท้งั หมดในสถานประกอบการ ไม่วา่ จะเป็นพนกั งานทีส่ ูบ หรือไม่สูบบุหรี่ การร่วมกันหาความรู้หรือทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ หรือร่วมกัน สนบั สนนุ และชว่ ยใหพ้ นกั งานทต่ี ดิ บหุ รเ่ี ลกิ สบู บหุ รไ่ี ดส้ �ำ เรจ็ จนในทส่ี ดุ รว่ มกนั ชน่ื ชมและภาคภมู ใิ จ ตอ่ ความสำ�เร็จในการเป็น สถานประกอบการปลอดบุหรี่ 100% พรอ้ มทัง้ รกั ษาภาวะปลอดบุหร่นี ้ี ให้คงอย่อู ยา่ งยงั่ ยืนตลอดไป ดงั นัน้ รหสั ส�ำ คญั ทีจ่ ะทำ�ใหก้ ารพัฒนาสถานประกอบการปลอดบุหร่ี เกิดผลสำ�เร็จได้ คือ การสร้างความต้องการและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานประกอบการ ปลอดบุหรี่ให้เกดิ ขน้ึ มากนอ้ ยแตกต่างกนั ไปตามบทบาทหนา้ ท่ขี องพนักงานแตล่ ะคน 12 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบับย่อ

2. การทำ�อย่างเป็นระบบและเป็นกระบวนการทรี่ ้อยเรียงอยา่ งเปน็ ข้ันเปน็ ตอน โดยเร่ิมจากการมนี โยบาย เปา้ หมาย กรอบแนวคดิ ที่ชดั เจน เปน็ ที่รบั รู้ของผู้ บริหารจนถึงพนกั งานในระดับปฏิบตั กิ าร โดยเฉพาะคณะท�ำ งานฯ จะตอ้ งมีความ เขา้ ใจตรงกนั ตอ่ กรอบแนวคดิ ดงั กลา่ ว และสามารถผลกั ดนั ใหห้ รอื ใชก้ รอบแนวคดิ น้ี เปน็ หลกั ในการด�ำ เนนิ งานทจ่ี ะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน นบั ตง้ั แตก่ ารส�ำ รวจ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และพฤติกรรมการสูบบุหร่ีในท่ีทำ�งานเพ่ือวินิจฉัย และแยกแยะปัญหาเร่งด่วนที่เกิดจากการสูบบุหรี่ที่จำ�เป็นต้องแก้ไข (Problem identification and Definition) การหาสาเหตขุ องปญั หาและแนวทางแกไ้ ข โดยค�ำ นึงถงึ สถานการณ์ด้านตา่ งๆ รวมท้ังวฒั นธรรมของสถานประกอบการตนเอง (ทำ�ใหแ้ นวทางแก้ไขเป็นท่เี ข้าใจตรงกนั และเป็นทีย่ อมรับของคณะท�ำ งานฯ ทกุ คน วา่ จะท�ำ อะไร เพ่ืออะไร อย่างไร กับใคร ที่ไหน เมือ่ ไร โดยใคร) จนถงึ การลงมอื ท�ำ อยา่ งมีส่วนรว่ ม (Implementation) และจัดใหม้ กี ารประเมินผล (Evaluation) เพ่ือปรับปรงุ ใหก้ ารด�ำ เนินงานดังกล่าวมีประสิทธภิ าพและสอดคลอ้ ง กับสถานการณ์ทีเ่ ปลี่ยนไปยง่ิ ข้ึนไปอกี 3. การทำ�ให้ครบวงจร การควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำ�งานจะต้องดูแลแก้ไข แบบเปน็ องค์รวม มีการจดั กจิ กรรมท่ีหลากหลาย สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ปญั หาและพฤตกิ รรมการสบู บหุ รข่ี องพนกั งานในสถานประกอบการ ในช่วงเวลานัน้ ๆ และเหมาะสมกับบริบทและสภาวะอื่นๆ ของสถานประกอบการ เชน่ วัฒนธรรม องคก์ ร ภาวะดา้ นการผลติ และบรกิ าร งบประมาณทม่ี ี รวมทง้ั ความชอบของพนกั งาน เป็นต้น โดยกิจกรรมที่จัดจะต้องครอบคลุมตั้งแต่การจัดพื้นที่หรือสภาพแวดล้อม (เป็นการจัดการทางด้านกายภาพ) ให้เอื้อต่อภาวะปลอดควันบุหรี่ (ด้วยการ ประกาศเขตปลอดบุหรี่และให้มีที่สูบท่ีเหมาะสมและถูกต้องตามกฎหมายในระยะ แรก) ไปถงึ การสรา้ งระบบส่ือสารให้ความรทู้ ุกรูปแบบ (แกพ่ นักงานท้ังทส่ี ูบและไม่ สบู บุหร่)ี เพ่ือให้พนักงานทัง้ ท่ีสูบและไมส่ ูบบหุ รี่ มีความเข้าใจและตระหนักถึงความ จำ�เป็นในการควบคุมการสูบบุหรี่ในที่ทำ�งาน และการสนับสนุนให้พนักงานที่ติด บุหรีเ่ ลิกสูบบหุ ร่ี รวมท้งั การจดั กจิ กรรมอ่นื ๆ เพอื่ เบีย่ งเบนความสนใจของพนักงาน ออกไปจากการสูบบหุ รี่ 4. การท�ำ อย่างต่อเน่ือง โดยผนวกเข้าไปเป็นส่วนหน่งึ ในยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา ทรพั ยากรมนษุ ยข์ องสถานประกอบการ แทนการด�ำ เนนิ การในลกั ษณะของโครงการ ทม่ี กี รอบระยะเวลาท่จี ำ�กัด หรือกลา่ วอกี นยั หนงึ่ วา่ จะต้องทำ�ใหก้ ารไม่สูบบุหรี่ (ในทีง่ าน) เปน็ วฒั นธรรมขององคก์ ร 13 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ยอ่

2.2 กระบวนการพฒั นา การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นสถานประกอบการปลอดบุหร่ีได้อย่างแท้จริงน้ัน สถานประกอบการปลอดบุหร่ี สถานประกอบการ จำ�เปน็ ต้องมีการควบคมุ การสูบบหุ ร่ีอย่างครบวงจร ซึ่งอาจเริม่ จากการจัดสภาพแวดล้อมให้ถูกต้องตามกฎหมายด้วยการประกาศพ้ืนท่ีห้ามสูบ บุหรี่ (พื้นที่ในอาคารทั้งหมด) พร้อมทั้งอาจจัดเขตสูบบุหรี่สำ�หรับให้พนักงานที่ ตดิ บุหรี่ใชเ้ ปน็ พน้ื ทส่ี ูบ โดยไมร่ บกวนผอู้ ่ืนท่ีไม่สบู บุหรี่ รวมถึงการทำ�กิจกรรมอน่ื ๆ เชน่ การจดั กจิ กรรมหรอื สรา้ งระบบสอ่ื สารใหค้ วามรแู้ กพ่ นกั งาน น�ำ ไปสกู่ ารคมุ้ ครอง สขุ ภาพตนเองส�ำ หรบั ผทู้ ไ่ี มต่ ดิ บหุ ร่ี และสมคั รใจลด-ละ-เลกิ สบู บหุ ร่ี ส�ำ หรบั พนกั งาน ท่ตี ดิ บหุ รี่ ทง้ั น้ี มีเคล็ดลับที่ส�ำ คัญคอื สถานประกอบการจะตอ้ งเลอื กทำ�กจิ กรรม ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพนักงานในหน่วยงาน ตนเองในแตล่ ะช่วงเวลา เป็นกจิ กรรมทีส่ อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมและความชอบของ คนในองค์กร รวมทั้งจะตอ้ งท�ำ กิจกรรมดังกลา่ วอย่างต่อเนื่องเพอื่ ใหเ้ กิดความม่นั ใจ ได้ว่า สภาพแวดล้อมในทีท่ ำ�งานปลอดจากควันบหุ รี่อย่างแทจ้ ริงและยงั่ ยนื และท่ี ส�ำ คญั จะตอ้ งเปน็ การด�ำ เนนิ งานทไ่ี ดร้ บั ความรว่ มมอื จากพนกั งานสว่ นใหญ่ ในขณะ ท่ีสถานประกอบการแต่ละแห่งก็มีภาระกิจตามแผนการผลิตสินค้าหรือให้บริการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจขององค์กร ดังนั้นการดำ�เนินงานเพื่อควบคุมการ สบู บหุ รข่ี องพนกั งานใหไ้ ดผ้ ลจงึ ตอ้ งอาศยั การท�ำ ทเ่ี ปน็ ระบบ หรอื เปน็ กระบวนการ ดงั น้ี 1. กำ�หนดนโยบายควบคมุ การสูบบหุ รี่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรอยา่ งชัดเจน นโยบายทเ่ี ปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรชดั เจน จะแสดงถึงเปา้ หมาย ทิศทาง ขององค์กร เกย่ี วกบั การควบคมุ การสบู บหุ ร่ี โดยนโยบายสถานประกอบการปลอดบหุ รท่ี ด่ี ี ควร มเี นอ้ื หาใจความท่ีกระชบั กะทัดรดั ใช้ภาษาท่งี ่ายตอ่ การเขา้ ใจ และมีสาระทแี่ สดง ให้เหน็ ถงึ ความตงั้ ใจและความม่งุ มั่นในการควบคุมการสูบบุหรี่ ทส่ี �ำ คัญ เมื่อมกี าร ลงนามรับรองนโยบายสถานประกอบการปลอดบุหรี่โดยผู้บริหารแล้ว ควรมีการ ประชาสมั พนั ธน์ โยบายให้พนักงานทุกคน ลกู คา้ และผ้ทู ี่มาตดิ ต่อได้รบั ทราบและ เข้าใจโดยทัว่ กนั ดงั ตัวอย่าง 14 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบบั ยอ่

(ตัวอยา่ ง) นโยบายปลอดบหุ รี่ บริษัท........................................................................... วันที.่ ........... เดือน............ พ.ศ. 2553 ======================================================================================= ควนั บหุ รี่มผี ลเสยี ต่อสุขภาพของผูส้ บู และผู้ไม่สบู บหุ รี่ท่ีอย่ใู กลเ้ คียง เชน่ อาจท�ำ ให้เกดิ มะเร็งของปอดและอวยั วะอื่น โรคหลอด เลอื ดหัวใจตีบ อีกท้ังควนั บุหร่ียงั ทำ�ให้โรคบางโรค เชน่ โรคหอบ หดื หรือโรคภมู แิ พม้ อี าการก�ำ เริบขนึ้ พบวา่ การจัดใหม้ กี ารระบายอากาศหรือ จัดเขตแยกสำ�หรับผู้สบู บหุ รแ่ี ละผู้ไม่สบู บหุ ร่ี ทีอ่ ยู่ในบรเิ วณเดยี วกนั ไมส่ ามารถป้องกันผู้ไม่สบู บหุ รจ่ี ากการรบั ควันบุหรไ่ี ด้ร้อยเปอร์เซน็ ต์ เพอื่ คมุ้ ครองสขุ ภาพของพนกั งาน ลูกคา้ และผมู้ าติดตอ่ จากการได้รับควนั บหุ รีม่ อื สอง และเพ่ือใหก้ ารดำ�เนนิ งานของบรษิ ัท โดยเฉพาะในส่วนที่เกยี่ วขอ้ งกับการคมุ้ ครองสขุ ภาพของพนกั งานท่ีไมส่ บู บุหรี่ เป็นไปตามข้อบังคบั ของประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับ ที่ 19 พ.ศ.2553 ทกี่ �ำ หนดใหส้ ถานที่สาธารณะท่ีใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั ท้ังภาครัฐและเอกชน เชน่ อาคารโรงงาน ส�ำ นักงาน ฯลฯ เปน็ สถานทที่ ี่ ต้องปลอดบุหรีท่ ้งั หมด บริษทั ............................................................... จงึ เห็นควรใหม้ กี ารกำ�หนดนโยบายปลอดบหุ ร่ีขน้ึ ดงั น้ี 1. ก�ำ หนดใหพ้ น้ื ทท่ี �ำ การทงั้ หมดของบรษิ ทั (ทกุ พนื้ ทใ่ี นอาคารส�ำ นกั งาน/อาคารโรงงานและบรเิ วณทว่ั ไปยกเวน้ พนื้ ทที่ ไี่ ดก้ �ำ หนดใหเ้ ปน็ เขตสบู บุหรี่) เปน็ เขตปลอดบุหรี่ 2. จดั ให้มีการด�ำ เนินการอ่นื ๆ เพ่ือพฒั นาให้บริษัท เป็นสถานประกอบการปลอดบุหร่ี ท้งั นี้ นโยบายปลอดบุหรน่ี ้ี จะมีผลบงั คับใช้กบั พนกั งานทกุ ระดบั ท่ีปรึกษา ลกู ค้า ผู้ท่มี าติดต่อทุกคน นบั ตัง้ แตว่ นั ท่ี ............................ โดยจะหา้ มไมใ่ หม้ กี ารสบู บหุ รใ่ี นพน้ื ทส่ี �ำ นกั งาน โรงงาน พน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร และในพาหนะของบรษิ ทั ทง้ั หมด ยกเวน้ ในพน้ื ทท่ี จ่ี ดั เปน็ เขตสบู บหุ ร่ี และจะมีการด�ำ เนินงานในรปู แบบตา่ งๆ เพ่อื พฒั นาบรษิ ทั ............................................... ใหเ้ ป็นสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ภายในปี ................... และเพื่อให้นโยบายปลอดบุหรี่ของบริษัทได้รับการผลักดันให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงกำ�หนดให้พนักงานที่มีรายชื่อดังต่อไปนี้ เปน็ คณะทำ�งานปลอดบุหร่ี 1. .............................................................................. 2. ........................................................................ 3. ............................................................................... 4. ...................................................................... 5. ............................................................................... 6. ........................................................................ 7. ............................................................................... 8. ........................................................................ 9. ............................................................................... 10. ....................................................................... โดยคณะท�ำ งานปลอดบหุ ร่ี มหี นา้ ทข่ี บั เคลอ่ื นนโยบายปลอดบหุ รข่ี องบรษิ ทั ใหเ้ กดิ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ในเวลาทก่ี �ำ หนด โดยสามารถ ทำ�ให้บริษัทได้รบั การยอมรับจากสังคมทั่วไปวา่ เปน็ สถานประกอบการปลอดบหุ ร ่ี ส�ำ หรบั พนักงานทเี่ หลือทงั้ หมด มหี น้าท่ใี นการสนบั สนุน ส่งเสริม และรว่ มมอื ปฏบิ ัติการ เพ่ือให้บริษทั เปน็ สถานประกอบการปลอดบุหร่รี ้อยเปอรเ์ ซ็นต์ในทส่ี ุด ลงนาม ..................................................................( ) กรรมการผจู้ ัดการ บรษิ ทั .................................................. 15 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับย่อ

2.จดั ตง้ั คณะท�ำ งานสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ีและก�ำ หนดบทบาทหนา้ ท ี่ ของคณะท�ำ งาน คณะท�ำ งานฯ มคี วามส�ำ คญั มากตอ่ การพฒั นาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี เพราะ เป็นแกนนำ�หรือเป็นตัวตั้งตัวตี เป็นผู้ประสานงาน ในการขับเคลื่อนองค์กรให้ ปลอดจากควันบุหรี่ โดยสถานประกอบการอาจใช้คณะทำ�งานดา้ นอนื่ ๆ ทม่ี ีอยแู่ ลว้ (เช่น คณะท�ำ งานด้านส่งิ แวดล้อม คณะท�ำ งานด้านสวสั ดิการของหน่วยงาน) แต่ มอบหนา้ ที่ใหด้ ูแลควบคมุ การสบู บหุ รเี่ พมิ่ เติม หรอื จัดตงั้ คณะท�ำ งานข้ึนมาใหม่ก็ได้ โดยคัดเลือกจากพนักงานที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม หรือดูตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ หรือใช้วิธีรับสมัครผู้ท่มี คี วามสนใจและมีจิตสาธารณะทีจ่ ะเตม็ ใจเขา้ มาทำ�หนา้ ที่ หน้าท่ขี องคณะท�ำ งานฯ สถานประกอบการปลอดบุหร่ี มีดงั นี้ 1. ร่วมกับผู้บริหารในการกำ�หนดนโยบายสถานประกอบการปลอดบุหรี่ และจดั ท�ำ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร พรอ้ มทง้ั ประชาสมั พนั ธน์ โยบายดงั กลา่ วใหพ้ นกั งานไดร้ จู้ กั และรับทราบ 2. เรยี นร้วู ธิ ีการขบั เคลือ่ นสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ดว้ ยการเขา้ รบั การอบรม สมั มนา ประชมุ ปฏิบตั กิ าร 3. สำ�รวจข้อมูลเก่ยี วกับสถานการณก์ ารสูบบหุ รีข่ องพนักงาน และนำ�ผลท่ีไดจ้ ากการสำ�รวจมาวิเคราะห์หา แนวทางในการดำ�เนินงานด้านการควบคมุ การสูบบุหรใี่ ห้ได้ผลตามเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ 4. จดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทขององค์กร และนำ�เสนอ แผนปฏิบัติการควบคุมการสูบบุหรี่ต่อผู้บริหารเพื่อให้ความเห็นชอบและอนุมตั ดิ ำ�เนนิ การ 5. ดำ�เนินการตามแผนปฏิบัติการ โดยทำ�หน้าที่เป็นผู้ประสานงานและอำ�นวยความสะดวก ในการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ แบ่งเปน็ 4 กลมุ่ คือ • กจิ กรรมจดั เขตปลอดบุหร/่ี เขตสูบบหุ รี่ และดูแลให้มกี ารปฏบิ ตั ิตามระเบียบท่ีกำ�หนด • กจิ กรรมรณรงค์และใหค้ วามรูเ้ กีย่ วกบั พิษภยั ของบหุ ร่ี หรือป้องกนั ตนเองจากควนั บุหรม่ี ือสอง • กจิ กรรมสนับสนุนการเลิกสูบบุหรี่ เช่น คลนิ กิ อดบหุ รี่ ชมรมคนเลิกบุหร่ี เปน็ ต้น • กิจกรรมสนับสนนุ การควบคมุ การสบู บุหรี่ เช่น การออกก�ำ ลงั กาย การจดั แขง่ ขันกีฬา 6. ตดิ ตามผลการด�ำ เนนิ การเปน็ ระยะๆ มกี ารประเมนิ เพอ่ื ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของการดำ�เนินงานและหา แนวทางเพอื่ ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมยงิ่ ข้ึน 7. ประชาสัมพันธผ์ ลการดำ�เนนิ งานอย่างต่อเนอื่ ง 16 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบบั ย่อ

ลกั ษณะท่ัวไป ของคณะท�ำ งานฯ • มีจ�ำ นวนต้งั แต่ 6-20 คน ข้นึ อยู่กับขนาดของสถานประกอบการ • ประกอบด้วยตวั แทนจากฝ่ายหรือแผนกตา่ งๆ • เปน็ ผู้ท่มี อี ำ�นาจ หรือเป็นทย่ี อมรับนบั ถือของพนักงาน โดยสว่ นใหญ่จะเปน็ พนักงานระดบั บรหิ ารหรือผ้บู ริหารระดบั กลาง • เปน็ ผ้ทู ่คี วามรู้ ความเขา้ ใจเบือ้ งตน้ เกี่ยวกับพษิ ภยั ของบุหร่ี และมักมที ศั นคติที่ ดตี ่อแนวคิดสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ • มีความตั้งใจ ทมุ่ เท มจี ติ อาสา และพร้อมจะให้ก�ำ ลังใจทกุ ๆ คนท่มี ปี ญั หา • มคี วามสามารถทางจติ วทิ ยา ทกั ษะการสือ่ สาร และมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ • เป็นผู้บริหารหรือหัวหน้าแผนกที่เคยสูบบุหรี่มาก่อน ในขณะที่มีหลายสถาน ประกอบการทม่ี คี ณะท�ำ งานฯ บางสว่ นเป็นผูท้ สี่ ูบบหุ รี่ เคลด็ ลับในการท�ำ งาน • ต้องดูแลเอาใจใส่และทำ�ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นถึงความต้ังใจจริงในการ ดำ�เนินงาน • ตอ้ งเนน้ จดั กจิ กรรมใหค้ วามร้แู ก่พนกั งาน ซง่ึ เป็นสิ่งท่สี ำ�คัญมาก และจ�ำ เปน็ จะต้องทำ�อย่างต่อเน่อื ง • ตอ้ งมคี วามสามารถในการโน้มน้าวผบู้ รหิ ารให้เขา้ มาสนับสนุน และมีส่วนร่วม กบั กิจกรรมตา่ งๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ในระหวา่ งการด�ำ เนินงาน • ควรมกี ารจัดสรรเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อเพิม่ ความสนใจและสรา้ งการมสี ่วนรว่ ม ของพนกั งาน • ควรมีการจัดประชุมและติดตามผลการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง และควรหา บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่มาช่วยแบ่งปันประสบการณ์และให้คำ�ปรึกษากับ พนกั งานที่ตอ้ งการเลิกสูบบหุ รี่ 17 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับยอ่

3. เรยี นรูว้ ิธีการขับเคลอ่ื นสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ศกึ ษาคู่มอื และเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง ตวั ช่วยส�ำ หรับผู้บรหิ ารและ/เจ้าของกิจการ คณะท�ำ งาน หรือผู้มีหนา้ ท่ีเก่ียวขอ้ ง กบั การควบคมุ การสบู บหุ รใ่ี นสถานประกอบการ จดั เปน็ องคค์ วามรู้ เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง ความม่นั ใจ รวมท้ังเปน็ แนวทางการด�ำ เนินงาน ที่จะสร้างและกอ่ ให้เกดิ กระบวน การเรยี นรไู้ ดใ้ นระดบั หนง่ึ ทจ่ี ะสามารถพฒั นาเปน็ สถานประกอบการปลอดบหุ รไ่ี ด้ อย่างเปน็ รูปธรรม ไดถ้ ูกรวบรวมไว้ใน “คู่มือพัฒนาสถานประกอบการปลอดบุหร”่ี และชุดความรู้ “ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหรี่” สถานประกอบการจะ ต้องมกี ารประยกุ ต์ ปรบั ปรุง ตัดทอนหรือเพ่มิ เติมในบางประเดน็ จากเอกสารอน่ื ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับสภาพการณท์ กุ ดา้ นของสถานประกอบการ และให้ ยึดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสถานประกอบการปลอดบุหร่ี เป็นสำ�คญั 18 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบบั ยอ่

คณะท�ำ งานฯ เข้ารบั การอบรมหรือศึกษาดงู านด้านการควบคุมการสูบบหุ ร่ี จดั ว่าเป็นการพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรในหน่วยงาน ทำ�ให้คณะท�ำ งานฯ ทจี่ ะ มารับบทบาทเป็นผู้ขับเคล่ือนสถานประกอบการปลอดบุหรี่นั้นมีทักษะในการจัด กิจกรรม และเสรมิ สร้างกระบวนการเรยี นร้ใู ห้เกิดขึ้นในตัวบุคคล สรา้ งความมัน่ ใจ ในการถา่ ยทอดความรใู้ หแ้ กพ่ นักงานได้เพิม่ มากย่งิ ขึน้ ซึง่ มหี ลากหลายวธิ กี ารทีจ่ ะ สามารถส่งตวั แทนคณะท�ำ งานฯ เข้าร่วมกิจกรรมเรยี นร้เู กี่ยวกับการควบคุมการสบู บุหร่อี ย่างเปน็ ระบบ อาทิ สง่ ตัวแทนคณะท�ำ งานเข้าร่วมกิจกรรมเรยี นรกู้ ารควบคุม การสูบบุหรี่อย่างเป็นระบบกับสมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือหน่วยงาน ตา่ งๆ ใหม้ ากทส่ี ุดเท่าทีจ่ ะทำ�ได้ เช่น • เครอื ข่ายวิชาชีพสขุ ภาพเพื่อสงั คมไทยปลอดบหุ รี่ (THPAAT) โทร 02-716-6961 หรือที่ http://thpaat.org • เครอื ข่ายพยาบาลเพ่ือการควบคมุ ยาสูบแหง่ ประเทศไทย โทร 02-354-1801-2 ต่อ 23 หรอื ที่ http://tobaccofree.thainurse.org • ฯลฯ หรืออยา่ งนอ้ ยได้มีโอกาสแลกเปลย่ี นศกึ ษาดูงานจากหน่วยงานท่ีใหค้ ำ�ปรกึ ษา ผู้ทต่ี อ้ งการเลกิ สบู บหุ ร่ีโดยตรง เชน่ • สถาบันธญั ญารักษ์ โทร 02-531-0080-4 หรือที่ http://thanyarak.go.th • สถาบันโรคทรวงอก โทร 02-589-7006 หรอื ท่ี http://cdi.thaigov.net • ศูนยบ์ ริหารเลกิ บหุ ร่ที างโทรศพั ทแ์ ห่งชาติ (Quitline1600) โทร 02-245-4149 หรือที่ http://thailandquitline.or.th • ฯลฯ 4. หาแนวทางในการด�ำ เนนิ งาน สำ�รวจสถานการณ์และพฤติกรรมการบรโิ ภคยาสบู ของสถานประกอบการ เปน็ ขน้ั ตอนของการหาแนวทางในการด�ำ เนนิ งาน จงึ ก�ำ หนดใหก้ ารส�ำ รวจสถานการณแ์ ละพฤติกรรมการสบู บุหรี่ ของพนกั งานในสถานประกอบการเป็นขัน้ ตอนย่อยแรกๆ ที่คณะทำ�งานฯ จะต้องดำ�เนินการเพื่อให้สามารถ แยกแยะปัญหาและสาเหตุของปญั หาการควบคมุ การสบู บหุ ร่ี ซง่ึ จะน�ำ ไปสกู่ ารก�ำ หนดแผนงาน เปา้ หมาย ระยะเวลา รวมทั้งกำ�หนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการควบคุมการสูบบุหรี่ด้วยการจัดกิจกรรม ในรูปแบบตา่ งๆ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปญั หาและบริบทของสถานประกอบการ 19 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ย่อ

วเิ คราะหข์ ้อมูลที่ไดม้ าเพ่ือหาแนวทางในการจัดการ ขอ้ มลู จากการวเิ คราะห์ จะสะท้อนสถานการณ์ท่เี ปน็ อยู่ของแต่ละสถานประกอบ การว่ามีแนวโน้มอย่างไรโดยข้อมูลที่เก็บมาได้ควรมีการจัดการอย่างเป็นระบบ เพอ่ื ใหง้ ่ายต่อการใช้งาน อาจมีการจดั ทำ�ไว้ในรปู ของแผนภมู เิ ปรียบเทยี บ แผ่นภาพ เพื่อเตรียมใช้ในขั้นตอนการประชาสัมพันธ์ให้พนักงานได้ทราบถึงสถานการณ์ ใน ขณะที่ผลท่ีได้จากการสำ�รวจและวิเคราะห์จะถูกใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการกำ�หนด เปา้ หมายและการวางแผนการจดั กจิ กรรมในแผนปฏบิ ตั กิ ารสถานประกอบการปลอด บหุ รต่ี อ่ ไป นำ�เสนอข้อมลู ดา้ นการสูบบหุ ร่ขี องสถานประกอบการ เปน็ การประชาสมั พนั ธเ์ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการด�ำ เนนิ โครงการ และเปน็ ชอ่ ง ทางในการรับฟังความคิดเห็นของพนักงานท่ีมีต่อนโยบายสถานประกอบการปลอด บหุ รท่ี ่ไี ดป้ ระกาศออกมาก่อนหน้าน้ี เพื่อหาแนวทางทเี่ หมาะสมในการดำ�เนนิ งาน ร่วมกันอนั จะน�ำ ไปสู่การกำ�หนดเป้าหมายท่ชี ัดเจน กำ�หนดเป้าหมายการควบคมุ การสูบบหุ ร่ี เปรยี บเสมือน จดุ หมายปลายทางท่ที กุ คนจะต้องรว่ มกนั (ด�ำ เนินการ) เดนิ ไปให้ ถึงในแต่ละช่วงเวลา ดังนั้น การกำ�หนดเป้าหมายจึงต้องทำ�บนพื้นฐานของความ เขา้ ใจในสถานการณก์ ารสบู บหุ ร่ี และพฤตกิ รรมการสบู บหุ รข่ี องพนกั งาน สอดคลอ้ ง กับวัฒนธรรมองค์กร ความพร้อมด้านอ่ืนๆ ของบรษิ ัท จัดท�ำ แผนปฏบิ ัติการสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ความจำ�เป็นที่จะต้องสร้างความเข้าใจในแนวทางและทิศทางการพัฒนาสถาน ประกอบการปลอดบุหรี่อย่างชัดเจน ซึ่งจะนำ�ไปสู่การปฏิบัติงานของคณะทำ�งาน ทง้ั หมด (รวมท้งั ผู้บริหาร) บนพ้นื ฐานของความเข้าใจทีต่ รงกนั ในทน่ี ี้ เครอ่ื งมือ ที่เหมาะสมที่สุดในการกำ�หนดกรอบการดำ�เนินงานให้คณะทำ�งาน และพนักงาน ได้ถือปฏิบัตินั้น ก็คือ แผนปฏิบัติการสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ซึ่งกลุ่ม กิจกรรมหลักๆ ทคี่ วรบรรจุไวใ้ นแผนปฏิบตั ิการ คือ • การจดั เขตปลอดบุหร/่ี สูบบุหรี่ • การจัดกจิ กรรมรณรงคใ์ หค้ วามรู้ เพ่ือสร้างความตระหนกั • การสนับสนนุ ใหเ้ ลกิ สูบ 20 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับยอ่

5. ลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผนปฏิบตั กิ าร ประชาสมั พนั ธก์ ารด�ำ เนินงาน คณะทำ�งานควรจดั ใหม้ กี ารประชาสมั พนั ธแ์ ผนปฏบิ ตั กิ ารและท�ำ การประชาสมั พนั ธ์ กิจกรรมท่จี ะจดั ข้นึ ตามแผน เช่น การจดั บอรด์ นิทรรศการสำ�หรบั ให้พนักงานเกิด การรับรู้สำ�หรับพนักงาน หรือส่งข้อมูลประชาสัมพันธ์ผ่านทางอินทราเน็ตสำ�หรับ คณะทำ�งานในระดบั หวั หน้างาน หรือช่องทางอนื่ ๆ กอ่ นทจี่ ะไดม้ ีการจดั กิจกรรม และเพ่ือให้เกดิ การับร้อู ย่างตอ่ เนือ่ งควรประชาสัมพันธ์ความก้าวหนา้ และผลท่ีเกดิ ขึ้นหลงั การจดั กจิ รรม จัดกจิ กรรมสรา้ งแนวร่วม เพ่อื สง่ เสริมการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการสูบบุหร่ี และการป้องกนั ตนเองจากควนั บุหร่มี อื สอง ในข้ันตอนนผี้ ู้บริหารจะเปน็ ผู้มีสว่ นสำ�คัญในการสนับสนนุ ส่งเสรมิ จูงใจ และให้ ก�ำ ลงั ใจคณะท�ำ งาน เพอ่ื รกั ษาความตง้ั ใจ ความมงุ่ มน่ั ของคณะท�ำ งาน หรอื ผบู้ รหิ าร ควรจะเข้ามารว่ มกจิ กรรม เชน่ เขยี นบอร์ดใหก้ �ำ ลังใจพนกั งานทต่ี ้องการเลกิ บุหร่ี หรือเป็นประธานในการมอบเกียรติบัตรและรางวัลให้แก่พนักงานที่สามารถเลิกบุหรี่ ได้สำ�เร็จ ให้กำ�ลังใจคณะทำ�งาน หรือช่วยพูดคุยชักชวนให้พนักงานที่สูบบุหรี่ เขา้ ร่วมกจิ กรรม ลด ละ เลกิ สบู บุหร่ี ในขณะท่ีพนักงานทีไ่ ม่ไดส้ บู บุหรี่ (พนกั งาน สว่ นใหญ)่ กจ็ �ำ เปน็ จะตอ้ งเหน็ ความส�ำ คญั ของการปอ้ งกนั ตนเองจากควนั บหุ รม่ี อื สอง และเข้ามามสี ว่ นร่วม ส่งเสรมิ กจิ กรรมใหบ้ รรลุเป้าหมายของสถานประกอบการ 21 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ยอ่

จดั กจิ กรรม เพื่อสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการควบคุมการสบู บุหร่ีของพนักงาน ในสถานประกอบการ การส่งเสริมการมีส่วนร่วม ถือเป็นขั้นตอนระหว่างการดำ�เนินงานที่จะช่วยสร้าง ความตระหนกั ใหเ้ กิดขึ้นแกพ่ นกั งาน ซง่ึ นอกจากจะต้องใหค้ วามรแู้ ก่พนักงานแลว้ จำ�เป็นท่ีจะต้องหาแนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วมอื่นๆให้เกิดข้ึนในหน่วยงาน ดว้ ยวธิ กี ารจดั กจิ กรรมทม่ี คี วามหลากหลาย เพอ่ื จงู ใจใหพ้ นกั งานเขา้ มารว่ มกจิ กรรม เชน่ กิจกรรมประกาศเจตนารมณ์/ ปฏญิ ญาปลอดบหุ ร่ี แข่งขนั จัดนิทรรศการ สัปดาหไ์ ร้ควันบหุ ร่ี จดั การประกวดทูตปลอดบุหรี่ เป็นตน้ จดั ใหม้ ีการบรู ณาการกิจกรรมสรา้ งเสรมิ ภาวะปลอดบหุ รใี่ นการจดั งานตา่ งๆ ของสถานประกอบการ การจดั กิจกรรมหรอื จดั งานตา่ งๆ ในสถานประกอบการ ถอื เป็นสว่ นหนงึ่ ของภาระ งานทีจ่ ะเกิดข้นึ ในสถานประกอบการ จัดว่าเป็นวฒั นธรรมองคก์ ร หรือกิจกรรม หลักท่ีอาจเกี่ยวข้องกับนโยบายการส่งเสริมสุขภาพหรือควบคุมปัจจัยเส่ียงอื่นๆ ของสถานประกอบการ ทั้งนี้กิจกรรมต่างๆ ไม่ใช่ภารกิจหลักที่จะส่งผลต่อผล ประกอบการ แต่เป็นองค์ประกอบรองที่จำ�เป็นจะต้องขับเคลื่อนให้เกิดขึ้น ซึ่ง สถานประกอบการสามารถกำ�หนดจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่พนักงาน อาทิ กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสรมิ การควบคมุ การสบู บุหรี่การลด ละ การด่ืมสุรา การเลน่ พนัน การควบคมุ การเกิดอบุ ัติเหตุบนทอ้ งถนน และการออกกำ�ลงั กาย ฯลฯ ให้เกิดขึ้นไปพร้อมๆ กนั ไดด้ ว้ ย โดยการบรู ณาการกิจกรรมทจี่ ะถกู จัดขนึ้ ร่วมกนั (จดั คร้งั เดยี วแต่มีหลากหลายประเดน็ ) ทง้ั นี้ เพอื่ ให้เกิดภาวะสร้างเสรมิ สุขภาพของ พนักงานในสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ ถือเป็นการลดภาระงานไม่ต้องจัด กิจกรรมหลายๆ ครั้งในช่วงเวลาใกล้ๆ กัน 22 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ย่อ

6. ประเมินผลการด�ำ เนินงาน และปรบั ปรุงแผน สำ�รวจสถานการณแ์ ละพฤตกิ รรมการบริโภคยาสบู ของสถานประกอบการ หลงั จากไดม้ กี ารด�ำ เนนิ งานไประยะหนง่ึ หรอื หลงั จากจดั กจิ รรมใดๆ ไป คณะท�ำ งาน ควรมีการจัดประชุมเพื่อประเมินผลว่า การดำ�เนินกิจกรรมตามแผนฯ ที่ผ่านมา ประสบความส�ำ เร็จ หรอื ล้มเหลว ท�ำ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอะไรและอยา่ งไรบ้าง โดยยึดตัวช้ีวัดท่ีกำ�หนดไว้ในเบื้องต้นเป็นตัวประเมินความสำ�เร็จและการเปล่ียน แปลงของสถานประกอบการ เช่น สถานประกอบการที่มีเป้าหมายให้หน่วยงาน ปลอดบหุ รี่ 100 % ในปี 2555 กอ็ าจกำ�หนดตวั ชวี้ ดั เปน็ จ�ำ นวนพนกั งานที่สบู บุหรใ่ี นพืน้ ทที่ �ำ งาน (ซง่ึ ควรจะเปน็ ศนู ยใ์ นปี 2555) หรอื วดั จากการสบู บหุ รข่ี องผทู้ ่ี มาตดิ ตอ่ บรษิ ทั วา่ มกี ารสบู ในพ้ืนทีท่ ่ีจัดให้หรอื ไม่ หรือวดั จาก จำ�นวนพนักงานที่ติด บหุ ร่ีวา่ เพม่ิ ขนึ้ หรือลดลง เปน็ ต้น ปรับปรุงแนวทางการดำ�เนินงานตา่ งๆ หากการเปลี่ยนแปลงจากการประเมินผลท่ีเกิดข้ึนมีแนวโน้มว่าจะบรรลุผลตาม เปา้ หมาย กไ็ ม่ตอ้ งปรับปรงุ แผนปฏบิ ัติการ แต่ถา้ มีแนวโนม้ ว่าจะไมบ่ รรลผุ ลตาม เปา้ หมาย ควรจะพจิ ารณาวา่ มปี ญั หาหรอื อปุ สรรคใดเกดิ ขน้ึ และจะปรบั ปรงุ แกไ้ ข ปญั หาน้นั ไดอ้ ยา่ งไร และเทคนิคทสี่ ำ�คญั มากกค็ อื ปรบั เปล่ียนแผนฯ ให้มีความ เหมาะสมกับสถานการณ์ของสถานประกอบการทีเ่ ปลย่ี นไปตลอดเวลา เพือ่ ให้การ ดำ�เนินงานมีความเหมาะสมกับช่วงเวลาท่ีจะทำ�ให้พนักงานสามารถมีส่วนร่วมได้ โดยสะดวก 23 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ยอ่

7. รักษามาตรฐานการดำ�เนินงานด้านการควบคุมการสูบบุหร่อี ย่างตอ่ เน่อื ง จดั ท�ำ แบบสำ�รวจ/ แบบสอบถามเพ่อื ส�ำ รวจข้อมูลเก่ยี วกับสถานการณ์ การสูบบหุ รีใ่ นสถานประกอบการอย่างต่อเนอื่ ง เมอ่ื มกี ารด�ำ เนนิ งานควบคมุ การสบู บหุ รอ่ี ยา่ งเปน็ รปู ธรรม จนเปน็ สถานประกอบการ ปลอดบหุ ร่แี ลว้ ส่งิ ทตี่ อ้ งทำ�ตอ่ ไปกค็ อื ท�ำ อย่างไรใหส้ ามารถรักษามาตรฐานดงั กลา่ ว ไว้ให้ได้ เพื่อป้องกันพนักงานไม่ให้กลับไปสูบบุหรี่อีก หรือฝ่าฝืนสูบในเขตปลอด บหุ ร่ี ในสว่ นนต้ี อ้ งมกี ารควบคมุ โดยชแ้ี จงใหเ้ หน็ บทลงโทษทช่ี ดั เจนเมอ่ื มกี ารฝา่ ฝนื จะได้รับโทษอย่างไร หรืออาจตรวจสอบพฤติกรรมของพนักงานเป็นระยะ มีการ ต้ังรางวัลนำ�จบั ผู้ท่ฝี ่าฝนื นโยบาย ส�ำ หรบั ผ้ทู เี่ ลกิ บุหร่ไี ด้ควรประกาศใหเ้ ขาเหล่านั้น เปน็ ตน้ แบบผู้เลกิ บหุ ร่ี อาจมีการใหร้ างวลั หรอื มอบประกาศนยี บัตร หรือเอารูปกบั ช่ือไปตดิ บอร์ด เพื่อเป็นการประกาศยกย่องชมเชย ซึ่งจะทำ�ให้เกิดความภาคภมู ิใจ และไม่กลบั ไปสูบบหุ รีอ่ ีก ขอคำ�แนะนำ�จากหน่วยงานท่ดี ำ�เนนิ งานดา้ นการควบคุมการสบู บุหรี่ หนว่ ยงานภาคี เครือข่าย หรือหนว่ ยงานภายนอกอ่นื ๆ เปรยี บเสมอื นพีเ่ ลี้ยง ที่ จะเข้าไปช่วยเติมองค์ความรู้และกระบวนการดำ�เนินงานต่างๆ ถือเป็นเครื่องมือ และเป็นปัจจัยภายนอกที่จะช่วยเสริมพลังให้แก่สถานประกอบการ นำ�ไปสู่ความ สำ�เร็จของการดำ�เนินงานได้ง่าย และสะดวกยิ่งขึ้น ซึ่งสถานประกอบการจะไม่ ตอ้ งเสยี เวลาสืบคน้ ขอ้ มลู ผลติ สื่อ หรอื อปุ กรณใ์ นการให้ความร้แู กพ่ นักงานตา่ งๆ ด้วย อาทิ ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่ สูบบุหรี่ เครือข่ายวิชาชีพเภสัชกรรมเพื่อการควบคุมยาสูบ สถาบันโรคทรวงอก และสมาคมพฒั นาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ เหลา่ นจ้ี ะท�ำ ใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี น ข้อมูลข่าวสาร และการทำ�งานร่วมกัน เสริมจุดแข็งในการดำ�เนินงานของสถาน ประกอบการ ซง่ึ จากการถอดบทเรยี นสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ เมื่อปี 2553 พบว่า สถานประกอบการแตล่ ะแห่งล้วนแตม่ คี วามรู้เชงิ ประจกั ษ์จากการปฏบิ ัตงิ าน จรงิ จนมีทักษะความช�ำ นาญของแต่ละแหง่ แตกต่างกนั ไป และหากสถานประกอบ การมเี ครือข่ายการทำ�งาน เกิดความร่วมมือถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ทั้งภาย ในและภายนอกเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำ�ให้เกิดการทำ�งานที่ ตอ่ เนอื่ งได้ 24 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ยอ่

เข็มทิศน�ำ ทาง 25 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับย่อ

3.1 แผนปฏิบัติการเป็นแผนที่นำ�เสนอแนวทางการดำ�เนินงานที่แสดงรายละเอียดของ กิจกรรมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในช่วงเวลาที่กำ�หนด โดยมีดัชนีชี้วัดความสำ�เร็จ แผนปฏิบัตกิ ารคืออะไร ? ของแผนที่ชัดเจน ดังนั้น ความสำ�คัญของการมีแผนปฏิบัติการ จึงอยู่ที่การเป็น เคร่อื งมือในการแปลงแผนงาน/ โครงการไปสู่กิจกรรมยอ่ ยในเชงิ ปฏบิ ัติและชว่ ยใน 3.2 การควบคมุ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติ หรือคณะท�ำ งานสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ในท่ีน้ี ปฏิบัติ งาน (ควบคุมการสูบบุหรีใ่ นทท่ี �ำ งานด้วยการจดั กจิ กรรมต่างๆ) ไดส้ ะดวกมากยงิ่ ขึ้น แผนปฏิบตั กิ าร ลดภาระในการตัดสินใจว่าจะทำ�อะไรเมื่อไหร่ เพราะมีการกำ�หนดไว้ล่วงหน้าว่าจะ มีองคป์ ระกอบ ทำ�กิจกรรมอะไรบ้างในช่วงเวลาหนึ่งๆ อีกทั้งยังสามารถเลือกกิจกรรมที่จะทำ�ตาม อะไรบา้ ง ลำ�ดับความสำ�คัญและเหมาะสมกับสถานการณ์ ทำ�ให้การจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง มีผลผลิตท่ีเสริมแรงซ่ึงกันและกันหรือต่อยอดจากผลผลิตของกิจกรรมท่ีทำ�ก่อนหน้า นั่นคือ การมีแผนปฏิบัติการทำ�ให้ ลดความเสี่ยงในการควบคุมให้เป็นไปตาม เปา้ หมายของแผนงาน/โครงการ นน่ั เอง 1. ช่อื แผนปฏบิ ัติการ ต้องมีความโดดเดน่ นา่ สนใจ จำ�ได้งา่ ย 2. ความเปน็ มา/ หลักการและเหตุผล เปน็ ส่วนทีแ่ สดงถึงความจำ�เปน็ ทีต่ อ้ งมีแผน ปฏิบัติการ มีองค์ประกอบของเน้อื หาที่สำ�คัญดงั นี้ • การเปล่ยี นแปลงในชว่ งเวลาทีผ่ ่านมา • กิจกรรมท่ีเปน็ ต้นเหตขุ องปัญหา การเปลย่ี นแปลงทท่ี �ำ ให้เกิดความเสียหาย และสญู เสยี • ปัญหาที่ท�ำ ใหม้ คี วามสูญเสียและเสียหาย • แนวโนม้ ปัญหา และการขยายวงกวา้ งออกไปถา้ ไมม่ ีการแก้ไข • ความจ�ำ เปน็ ท่จี ะตอ้ งมกี ารปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา • ความจ�ำ เปน็ ที่จะต้องมีการท�ำ กจิ กรรมตา่ งๆ ในแผนปฏบิ ตั กิ าร • ความคาดหวังเม่อื มีการแกไ้ ขปัญหาตามรายละเอยี ดในแผนปฏิบตั ิการ 3. วัตถุประสงค์ เป็นส่วนที่แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติการทั้งหมดในแผนฯ นี้ ท�ำ เพอื่ อะไร ตัวอย่างเชน่ • เพอ่ื สง่ เสริมบทบาทและการมีสว่ นรว่ มของพนกั งานทุกระดบั / ฝ่าย ในการควบคุมการสบู บหุ ร่ี • เพือ่ สง่ เสรมิ การท�ำ งานร่วมกันของพนักงาน • เพอ่ื ใหพ้ นักงานเกิดความตระหนกั ถึงพิษภัยของบุหร่แี ละควนั บหุ รีม่ อื สอง • เพื่อพฒั นาหนว่ ยงานให้เปน็ สถานประกอบการปลอดบุหรี่ 26 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบับย่อ

4. เปา้ หมายและตวั ชว้ี ดั แสดงเปา้ หมายของการดำ�เนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ าร โดยมีตัวช้วี ดั เปน็ ตวั บ่งช้ีว่า การปฏบิ ตั ิการคร้ังน้ีประสบความสำ�เร็จหรือบรรลเุ ป้าหมายหรอื ไม่ 5. กลยุทธใ์ นการด�ำ เนินงาน เพือ่ ใหก้ ารด�ำ เนินงานตามแผนปฏิบัติการบรรลุเปา้ หมาย และประสบความสำ�เรจ็ ภายในเวลาทีก่ �ำ หนดไว้ จึงไดก้ �ำ หนดกลยุทธใ์ นการด�ำ เนินงานไวด้ งั น้ี • การมสี ว่ นร่วมของพนักงานทกุ ฝา่ ย/ระดบั ในการทำ�กจิ กรรมตามแผน ปฏิบัติการ • การเปลย่ี นแปลงเร่ืองใกลต้ วั ท่ที ำ�ไดท้ ุกคน และท�ำ ไดท้ นั ที • ให้ความส�ำ คัญทกี่ ารเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม ระเบียบวธิ ี ชว่ งเวลา ล�ำ ดบั การทำ�งาน ซ่ึงไมใ่ ชง้ บประมาณ หรอื ใช้งบประมาณนอ้ ย • ให้ความสำ�คัญท่กี ารระดมความคิดของทกุ ฝ่าย และความเป็นเจ้าของร่วมใน แผนปฏิบตั กิ ารตลอดจนการเปลยี่ นแปลงทจ่ี ะเกิดขน้ึ จากการดำ�เนินงาน ตามแผน • การแสดงเปา้ หมาย นโยบาย และแผนกิจกรรมท่ีชัดเจน • แสดงความก้าวหนา้ ในการด�ำ เนินงานเปรยี บเทียบกบั แผนที่ตดิ ตามได้ และชัดเจน • พจิ ารณาดชั นชี ว้ี ัดความส�ำ เร็จของการดำ�เนินงานท่ีเห็นได้ชัดเจนจากทกุ ส่วนที่ เกี่ยวขอ้ ง • มกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผลและแสดงผลการประเมนิ บอ่ ยครั้งและตอ่ เนอ่ื ง • ประกาศเกียรตคิ ุณบุคคล กลุ่ม ฝ่าย แผนงาน กจิ กรรม และความคดิ ริเร่ิม ดเี ดน่ ท่สี ามารถใชเ้ ปน็ แบบอยา่ งในการปฏิบัติให้แก่ผู้อนื่ ได้ พรอ้ มท้ังมีการ เผยแพร่อย่างกว้างขวาง 27 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับยอ่

6. กิจกรรมในแผนปฏบิ ัติการ การดำ�เนินงานให้บรรลุเป้าหมายของแผนปฏิบัติการ จำ�เป็นต้องมีการทำ�กิจกรรม ตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งนบั แตเ่ รม่ิ แผนจนแผนสน้ิ สดุ ลง การก�ำ หนดกจิ กรรมจะท�ำ ไดง้ า่ ย หากสถานประกอบการจัดให้มีการสำ�รวจและวิเคราะห์สถานการณ์และพฤติกรรม การสูบบหุ รีข่ องพนักงาน รวมท้งั ประเดน็ ตา่ งๆ ท่ีเก่ยี วกบั การควบคุมการสูบบุหร่ี ในท่ีทำ�งานเสยี ก่อน ขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการส�ำ รวจจะท�ำ ใหค้ ณะทำ�งานฯ สามารถตดั สิน ใจเลือกกิจกรรมที่ควรจะต้องดำ�เนินการได้ง่ายและสอดคล้องกับปัญหาด้านการ สบู บหุ รข่ี องสถานประกอบการเอง โดยกจิ กรรมทีจ่ ะท�ำ มักมาจากการตอบคำ�ถามว่า “มีอะไรบ้างท่จี ะตอ้ งทำ�” (What can be done) และควรพิจารณาความพร้อมใน ทกุ ด้านของหนว่ ยงาน (ด้านงบประมาณ ก�ำ ลังคน เวลา ภาระกจิ อืน่ ๆ) การก�ำ หนดวา่ จะท�ำ กจิ กรรมอะไรในปนี ้ีจงึ ตอ้ งตอบค�ำ ถามขอ้ ทส่ี องวา่ “พวกเราจะท�ำ อะไรไดบ้ า้ ง” (What can I do) อกี หนง่ึ คำ�ถาม โดยทั่วไปแล้วการควบคมุ การสบู บุหรี่ในท่ีท�ำ งาน มกั มกี ารจัดกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี กิจกรรมสอ่ื สารใหค้ วามรู้ เพือ่ สร้างความเข้าใจและการมสี ว่ นร่วมของพนกั งาน เนน้ การให้ข้อมลู ความร้แู กพ่ นกั งาน ถึงผลของการสบู บุหร่แี ละการได้รับควนั บหุ รี่ ทางออ้ ม (ควนั บุหรม่ี ือสอง) รวมถึง ข้อดขี องการจดั ส�ำ นกั งานเปน็ เขตปลอดบหุ ร่ี ซึง่ สามารถจดั ในรปู กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ • กจิ กรรมประกาศเจตนารมณ/์ ปฏญิ ญาปลอดบุหร่ี • จัดนิทรรศการสปั ดาห์ไรค้ วนั บุหรี่ • จัดการประกวดทูตปลอดบหุ ร่ี • จัดฉายวิดโี อ หรอื จดั เสยี งตามสายในระหว่างพักรบั ประทานอาหาร • ฯลฯ กิจกรรมก�ำ หนดเขตปลอดบุหร่แี ละเขตสูบบหุ รี่ เพื่อลดความขัดแย้งระหว่างพนักงานที่สูบบุหรี่และไม่สูบบุหรี่ รวมทั้งเป็นการ คุ้มครองสุขภาพของพนักงานทีไ่ ม่สูบบหุ ร่ี ท�ำ ได้ดงั นี้ 1. จดั บริเวณทน่ี ั่งทำ�งานใหม่ เพื่อความสะดวกท้ังผู้ไมส่ บู บหุ รแ่ี ละผสู้ บู บหุ รี่ 2. ตอ้ งมีการก�ำ หนดกฎระเบียบตา่ งๆ ในบริเวณนน้ั โดยความเห็นชอบของคน สว่ นใหญ่ แตอ่ าจจะตอ้ งมกี ารปรบั เปลย่ี นทกุ ปี เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั การโยกยา้ ย ของพนักงาน 3. เมอ่ื มีการก�ำ หนดนโยบายแล้ว จ�ำ เป็นอยา่ งย่งิ ทีจ่ ะตอ้ งมกี ารช้แี จงให้พนกั งาน ทุกคนทราบอย่างชัดเจน 28 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบบั ย่อ

ลกั ษณะเขตปลอดบุหร่ี • ตอ้ งแสดงเครอ่ื งหมายเขตปลอดบหุ รต่ี ามทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ ประกาศก�ำ หนด • ไม่มกี ารสบู บหุ ร่ี • ไมม่ ีอุปกรณ์ หรอื สิ่งอ�ำ นวยความสะดวกสำ�หรบั การสูบบหุ ร่ี ลักษณะเขตสบู บุหรี่ • เขตสูบบุหรีบ่ รเิ วณทมี่ รี ะบบปรับอากาศ ต้องมกี ารระบายอากาศถา่ ยเทหมนุ เวียนระหวา่ งภายนอกอาคารและภายในเขตสูบบุหรี่ไม่น้อยกวา่ 50 ลูกบาศก์ ฟุต/นาที/คน • ไม่อยู่ในบริเวณท่ีก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำ�คาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณข้าง เคียง • ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า-ออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบ บหุ รี่ • ไมอ่ ยู่ในบรเิ วณท่ีเปิดเผยอนั เป็นที่เหน็ ไดช้ ดั แก่ผมู้ าใช้สถานทน่ี ัน้ ส่งิ ทีค่ วรจะพิจารณาควบคไู่ ปกบั การจดั เขตสูบบหุ ร่ี • การดแู ลเรอื่ งเสยี งซ่งึ อาจจะดงั รบกวนคนอน่ื (เนอ่ื งจากเปน็ พืน้ ทีท่ ่ผี ้สู ูบ บุหรีม่ าอยู่รวมกนั ณ เวลาหนง่ึ ๆ) • การจดั การขยะท่ีเกิดจากก้นบุหร่ี กิจกรรมสนบั สนนุ การเลกิ บุหรี่ • การจัดโปรแกรมการเลิกสบู บหุ รใ่ี ห้แกผ่ ูท้ ี่ต้องการเลิกสบู บุหร่ี • น�ำ เร่อื งการอบรมเรือ่ งบุหร่ี ไปเปน็ Job Description • ทำ�ช่องเก็บบหุ รี่ (เร่มิ วนั วาเลนไทน์) ใหพ้ นกั งานฝากก่อนเขา้ ท�ำ งาน (หากญุ แจมาคลอ้ งเอง) • จัดตั้งคลนิ ิกเลิกบหุ รใี่ นห้องพยาบาลของสถานประกอบการ • ฯลฯ 29 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบบั ยอ่

7. แผนการดำ�เนนิ งาน เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ว่า จะท�ำ กิจกรรมอะไร เม่อื ไร ใครเป็นคนรบั ผดิ ชอบ โครงการ / กจิ กรรม เดอื น 2553 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ผู้รับผิดชอบ 1. รณรงค์สร้างความตระหนัก 1.1 จดั ท�ำ แผน่ พบั • • 1.2 เสียงตามสาย • • • • • • • • 1.3 จัดมุมความรู้ • • • • • 2. สรา้ งสภาพแวดลอ้ มใหป้ ลอดจากควันบหุ ร่ี 2.1 จัดเขตปลอดบุหรี่ • 2.2 จัดเขตสบู บหุ ร่ี • 3. สง่ เสริมการลด ละ เลิก บหุ รี่ 3.1 โครงการ Big Cleaning Day • 3.2 กจิ กรรม Quit and Win • • • • • • 8. ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วสั ดุ ครุภณั ฑ์ เวลา ท่ดี ิน สถานท่ี สงิ่ ปลูกสร้าง เพ่อื ท�ำ กจิ กรรมของการแสดงความตอ้ งการทรพั ยากรทต่ี อ้ งใช้ จะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดว้ า่ ผจู้ ดั ท�ำ แผนมคี วามเข้าใจ มีประสบการณ์ และมีความรมู้ ากเพียงใด 9. การตดิ ตามประเมินผล • รายงานการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมการสูบบหุ รี่ของพนกั งาน • จำ�นวนพนักงานทส่ี ูบบหุ รี่ (ลดลง) • แบบสำ�รวจความคดิ เหน็ ตอ่ โครงการ ฯลฯ 10. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั เมื่อสิน้ สดุ แผน เป็นภาวะท่ีอยากจะเห็นเกิดข้ึนภายหลังจากท่ีได้ทำ�กิจกรรมในช่วงเวลาของแผน ปฏบิ ตั กิ ารสิ้นสดุ ลง 30 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับยอ่

3.3 แผนปฏิบตั กิ าร สถานประกอบการปลอดบุหรี่ ตัวอย่าง แผนปฏิบัตกิ าร 1. ความเปน็ มา/ หลักการและเหตุผล (เหตุผลทท่ี �ำ ใหต้ ้องมีการปฏิบตั ิการ) การสูบบุหร่ีเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพท่ีรุนแรงถึงชีวิตและทำ�ให้ผู้สูบเกิดความพิการตลอดชีวิตได้ กลมุ่ ประชากรที่สูบบหุ รี่เหลา่ น้ี นอกจากมคี วามเส่ียงตอ่ การเกดิ โรคเนอื่ งมาจากการสูบบุหรีแ่ ล้ว ยงั ปลดปล่อย ควนั บหุ รม่ี อื สองทส่ี รา้ งความเดอื ดรอ้ นร�ำ คาญและเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพของผทู้ อ่ี ยรู่ อบขา้ ง โดยเฉพาะในสถานท่ี ท�ำ งานหรอื สถานประกอบการซง่ึ เปน็ แหลง่ ทผ่ี ใู้ หญไ่ ดร้ บั ควนั บหุ รม่ี อื สองมากทส่ี ดุ โดยพบวา่ ในสถานประกอบการ จะมพี นักงานหยุดงานเน่อื งจากภาวะสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรป่ี ระมาณรอ้ ยละ 25-30 ของจำ�นวน ผู้หยดุ งานทัง้ หมด ในขณะเดียวกัน การสบู บหุ รี่มือสอง (Passive Smoking) หรอื การได้รบั ควันบหุ ร่ีจากผูใ้ กลช้ ดิ กท็ ำ�ให้ ผูท้ ไ่ี ดร้ ับควันบุหร่ีเกิดโรคท่มี ีอันตรายถึงชีวติ ได้เช่นเดียวกัน เช่น โรคหวั ใจและหลอดเลือด โรคสมองขาดเลอื ด เป็นตน นอกจากน้ัน การปล่อยใหพ้ นกั งานสูบบุหร่ใี นทีท่ �ำ งานของสถานประกอบการโดยไม่มีมาตรการควบคุม ยงั สร้างความเสย่ี งต่อชวี ติ และทรพั ยส์ ิน อันเน่อื งมาจากการเกดิ อัคคภี ยั การเกดิ อบุ ตั เิ หตุ รวมท้งั เพ่มิ ภาระและ คา่ ใช้จา่ ยในการทำ�ความสะอาดพื้นท่ี เนอื่ งมาจากควันบหุ รแี่ ละก้นบหุ รี่ จากการสำ�รวจสถานการณแ์ ละพฤติกรรมการสูบบหุ รีข่ องพนักงาน ด้วยการใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ พนกั งานของบรษิ ัท รวมทัง้ ส้ิน ................. คน ระหว่างวันท่ี ……………………… พบว่า บรษิ ทั มีพนกั งานทส่ี บู บหุ รี่ รวมท้ังสิ้น ................ คน คิดเป็นร้อยละ ................ของพนักงานท้ังหมด โดยพนักงานทสี่ ูบบุหรสี่ ว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ.............) แสดงความตอ้ งการท่ีจะเลิกสบู บหุ ร่ี (แตย่ ังเลิกไมส่ �ำ เร็จ) และมีความเห็นวา่ หากบรษิ ทั มีการด�ำ เนินการเพอ่ื พัฒนาเปน็ สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ จะเป็นแรงจูงใจใหพ้ นกั งานทีอ่ ยากเลิกบหุ รี่ หันมาเลิกสูบอยา่ งจริงจัง ในขณะท่ี ท้ังพนักงานทสี่ ูบบุหรแี่ ละไม่สูบบุหรี่สงู ถึงร้อยละ ............... มีความเหน็ วา่ ควรพัฒนาสถานทที่ ำ�งานของบรษิ ัท ใหป้ ลอดจากควนั บหุ รี่ เพื่อพัฒนาใหบ้ ริษัท......................................................เป็นสถานประกอบการปลอดบุหรี่ (ต้นแบบ) อย่างแทจ้ ริง และเปน็ หน่วยงานทีม่ ีสภาพแวดล้อมในการทำ�งานทีป่ ราศจากควนั บุหรี่ อกี ท้ังยงั เป็นหน่วยงานทีม่ ี การดำ�เนินงานทรี่ บั ผดิ ชอบตอ่ สังคม CSR ด้วยการสรา้ งเสริมสุขภาพของพนักงาน บริษัทฯ จงึ ได้จัดท�ำ โครงการ ..........................................ขนึ้ และไดจ้ ดั ใหม้ ีการจดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั ิการ ........................... เพอื่ เป็นแนวทางในการ ขับเคลอื่ นใหบ้ ริษัท ไดร้ บั การพัฒนาให้เป็นสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี อย่างเปน็ รปู ธรรมและยง่ั ยนื 31 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ยอ่

2. วัตถุประสงค์ (โครงการนท้ี �ำ เพ่อื อะไร) • เพื่อใหบ้ ุคลากรของบรษิ ทั ............... มีความตระหนกั ถงึ ผลเสียของการสูบบหุ รี่ ท้ังตอ่ ตนเองต่อบรษิ ัท และ ตอ่ สุขภาพของเพ่ือนร่วมงานหรือผ้ทู ีอ่ ยู่ข้างเคยี งที่ไม่สบู บหุ รี่ • เพอ่ื สง่ เสรมิ บทบาทและการมสี ว่ นรว่ มของพนกั งานในการพฒั นาบรษิ ทั ใหเ้ ปน็ สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี • เพื่อใหพ้ นักงานของบริษทั มกี ารสบู บหุ รนี่ อ้ ยลงหรอื เลกิ สูบบหุ รี่ • เพื่อให้บรษิ ัทเป็นสถานประกอบการปลอดบุหรีอ่ ยา่ งแท้จรงิ 3. เปา้ หมายและตวั ชีว้ ดั (ร้ไู ด้อย่างไรว่าทำ�ส�ำ เร็จ) เม่อื การดำ�เนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารแล้วเสรจ็ (ธันวาคม 2552) ........ชอ่ื บรษิ ัท......... จะเปน็ หน่วยงานทม่ี กี าร จดั การดา้ นการควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู และคมุ้ ครองสขุ ภาพของผทู้ ไ่ี มส่ บู บหุ รต่ี ามกฎหมายไทย โดยมกี ารด�ำ เนนิ งานและมีตวั ช้วี ัดดังตอ่ ไปน้ี • มีนโยบายควบคมุ การสูบบหุ รแี่ ละคุม้ ครองสุขภาพของพนกั งานทไ่ี มส่ ูบบหุ รี่ • มกี ารจดั เขตปลอดบหุ รแ่ี ละเขตสบู บหุ รไ่ี ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม (มปี า้ ยเขตปลอดบหุ รห่ี รอื หา้ มสบู บหุ รต่ี ดิ ตง้ั ในพืน้ ท่ที กี่ �ำ หนด และมีการจัดพน้ื ทีส่ ูบบหุ ร่อี ยา่ งถูกหลกั ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข) • มกี ารจัดกิจกรรมใหค้ วามร้เู กี่ยวกับผลเสียของการสูบบหุ ร่แี กพ่ นักงาน ทำ�ใหร้ อ้ ยละ 50 ของพนักงานมี ความรู้และตระหนกั ถึงผลเสยี ของการสบู บุหรีท่ งั้ ต่อตนเอง ตอ่ ผู้อืน่ และตอ่ บริษัท • มีการให้ความร้แู ละเฝา้ ระวังการสูบบุหรข่ี องพนักงานที่สูบบหุ รี่ นอกเขตสูบบหุ ร่ี (ร้อยละ 80 ของผสู้ บู บหุ รี่ ให้ความร่วมมือดว้ ยการสูบบุหร่ีในเขตสูบบหุ ร่ีทบ่ี ริษัทจดั ไว้ให้) • มกี ารจัดกิจกรรมสนบั สนุนใหพ้ นกั งานสบู บุหรี่นอ้ ยลงหรือเลกิ สูบบหุ รี่ เชน่ การจัดผู้เชี่ยวชาญใหค้ ำ�ปรกึ ษา เกย่ี วกบั การเลกิ สบู บุหรี่ การจัดทำ�คลนิ กิ เลิกบหุ รี่ การห้ามจำ�หนา่ ยบุหร่ี หรือจดั สถานทีร่ ับฝากบหุ รก่ี อ่ นเข้า ท�ำ งาน เป็นต้น (จ�ำ นวนบหุ รที่ ีส่ ูบเฉลย่ี ลดลง จำ�นวนพนักงานที่สบู บุหรล่ี ดลงหรือไม่เพิ่มขน้ึ ) ***โดยการ กำ�หนดตวั ชว้ี ดั จะต้องประเมินจากผลการส�ำ รวจสถานการณแ์ ละพฤตกิ รรมการสบู บหุ รี่ของพนักงาน*** 4. กลยทุ ธ์ในการดำ�เนินงาน เพอื่ ให้การดำ�เนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารบรรลเุ ปา้ หมาย และประสบความสำ�เร็จภายในเวลาทก่ี ำ�หนดไว้ จึงได้ ก�ำ หนดกลยุทธใ์ นการดำ�เนนิ งานไว้ดังน้ี • การมีสว่ นรว่ มของทกุ ฝ่ายในการท�ำ กิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติการ • การเปลี่ยนแปลงเร่ืองใกลต้ ัวทีท่ ำ�ได้ทุกคน และท�ำ ได้ทนั ที • ให้ความส�ำ คัญที่การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม ระเบียบวธิ ี ชว่ งเวลา ลำ�ดบั การทำ�งาน ซ่งึ ไม่ใชง้ บประมาณ หรือใชง้ บประมาณน้อย • ให้ความสำ�คัญทก่ี ารระดมความคดิ ของทุกฝ่าย และความเป็นเจา้ ของรว่ มในแผนปฏิบัตกิ าร ตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงท่ีจะเกดิ ข้ึนจากการด�ำ เนินงานตามแผน • ประกาศเกียรตคิ ณุ บคุ คล กลมุ่ ฝ่าย แผนงาน กิจกรรม และความคดิ ริเรมิ่ ดเี ดน่ ทีส่ ามารถใช้เป็นแบบอยา่ ง ในการปฏบิ ัติใหแ้ ก่ผอู้ นื่ ได้ พรอ้ มทงั้ มีการเผยแพร่อย่างกวา้ งขวาง 32 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบบั ยอ่

5. โครงการ/ กจิ กรรมในแผนฯ กิจกรรม กิจกรรมย่อย วิธีการ 1. รณรงคส์ รา้ งความ 1.1 จดั ท�ำ แผน่ พบั (ประชาสัมพนั ธ)์ - ออกแบบ จัดพิมพ์ ตระหนกั ถึงผลเสีย 1.2 เสียงตามสาย - ท�ำ สครปิ ประกาศ ของการสบู บุหร่ี 1.3 จดั งานประกาศ เจตนารมณส์ ถานประกอบการ - พธิ กี าร ปลอดบหุ ร่ี - นิทรรศการ - สัมมนา (เชิญผู้เชย่ี วชาญ) 1.4 จัดคา่ ยฝึกอบรมสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ประสานกบั ศนู ยร์ วมตะวนั ในการจัดค่ายฝกึ อบรม ให้กบั คณะทำ�งาน 2. สรา้ งสภาพแวดล้อม 2.1 จดั เขตปลอดบหุ รี่ - ศึกษาพ้นื ที่ ในการท�ำ งานให้ ตดิ สต๊ิกเกอร์ในพื้นท่ีท่หี า้ มสบู บุหร่ี ปลอดจากควันบหุ รี่ 2.2 จดั เขตสบู บหุ ร่ี - ศกึ ษาความเหมาะสม - จดั ทำ� 2.3 สายตรวจปลอดบุหร่ี - ติดปา้ ยแสดง - รบั สมัคร, อบรม 3. สง่ เสริมการลด ละ 3.1 Big Cleaning Day, กิจกรรม Quit and Win - แต่งตงั้ , ปฏบิ ัติการ เลิกสูบบุหร่ี 3.2 Locker ลดบุหร่ี Clear บหุ รี่ ไฟแชค ออกจากพ้ืนทท่ี �ำ งานท้งั หมด จัดท�ำ Locker รบั ฝากบหุ รี่ก่อนเขา้ ท�ำ งาน 33 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบบั ย่อ

ผลผลิต ระยะเวลา งบประมาณ เจ้าภาพ เชิงปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ 5,000 แผน่ สวยงาม มสี าระ นา่ รู้ เมษายน 55 แจกตลอดปี 3,000 บาท ฝา่ ยปชส. 10 นาที จ.-ศ. เชา้ ใหค้ วามรู้ ตลอดปี 2555 - ฝา่ ยปชส. บุคลากรร้อยละ 80 บคุ ลากรรับทราบ 10 เมษายน 2555 10,000 บาท ฝา่ ยบริหาร เข้ารว่ มงาน เจตนารมณข์ อง บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรม หน่วยงาน ปี 2555 (เมษายน, 500,000 บาท ฝา่ ยบริหาร คา่ ยฝกึ อบรม 120 คน บุคลากรมีทศั นคตทิ ่ดี ี สิงหาคม 2555) 50 ชิน้ ต่อการเลิกสูบบุหร่ี เมษายน 2555 สนับสนนุ จากหน่วยงาน ฝา่ ยอาคารสถานท่ี สวยงาม นา่ มอง ตน้ เมษายน 2555 ท่เี กย่ี วข้อง - ฝ่ายอาคารสถานท่ี 100 ชดุ ตามกฎกระทรวง 20 คน ปฏิบัตงิ านอยา่ งต่อเนอื่ ง ปลายเมษายน 2555 - ฝา่ ยบุคคล พนักงานท้ังหมด 5,000 บาท ฝ่ายสวัสดิการ 2 ต้ๆู ละ 50 ช่อง สะอาด เมษายน 2555 8,000 บาท ฝ่ายพัสดุ ร้อยละ 80 ของ พฤษภาคม 2555 พนักงานท่สี บู บุหรี่ ฝากบุหรที่ ่ี Locker 34 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ยอ่

6. งบประมาณรวม รวมงบประมาณท่ตี อ้ งใช้ทงั้ หมด ....................... บาทโดยมีรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี กจิ กรรม คา่ ใชจ้ ่าย (บาท) 1. รณรงคส์ ร้างความตระหนักถงึ ผลเสียของการสูบบหุ ร่ี 15,000 1.1 จัดทำ�แผ่นพบั (ประชาสัมพนั ธ์) งบประจำ�ปี 1.2 เสียงตามสาย 15,000 1.3 จดั งานประกาศเจตนารมณ์ สถานประกอบการปลอดบุหร่ี งบประจำ�ปี ใชง้ บ OD • คา่ อาหาร 30,000 • นิทรรศการและอืน่ ๆ 1.4 จดั ค่ายฝึกอบรมสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ 25,000 รวมงบประมาณส�ำ หรบั กิจกรรมรณรงคฯ์ 150,000 2. สร้างสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งานใหป้ ลอดจากควนั บุหรี่ 205,000 (2.1-3....รายละเอยี ดแตล่ ะกิจกรรมย่อย) รวมงบประมาณสำ�หรบั กิจกรรมสรา้ งสภาพแวดลอ้ มฯ 3. ส่งเสรมิ ลด ละ เลิกสบู บหุ รี่ (3.1-2......รายละเอียดแตล่ ะกจิ กรรมยอ่ ย) รวมงบประมาณสำ�หรบั กิจกรรมส่งเสรมิ ฯ รวมงบประมาณท้งั หมด (1-3) 35 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบับย่อ

7. การติดตามประเมินผล (มวี ิธกี ารตรวจสอบความสำ�เรจ็ อย่างไร) • แบบสอบถาม หรือแบบส�ำ รวจพฤตกิ รรมการสบู บุหร่ี • สดั ส่วนของบุคลากรท่ีเข้ารว่ มกจิ กรรมต่างๆ ท่ีจดั ขึ้นภายใตแ้ ผนปฏบิ ัติการ • เปรยี บเทียบผลจากตัวช้ีวดั ดงั นี้ • มนี โยบายควบคุมการสบู บหุ รีแ่ ละคมุ้ ครองสขุ ภาพของพนักงานทีไ่ ม่สูบบหุ รี่ • มีการจัดเขตปลอดบุหรี่และเขตสูบบุหรี่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (มีป้ายเขตปลอดบุหรี่หรือห้ามสูบ บุหรี่ตดิ ตั้งในพน้ื ทท่ี ก่ี �ำ หนด และมกี ารจดั พน้ื ทส่ี บู บหุ รอ่ี ยา่ งถกู หลกั ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ) • มกี ารจัดกจิ กรรมให้ความรเู้ กี่ยวกับผลเสียของการสูบบหุ รี่แกพ่ นกั งาน ท�ำ ใหร้ อ้ ยละ 50 ของพนักงาน มคี วามรูแ้ ละตระหนกั ถึงผลเสียของการสบู บุหร่ีทง้ั ต่อตนเอง ตอ่ ผ้อู นื่ และตอ่ บริษัท • มกี ารใหค้ วามรแู้ ละเฝา้ ระวงั การสบู บหุ รข่ี องพนกั งานทส่ี บู บหุ ร่ี นอกเขตสบู บหุ ร่ี (รอ้ ยละ 80 ของผสู้ บู บุหรี่ใหค้ วามรว่ มมอื ด้วยการสบู บหุ ร่ใี นเขตสูบบหุ รี่ทีบ่ รษิ ัทจัดไว้ให)้ • มีการจดั กิจกรรมสนับสนุนใหพ้ นกั งานสูบบุหรนี่ อ้ ยลงหรือเลิกสบู บุหรี่ เช่น การจดั ผ้เู ชี่ยวชาญให้คำ� ปรกึ ษาเกย่ี วกบั การเลิกสบู บุหร่ี การจัดทำ�คลนิ กิ เลกิ บหุ รี่ การห้ามจำ�หน่ายบหุ ร่ี หรือจัดสถานท่รี ับ ฝากบหุ ร่ีก่อนเขา้ ท�ำ งาน เป็นตน้ (จ�ำ นวนบุหรี่ทส่ี บู เฉล่ียลดลง จ�ำ นวนพนกั งานที่สูบบหุ ร่ีลดลงหรอื ไม่ เพม่ิ ขึน้ ) ***โดยการก�ำ หนดตวั ชว้ี ดั จะตอ้ งประเมนิ จากผลการส�ำ รวจสถานการณแ์ ละพฤตกิ รรมการสบู บุหรีข่ องพนักงาน ก่อนเรมิ่ โครงการหรือก่อนจัดทำ�แผนฯ*** 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั (ไดค้ วามรู้ ทักษะ หรอื ผลงานอะไรบา้ ง) • บรษิ ัทเปน็ สถานประกอบการปลอดบุหร่ี โดยมีการด�ำ เนนิ งานด้านการควบคุมการสูบบหุ รีแ่ ละคุม้ ครอง สขุ ภาพของผู้ที่ไม่สูบบหุ รี่ • พนกั งานมคี วามรูแ้ ละความตระหนักเกย่ี วกับผลเสยี ของการสูบบหุ ร่ี • พนกั งานมที ัศนคตทิ ่ีดตี อ่ โครงการพัฒนาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี • พนกั งานมีสขุ ภาพแข็งแรง • บรษิ ัทมีค่าใชจ้ า่ ยท่เี กิดจากการขาดงานหรอื ลาป่วยของพนักงาน ลดลง 36 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ย่อ

ปจั จัยความส�ำ เรจ็ 37 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับยอ่

4.1 ปจั จยั ภายในหรอื ปจั จัยภายใน เปน็ ปัจจยั สำ�เรจ็ ท่มี าจากภายในสถานประกอบการเอง ซ่งึ ในทนี่ ไี้ ด้แก่ ปัจจยั ที่เก่ียวกบั คน บุคลากรในสถานประกอบการระดับต่างๆ ซึ่งประกอบด้วยเจ้าของ ผู้บริหาร คณะทำ�งาน และพนักงาน ที่จะต้องมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการขับเคลื่อนสถาน ประกอบการปลอดบุหรี่ หรือถา้ หากยงั ไม่มีคณุ ลกั ษณะพึงประสงค์นี้ ก็จะตอ้ งสรา้ ง หรือสง่ เสริมให้เกิดขน้ึ ดังน้ี ผู้บรหิ าร ผู้บริหารสถานประกอบการปลอดบุหรี่ มักมีลกั ษณะดังน้ี • สร้างและสง่ เสริมกลไกในการด�ำ เนินงานด้านการควบคุมการสบู บหุ ร่ขี อง หนว่ ยงาน • ใหข้ ้อเสนอแนะและข้อคิดเหน็ ต่างๆ ในการดำ�เนินงาน พร้อมทั้งแนะนำ� แนวทางแกไ้ ขเมือ่ เกดิ ปญั หาขึน้ ระหวา่ งการดำ�เนนิ โครงการ • เขา้ รว่ มกิจกรรมตา่ งๆ ทีจ่ ดั ข้นึ เพอ่ื ผลกั ดนั ให้เกิดภาวะปลอดบุหร่ีในท่ีท�ำ งาน • ออกมาตรการต่างๆ ท่ีจะช่วยให้สถานท่ีท�ำ งานปลอดจากควันบหุ ร่ี • สนับสนนุ งบประมาณในการจัดทำ�กจิ กรรมตา่ งๆ ในการขับเคลือ่ นสถาน ประกอบการปลอดบหุ รีอ่ ยา่ งเตม็ ที่ • สร้างค่านยิ มด้วยการเป็นแบบอย่างท่ดี โี ดยการเปน็ ผูไ้ ม่สูบบุหรี่ หรือปฏิบตั ติ าม กฎระเบยี บและมาตรการตา่ งๆ • ใหก้ �ำ ลังใจแก่คณะทำ�งานฯในการด�ำ เนินงานเพ่ือพฒั นาสถานประกอบการ ปลอดบหุ รี่ รวมท้ังใหก้ �ำ ลงั ใจแกพ่ นกั งานทกี่ �ำ ลงั เลกิ สบู บหุ ร่ี • ให้รางวลั หรอื ประกาศเกยี รตคิ ุณคณะท�ำ งานฯ หรอื มอบใบประกาศเกยี รตคิ ณุ รางวลั หรอื ให้โบนัสเพ่ือยกยอ่ งและให้กำ�ลังใจแกผ่ ูท้ ่เี ลกิ สูบบหุ รไี่ ดส้ ำ�เร็จ 38 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบับยอ่

สถานประกอบการใดที่มีผู้บริหารที่ให้ความสนใจในเรื่องนี้อยู่แล้ว คณะทำ�งานสถานประกอบการ ปลอดบหุ ร่ี มกั จะไมต่ อ้ งท�ำ อะไรมาก หากแตม่ งุ่ เนน้ ในการเชอ้ื เชญิ ใหผ้ บู้ รหิ ารเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม ท่จี ัดให้ได้มากที่สดุ และทส่ี �ำ คญั ควรมกี ารรายงานสถานการณ์และอปุ สรรคของการด�ำ เนนิ งานทเ่ี กดิ ขน้ึ ตอ่ ผบู้ รหิ ารอยา่ งสม�ำ่ เสมอ กรณผี ู้บรหิ ารไมส่ นับสนนุ / ไม่สนใจ สถานประกอบการเหลา่ นี้ ยงั สามารถ พฒั นาใหม้ ีการควบคมุ การสูบบหุ รไี่ ดส้ ำ�เรจ็ ให้ยดึ หลกั ดงั นี้ • ถา้ หากน�ำ เสนอโครงการฯ แลว้ ผบู้ รหิ ารไม่สนใจ อย่าท้อ ใหร้ อจังหวะลองเสนออกี ที • หาขอ้ มลู ในการสนบั สนนุ เช่น เป็นความตอ้ งการของพนกั งานส่วนใหญ่ มผี ลประโยชนต์ อ่ สถานประกอบการ โดยชใ้ี หเ้ ห็นถงึ ผลก�ำ ไร และผลผลิตท่เี ป็นรปู ธรรม เป็นต้น • ท�ำ ความเข้าใจกับผบู้ รหิ ารในประเด็น ความส�ำ คญั ของสุขภาพของพนกั งานต่อองคก์ ร ได้แก่ การเพ่มิ ผลผลิตและการได้บรกิ ารทีม่ คี ุณภาพ สามารถสรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ ีให้กับองค์กร ลดการ ลาป่วยและผลกระทบจากการลาป่วย ลดค่ารกั ษาพยาบาล ทำ�ใหค้ วามสมั พนั ธใ์ นองคก์ รดีขนึ้ สรา้ งความจงรกั ภกั ดีของพนกั งานต่อองค์กรใหม้ ีมากขนึ้ และสามารถรกั ษาพนกั งานทีด่ ี มคี วามรู้ ความสามารถให้อยกู่ ับองค์กรได้ เปน็ ต้น • หาคนสนบั สนนุ ทีม่ ีตำ�แหนง่ รองลงมา เพ่ือท่จี ะไดด้ ำ�เนินการไปกอ่ นเบ้ืองต้น แล้วถ้าเหน็ ผลเม่อื ไร อาจจะเอาผลทไี่ ดไ้ ปน�ำ เสนอผู้บริหารระดับสูงที่มีอำ�นาจหนา้ ทีอ่ ีกที 39 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี ฉบบั ย่อ

คณะท�ำ งาน คณะท�ำ งานสถานประกอบการปลอดบุหรมี่ ลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ • เป็นผูท้ ่ีท�ำ งานด้วยใจ มีความสขุ ทไ่ี ด้ทำ� มีความภาคภูมใิ จในการท�ำ ให้ หน่วยงานตนเองเป็นสถานประกอบการปลอดบุหรี่ • มีความตระหนกั ตอ่ ผลเสยี ของการสบู บุหรโ่ี ดยเฉพาะในท่ีท�ำ งาน • เป็นผไู้ ม่สบู บหุ รี่ หรอื เลิกสบู บุหรไี่ ดส้ �ำ เร็จ • คณะท�ำ งานจะต้องมีความเข้าใจ มีทักษะ และเกิดกระบวนการเรยี นรู้ในการ ขับเคลือ่ นให้เกดิ ภาวะปลอดบหุ ร่ี พรอ้ มทั้งมีทักษะการใหค้ ำ�ปรึกษาแก่ พนกั งานทัง้ ทีส่ บู และไม่สูบบหุ ร่ี ท�ำ อย่างไรให้คณะทำ�งานมีคุณลักษณะพึงประสงค์ • คดั เลือกคณะทำ�งานฯ อยา่ งพิถพี ถิ ัน • การสร้างความตระหนกั ถงึ ความสำ�คญั และความจำ�เปน็ ของการควบคมุ การสูบบุหรี่ใหเ้ กดิ ขน้ึ กับ คณะทำ�งานฯ • ส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องพนักงานเกย่ี วกับกระบวนการขับเคลอื่ นสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ดว้ ยการส่งเข้ารับการฝกึ อบรมเกีย่ วกบั การพัฒนาสถานประกอบการปลอดบุหรี่ • มอบหมายความรับผดิ ชอบให้อยา่ งชัดเจน โดยกำ�หนดงานและเปา้ หมายใหเ้ ป็นรูปธรรม • ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การทำ�งานอย่างจริงจงั • ให้รางวัลตามความเหมาะสม 40 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบับย่อ

พนกั งาน พนกั งานสถานประกอบการปลอดบุหรี่ (ท้ังที่สบู และไม่สูบบุหรี่) จะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจและเห็นความส�ำ คัญของการเป็นสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ เข้ารว่ มกิจกรรม หรือปฏิบตั ิตามมาตรการตา่ งๆ ดว้ ยความเขา้ ใจ เตม็ ใจ ดงั น้นั การสร้างการมีส่วน ร่วมของพนักงานทั้งที่สูบและไม่สูบบุหรี่ ต่อการพัฒนาหน่วยงานให้เป็นสถาน ประกอบการปลอดบุหรี่จึงเป็นสิ่งสำ�คัญ ด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัด กิจกรรมประกาศเจตนารมณ์การควบคุมการสูบบุหรี่ของหน่วยงาน พร้อมท้งั แจ้ง เป้าหมายที่จะเดินหน้าไปถึง พร้อมๆ กับการประกาศการเพิ่มความเข้มงวดของ มาตรการ เช่น ลดพ้ืนที่สบู บหุ รจ่ี าก 3 จุดเหลอื 1 จุดภายใน 3 เดอื น จนถึงระดบั ที่ ประกาศใหพ้ ้ืนทท่ี ั้งหมดเปน็ เขตหา้ มสูบบหุ ร่ีภายในส้ินปี เป็นตน้ โดยนอกจากจะมี การประชาสมั พันธน์ โยบายปลอดบหุ รี่ของบริษัทแลว้ ยงั มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ แก่พนักงานท่ัวไป เก่ยี วกบั พษิ ภยั ของบุหรี่ รวมทัง้ ประโยชนท์ พี่ นกั งานจะไดร้ บั จาก การเป็นสถานประกอบการปลอดบุหรี่ พร้อมทั้งยังสร้างระบบสื่อสารให้ความรู้ เกี่ยวกับบุหรี่แก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดให้มีการประชาสัมพันธ์/ สื่อสารรณรงค์โทษพิษภัยบุหรี่ด้วยวิธีต่างๆ เช่นการให้ความรู้ผ่านเสียงตามสาย การจดั ท�ำ สอ่ื รณรงคท์ เ่ี หมาะสมกบั สถานประกอบการ เชน่ แผน่ พบั CD ทวี ที อ้ งถน่ิ ในช่วงพักของพนักงาน หรือจดั กจิ กรรมอบรมเรอื่ งโทษและพิษภยั บหุ ร่ี เป็นต้น 41 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับย่อ

4.2 องค์ความรู้และกระบวนการเรยี นรู้ เกย่ี วกบั การขบั เคลื่อนสถานประกอบการ ปลอดบหุ รี่ ปัจจยั ภายนอกหรอื คณะท�ำ งานฯ จะต้องมีความรคู้ วามเข้าใจ เกิดกระบวนการเรยี นรู้ และมีทักษะ ปัจจัยส�ำ เรจ็ ในการสรา้ งเง่อื นไข และสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการใหม้ กี ารควบคมุ การ ดา้ นกระบวนการ สูบบุหรี่อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รู้กระบวนการทำ�งาน (มีการสำ�รวจและทำ� ความเขา้ ใจในสถานการณ์การสบู บุหรี่ของหน่วยงานตนเอง ทำ�ใหส้ ามารถจัดท�ำ แผน ปฏิบัติการท่ีประกอบด้วยกิจกรรมท่ีตรงกับปัญหาสถานการณ์ของหน่วยงานตนเอง และสามารถลงมือปฏบิ ตั ิการได้ตามแผน) พรอ้ มทงั้ รู้วธิ กี ารในการดำ�เนนิ การแตล่ ะ ขั้นตอนนั้นๆ ก็จะสามารถขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิบัติที่มุ่งสู่เป้าหมายของการเป็น สถานประกอบการปลอดบุหรี่ในทส่ี ดุ 42 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบหุ รี่ ฉบับย่อ

ท�ำ อย่างไรจงึ จะทำ�ใหค้ ณะทำ�งานฯ เกิดกระบวนการเรยี นรดู้ า้ นการขบั เคลือ่ นสถานประกอบการปล อดบหุ ร่อี ยา่ งเป็นระบบ • สร้างความตระหนกั ของคณะท�ำ งานฯ ตอ่ ความส�ำ คญั และความจำ�เปน็ ของการควบคุมการสบู บุหร่ี ในท่ที ำ�งาน • พฒั นาศักยภาพ (Capacity Building) ด้วยการสนบั สนนุ หรอื สง่ เสริมให้คณะท�ำ งานฯ ได้เขา้ รว่ ม กิจกรรมเรียนรู้ (ในรูปของการฝึกอบรมหรือประชุมสัมมนา) ที่เกี่ยวกับการควบคุมการสูบบุหรี่ หลกั สูตรตา่ งๆ โดยเฉพาะหลักสตู รทเี่ น้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ ทจี่ ดั โดยหนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั น้ี สาระความรู้ท่คี ณะทำ�งานฯ จะตอ้ งท�ำ ความเขา้ ใจ มดี งั นี้ 1. ความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกบั กลไกการทำ�งานของรา่ งกาย 2. ความรู้เก่ียวกับบหุ รี่ องค์ประกอบในบหุ ร่ี (กว่าจะมาเปน็ บหุ รี)่ สารพษิ ในบหุ รี่ โทษของการ สบู บุหรต่ี อ่ สุขภาพและประสทิ ธภิ าพการท�ำ งานของตนเองและผ้อู ืน่ 3. ความรเู้ กย่ี วกบั สถานการณก์ ารสบู บหุ รใ่ี นประเทศไทย และสถานการณก์ ารสบู บหุ รใ่ี นสถาน ประกอบการและผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และสงั คม 4. ความรู้เกี่ยวกบั กฎหมายควบคุมการสูบบหุ ร่ี โดยเฉพาะพระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองสขุ ภาพของ ผ้ไู มส่ บู บุหร่ี พ.ศ.2535 5. ความรเู้ กย่ี วกบั กระบวนการและวธิ ีการขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ (ร้วู า่ จะตอ้ งเร่ิมอยา่ งไร ทำ�อะไรบ้าง และอย่างไร) 6. ความรเู้ กย่ี วกับแนวทางในควบคมุ การสูบบุหรี่ (success stories เก่ยี วกบั โครงการปลอดบุหร่)ี รวมถงึ เทคนิคในการจดั กิจกรรมตา่ งๆ เช่น การสรา้ งแนวรว่ ม การสร้างความตระหนัก เป็นต้น 7. ความรู้เกี่ยวกับบุหรี่ การเลิกสูบบุหรี่ ช่องทางการให้คำ�ปรึกษาแก่พนักงานที่ต้องการ เลิกบุหรี่ รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานต่างๆ ที่ทำ�งานเกี่ยวกับบุหรี่ ที่สถาน ประกอบการจะขอความช่วยเหลือได้ 8. ความรเู้ กย่ี วกบั การจดั ท�ำ ขอ้ เสนอโครงการหรอื แผนปฏบิ ตั กิ าร “สถานประกอบการปลอดบหุ ร”่ี 9. ความรเู้ กี่ยวกบั การท�ำ งานเป็นทีม 43 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหร่ี ฉบับยอ่

งบประมาณ สถานประกอบการควรมีการตั้งงบประมาณส่วนหนึ่งอย่างชัดเจน เพื่อดำ�เนินงาน ดา้ นการควบคุมการสูบบุหรโี่ ดยเฉพาะ เคร่ืองมือตา่ งๆ ถือเป็นความจำ�เป็นที่บุคคลากรที่ได้รับมอบหมายจะต้องอาศัยเครื่องมือชนิด ต่างๆ ในการจดั กจิ กรรมโดยเฉพาะเคร่ืองมือดา้ นการสอ่ื สารให้ความรู้เกย่ี วกับเร่อื ง บหุ ร่ี ประกอบด้วยอปุ กรณ์และส่อื ต่างๆ เพื่อใชจ้ ัดนทิ รรศการหรือจัดมุมใหค้ วามรู้ เกี่ยวกับบุหรี่ เช่น บอร์ดนิทรรศการ สื่อมัลติมีเดียอื่นๆ หรือเอกสารที่จะต้องแจก ใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ารว่ มกจิ กรรม ซง่ึ มกั จะเปน็ เอกสารในรปู ของแผน่ พบั ใบปลวิ ฯลฯ ภาคี-เครอื ขา่ ย การดำ�เนินงานด้านการควบคุมการสูบบหุ ร่ีในท่ที �ำ งาน จะประสบความส�ำ เร็จได้งา่ ย ขนึ้ หากสถานประกอบการมกี ารทำ�งานในลักษณะของภาคเี ครือขา่ ยระหว่างสถาน ประกอบการกันเอง หรือระหว่างสถานประกอบการกับหน่วยงานที่ดำ�เนินงาน เก่ียวกับการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพเนื่องจากการ ทำ�งานในลักษณะน้ีจะทำ�ให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและการทำ�งาน ร่วมกนั ท�ำ ให้เสริมจดุ แขง็ ในการด�ำ เนนิ งานของสถานประกอบการแตล่ ะแหง่ 44 ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบบั ย่อ

สถานประกอบการที่สนใจจะดำ�เนินงานด้านการควบคุมการสูบบุหรี่ และต้องการ รายละเอียดของกระบวนการดำ�เนินงาน พรอ้ มทง้ั ตัวอย่างการดำ�เนนิ งาน สามารถ ติดต่อขอรบั ชดุ ความรู้ ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดบุหรี่ ที่ประกอบด้วย คู่มือ 3 เล่ม (คู่มือผู้บริหาร คู่มือคณะทำ�งาน คู่มือการจัดกิจกรรม) ได้ที่ ฝา่ ยประสานงานโครงการ สมาคมพัฒนาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม โทร 02-800-2424, 082-358-4614 หรอื 082-358-4616 หรอื www.adeq.or.th, www.healthyenterprise.org 45 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดบุหรี่ ฉบับยอ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook