Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จุก

จุก

Published by Sapaisalikul, 2020-02-12 05:42:05

Description: จุก

Search

Read the Text Version

ก คำนำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563กศน.ตำบลยกกระบัตร จัดทำขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสมุทรสาคร และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแพ้ว. ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลยกกระบัตร ให้เป็นไปตามเปา้ หมายทตี่ งั้ ไว้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลยกกระบัตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มนี้ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานของ กศน.ตำบล 2) ข้อมูลพื้นฐาน เพื่อการวางแผน 3) ทิศทางการดำเนินงาน และ 4) รายละเอียดแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตำบลยกกระบัตร ขอขอบคุณผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านแพ้ว ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ครูอาสาสมคั ร กศน. เครือขา่ ย และผเู้ ก่ยี วข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ยิ่ง ทำให้แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิง ว่า กศน.ตำบลยกกระบัตร จะนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชน ในพ้ืนทอ่ี ย่างแท้จรงิ กศน.ตำบลยกกระบตั ร ตุลาคม 2563 ผจู้ ดั ทำ

ข สารบัญ คำนำ................................................................................................................................................................ ก สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของ กศน.ตำบลยกกระบัตร ....................................................................................... 1 ความเป็นมา............................................................................................................................................... 1 ทต่ี ง้ั ........................................................................................................................................................... 1 บทบาทหน้าทีภ่ ารกจิ กศน.ตำบล............................................................................................................... 2 คณะกรรมการ กศน.ตำบล......................................................................................................................... 3 อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน........................................................................................................................ 6 บคุ ลากรใน กศน.ตำบล.............................................................................................................................. 6 องค์กรนักศึกษา ......................................................................................................................................... 7 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานเพื่อการวางแผน ........................................................................................................11 สภาพท่วั ไปตำบลยกกระบัตร...................................................................................................................11 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ .............................................................................................................................11 ข้อมูลด้านประชากร ................................................................................................................................. 12 ข้อมูลด้านสังคม .......................................................................................................................................14 ขอ้ มูลด้านเศรษฐกิจ .................................................................................................................................14 สว่ นท่ี 3 ทิศทางการดำเนนิ งาน ....................................................................................................................16 วสิ ัยทศั น์ ..................................................................................................................................................16 พนั ธกิจ ....................................................................................................................................................16 เป้าประสงค์ .............................................................................................................................................16 สว่ นที่ 4 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ......................................................................................................32

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พื้นฐานของ กศน.ตำบลยกกระบตั ร ความเปน็ มา เดิมกศน.ตำบลยกกระบัตร ตั้งอยู่ใ นศาลาข องว ัดยกกระบัตร บริเวณหมู่ท่ี 6 ตำบลยกกระบัตร โดยได้รับความอนุเคราะห์จากเจ้าอาวาสวัดยกกระบัตร ให้ใช้ศาลาเอนกประสงค์ เป็นที่จัดการเรียนการสอน แต่เนื่องจากสถานที่มีความคับแคบ เนื่องจากนักศึกษามีจำนวนมากขึ้น และประกอบกับในปี 2553 ทางสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธย าศัย มนี โยบายใหส้ ำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ตา่ งๆ แจ้งกับ กศน.ตำบล ต่างๆ เพื่อให้จัดหาสถานที่ในการก่อสร้างกศน.ตำบล ซึ่งกศน.ตำบลยกกระบัตร ได้รับความอนุเคราะห์ จาก พระครูใบฏีกาสาครธรรมโชติ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ให้สถานที่ในการก่อสร้างกศน.ตำบลยกกระบัตร บริเวณวัดยกกระบัตร หมู่ที่ 6 ซึ่งกศน.ตำบลยกกระบัตรได้รับการจัดสรรงบประมาณ ให้ดำเนินการก่อสร้าง ในปีงบประมาณ 2554 และได้ทำการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2555 และได้ทำพิธีเปิด ในวันที่ 23 ธนั วาคม 2555 เป็นประกอบการเรียนการสอน หอ้ งสมุดชุมชนตำบลยกกระบัตร สำหรับไว้คอย ให้บรกิ ารจดั กิจกรรมตา่ งๆ ให้กับประชาชน จนถึงปจั จบุ ัน ที่ต้ัง วัดยกกระบัตร หมู่ 6 ตำบลยกกระบัตร อำเภอบ้านแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร หมายเลขโทรศัพท์ 034483025 หมายเลขโทรสาร 034483025 E-Mail [email protected]

2 บทบาทหนา้ ท่ีภารกจิ กศน.ตำบล 1) ศูนย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎีใหม่ เปน็ ศนู ย์กลางการส่งเสริม จดั กระบวนการการเรยี นรู้ และหน่วยประสานงานแหลง่ เรียนรู้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน ดำเนินงานร่วมกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาจักร (กอ.รมน.) 2) ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตยตำบล (ศส.ปชต.) เพื่อสร้างการเรียรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ พระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและหน้าท่ีในระบอบประชาธปิ ไตยบูรณาการความร่วมมือ กบั คณะกรรมการการเลอื กต้ัง (กกต.) 3) ศนู ย์ดิจิทัลชมุ ชน ซึ่งบรหิ ารจดั การฐานข้อมลู ที่จำเปน็ สำหรบั กศน. และชุมชน เพ่อื ใหม้ ีความรู้และรับรู้ท่ีเท่าทัน ปรบั ตวั ให้สอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลกยคุ ดจิ ิทลั 4) ศนู ยก์ ารศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเป็นฐานในการ ดำเนินงาน โดย กศน.ตำบลมีบทบาทเป็นผปู้ ระสานงานและอำนวยความสะดวก

3 คณะกรรมการ กศน.ตำบล ช่ือ – สกุล บทบาท นายบญุ ยนื ทดั มาลี ประธานกรรมการ รูปถา่ ย นายทวี คงเจริญ รองประธานกรรมการ นายสมชาย เอกพงษ์ กรรมการ นายอนนั ต์ แช่มช้อย กรรมการ นายยงยุทธ คชเกรง็ กรรมการ

4 คณะกรรมการ กศน.ตำบล (ขยายช่องได้ตามอัธยาศัย) บทบาท รูปถา่ ย ชื่อ – สกลุ กรรมการ นายนคิ ม นมุ่ คุ้ม นายยงยุทธ คชเกร็ง กรรมการ นายเจ้ย ชืน่ ภริ มย์ กรรมการ นายชดิ จวนแจ้ง กรรมการ ายประจวบ พุ่มพวง กรรมการ

คณะกรรมการ กศน.ตำบล (ขยายช่องได้ตามอัธยาศัย) 5 รปู ถ่าย ชอื่ – สกลุ นายคำรณ ชา้ งชนะศึก บทบาท กรรมการ นายจำเนียร หอมดี กรรมการ นายเยี่ยม แยม้ ดอกไม้ กรรมการ

6 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน (ขยายช่องได้ตามอัธยาศัย) บทบาท รปู ถา่ ย ชอื่ – สกุล สง่ เสรมิ กจิ กรรมของกศน. และ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน นางจำรัส เสือสี นางประทุม ไทยภกั ดี สง่ เสริมกจิ กรรมของกศน. และ กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน บคุ ลากรใน กศน.ตำบล 1.นางสาวอารีย์ ฉิมบุญอยู่

7 องค์กรนักศกึ ษา ชอ่ื – สกุล บทบาท นายอรรถชยั สบู โคกสูง ประธานองคก์ รนักศึกษากศน.ตำบล รปู ถ่าย นางสาวประภาพร ประสทิ ธ์ิศักด์ิ รองประธานองค์กรนักศึกษากศน.ตำบล นางสาววิชิตา พมุ่ พวง กรรมการ นางสาววิภาภรณ์ นารี กรรมการ

8 องค์กรนักศึกษา (ขยายช่องได้ตามอัธยาศัย) บทบาท รูปถ่าย ช่ือ – สกุล กรรมการ นางสาวนราวดี เหมาะธุลนิ ธ์ นายณัฐนนท์ คำศรี กรรมการ นางสาวสภุ าวรรณ ยาวไสธง เหรญั ญกิ นางสาวจฑุ าธปิ รณุ ไพรัตน์ กรรมการและเลขานุการ

9 ทำเนียบครู กศน.ตำบล ลำดบั ท่ี ชือ่ – สกลุ ตำแหน่ง ระยะเวลาทด่ี ำรง ครกู ศน.ตำบล ตำแหนง่ 1 นางสาวอารยี ์ ฉมิ บญุ อยู่ 2554-ปจั จบุ ัน รางวลั เกียรตบิ ัตร และผลงานดีเด่นของ กศน.ตำบล 1.รางวลั อาเซยี นศึกษา 2.รางวัลการประกวดพาน 3.รางวลั เป็นครูผสู้ ง่ เสรมิ ใหน้ ักศกึ ษาเขา้ สอบมากกว่าร้อยละ 80 ภาคเรียนที่ 1 ปี 2562 4.รางวัลเป็นครผู สู้ ่งเสรมิ ศิษย์ใหม้ ีผลคะแนนสอบการศกึ ษาระดับชาติ พ.ศ.2562 N-net แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน และทุนดา้ นงบประมาณทสี่ ามารถนำมาใชป้ ระโยชนเ์ พ่อื การจดั การศกึ ษา ประเภทบคุ คล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทาง สงั คม-วัฒนธรรมและตน้ ทุนงบประมาณ 1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ความรู้ความสามารถ ทอ่ี ยู่ นางเพิม่ แก้วอยู่ อาหาร/การทำน้ำดมื่ น้ำสลัด หมู่ที่ 4 ตำบลยกกระบัตร นางสาวณฐั วดี ฉมิ พาลี เกษตรผสมผสาน หมู่ท่ี 10 ตำบลยกกระบัตร นางสมมูล ปานมัจฉา การทำพรมเช็ดเทา้ /เปล หมู่ท่ี 8 ตำบลยกกระบตั ร นางราตรี เทศนผ์ ่อง การทำอาหารขนม/จักสาน หมทู่ ี่ 5 ตำบลยกกระบตั ร

10 2. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานท่ี/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่ ชอื่ แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทตี่ ้ัง โรงเรยี นวัดยกกระบตั ร การศกึ ษา หมทู่ ี่ 6 ตำบลยกกระบัตร โรงเรยี นบา้ นทำนบแพ้ว การศึกษา หมู่ท่ี 9 ตำบลยกกระบัตร โรงเรยี นวัดหลักสีร่ าษฎรส์ โมสร การศึกษา หมทู่ ่ี 2 ตำบลยกกระบตั ร โรงเรยี นหลกั สี่ราษฎร์สโมสร การศกึ ษา หมู่ที่ 2 ตำบลยกกระบตั ร โรงเรียนบ้านแพว้ วทิ ยา (ต่ตี ง) การศึกษา หมูท่ ่ี 1 ตำบลยกกระบตั ร วดั ยกกระบตั ร วฒั นธรรมประเพณี หมู่ที่ 6 ตำบลยกกระบัตร วดั หลกั สร่ี าษฎรส์ โมสร วฒั นธรรมประเพณี หมทู่ ่ี 2 ตำบลยกกระบตั ร วสิ าหกจิ ผใู้ หญเ่ จย้ ปลาสลิด การแปรรูปปลาสลิด/นำ้ พริก/ หมู่ท่ี 6 ตำบลยกกระบัตร เศรษฐกิจพอเพยี ง 3. แหล่งสนับสนุน ทุน/งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่ ภาคีเครอื ขา่ ย การสนับสนนุ ทีอ่ ยู่/ท่ตี ั้ง เทศบาลตำบลหลกั ห้า งบประมาณ หมู่ที่ 9 ตำบลโรงเข้

สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานเพื่อการวางแผน สภาพทว่ั ไปตำบลยกกระบัตร ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ตำบลยกกระบัตรตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอบ้านแพ้ว ห่างจากตัวอำเภอบ้านแพ้ว ประมาณ 6 กิโลเมตร หา่ งจากจังหวดั สมทุ รสาครประมาณ 20 กโิ ลเมตร โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทศิ เหนือ ติดกับคลองดำเนินสะดวก และ ต.หนองบัว ต.หนองสองหอ้ ง อ.บา้ นแพว้ ทิศใต้ ติดกับ ต.บางโทรดั ต.กาหลง อ.เมอื งสมทุ รสาคร และ ต.โรงเข้ อ.บา้ นแพ้ว จ.สมุทรสาคร ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กับ ต.ยกกระบัตร อ.บา้ นแพ้ว และ ต.บางโทรัด อ.เมอื งสมุทรสาคร ทิศตะวนั ตก ตดิ กับ ต.โรงเข้ อ.บ้านแพว้ แผนท่ีตำบลยกกระบัตร อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร

12 ขอ้ มูลด้านประชากร จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพ้ืนท่ีตำบลยกกระบัตร หมู่ ชอื่ หมบู่ า้ น จำนวน จำนวนประชากร(คน) จำนวนครวั เรือนในพน้ื ท่ี ที่ ครัวเรอื น ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 1 บา้ นแพว้ วิทยา 307 749 806 1,555 - 307 - 261 2 บ้านหลักสี่ 261 584 658 1,242 - 403 - 269 3 บา้ นดอนไข่นก 403 1,056 1,100 2,156 - 281 - 239 4 บ้านคลองขดุ ใหม่ 269 613 602 1,215 - 185 - 129 5 บา้ นแหลนหาย 281 537 538 1,075 - 190 - 74 6 บา้ นคลองกก 239 475 541 1,016 - 120 - 73 7 บา้ นดอนราวสามัคคี 185 425 491 916 - 2,531 8 บา้ นคลองแพ้ว 129 231 243 474 9 บา้ นออ้ มคลองแพ้ว 190 485 486 971 10 บ้านคลองขดุ ใหม่ 74 190 194 384 11 บา้ นหนิ ปัก 120 126 321 447 12 บา้ นหมทู อด 73 220 332 552 รวม 2,531 5,691 6,312 12,003 ตำบลยกกระบัตร มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จำนวน 2,531 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครอง เทศบาลตำบลหลกั ห้า ทั้งหมดมปี ระชากรท้งั สิ้น 12,003 คนแยกเป็นประชากรชาย จำนวน 5,691 คนคิดเป็น ร้อยละ และประชากรหญงิ จำนวน 6,312 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ความหนาแน่นเฉลี่ย คน/ตารางกโิ ลเมตร

13 จำนวนผู้พิการจำแนกตามประเภทความพิการ ประเภทผู้พกิ าร ชาย จำนวนผพู้ ิการ (คน) รวม คดิ เป็นร้อยละ หญงิ 53 63 1.ทางการเหน็ 28 25 41 2.ทางการไดย้ ินหรอื สื่อ 31 32 ความหมาย 75 57 3.ทางการเคลือ่ นไหวหรอื 16 25 55 ร่างกาย 34 4.ทางจติ ใจหรือพฤติกรรม 43 32 5.ทางสตปิ ญั ญา 23 34 6.ทางการเรยี น 34 21 7.ออทสิ ติก 23 11 กลุ่มผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป อันเนื่องมาจากข้อจำกัดทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาหรือ ความสามารถในการเรียนรู้ จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลยกกระบัตร จำแนกประเภท ความพิการ ส่วนใหญ่มีความพิการ ทางจิตใจหรือพฤติกรรม จำนวน 75 คน รองลงมาทางการได้ยินหรือส่ือ ความหมาย จำนวน 63 คน ทางสติปัญญา จำนวน 57 คน ทางการเรียน จำนวน 55 คน ทางการเห็น จำนวน 53 คน และออทิสตกิ จำนวน 34 คน

14 ขอ้ มลู ดา้ นสังคม ประชาชนตำบลยกกระบัตร ส่วนใหญ่จบการศึกษาตามที่ภาครัฐกำหนดมีระบบการบริการ ด้านสาธารณสุขมูลฐาน อย่างเพียงพอและทั่วถึง ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและดูแลสุขภาพ ของตนเอง ในชมุ ชนบางแห่งมปี ญั หาด้านยาเสพติดแตใ่ นอัตราสว่ นตอ่ จำนวนประชาชนท่ีไม่มากนัก ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจ อาชพี ของประชาชนในตำบล อาชีพหลักของประชาชนในท้องถิ่นคือการทําการเกษตรสวนผลไม้ และการทําประมงน้ำจืด นอกจากนั้นประชาชนบางส่วนยังประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปและเป็นแรงงานภาค อุตสาหกรรมในเขตท้องที่ ใกล้เคียง โครงสร้างทางเศรษฐกิจ/รายได้ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น สวนมะม่วง สวนลําไย,สวนกล้วย,สวนชมพู่สวนมะละกอ, ทําสวน สวนพุทรา,สวนมะพร้าว,สวนแก้วมังกร,ปลูกพืชล้มลุก ฯลฯ ร้อยละ40 และทําการเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงกุ้งกุลาดํา,เล้ียงกุ้งขาว,เลี้ยงปลาสลิด,ปลานิล,ปลากะพง ฯลฯ รอ้ ยละ40 มีอาชีพรบั จา้ งทัง้ ในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม รอ้ ยละ20 กลมุ่ อาชีพเศรษฐกิจชมุ ชน ส่วนใหญ่จะมีพ่อค้าคนกลางมาซื้อถึงแหล่งผลิตและมีเกษตรกรบางกลุ่มรวมตัวกัน นําผลผลิต ทางการเกษตรไปขายยงั ตลาดรบั ซอ้ื ใหญ่ ๆ เชน่ ตลาดไท ตลาดศรเี มืองตลาด สมี่ ุมเมอื ง ฯลฯ ผลผลติ ทางด้าน อตุ สาหกรรม สนิ ค้าจะถูกสง่ เขา้ ตลาดโดยผปู้ ระกอบกิจการเอง และการประกอบธรุ กิจการค้าจะเป็นร้านค้าราย ยอ่ ยและลานค้าชมุ ชน(ตลาดนัด) ขอ้ มูลด้านการศึกษา ตำบลยกกระบัตร มสี ถานศึกษารวมทงั้ หมด 9 แห่ง มีนักเรียน จำนวน 2,906 คน เป็น ในแต่ ละสถานศึกษาทอ่ี ย่ใู นเขตตำบลยกกระบัตร มจี ำนวนนกั เรียน นกั ศกึ ษา ดังนี้ 1) โรงเรยี นวดั ยกกระบตั ร จำนวนนักเรยี น 377 คน 2) โรงเรยี นบ้านทำนบแพ้ว จำนวนนกั เรยี น 95 คน 3) โรงเรยี นวัดหลกั ส่ีพิพัฒนร์ าษฎร์สโมสร จำนวนนักเรียน 467 คน 4) โรงเรียนหลกั ส่ีราษฎร์สโมสร จำนวนนกั เรียน 687 คน 5) โรงเรยี นบา้ นแพ้ววทิ ยา (ตี่ตง) จำนวนนกั เรยี น 1,112 คน 6) ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก 3 .แห่ง จำนวนนกั เรียน 119 คน 7) กศน.ตำบล 1 .แหง่ จำนวนนกั เรียน 49 คน

15 กศน.ตำบลยกกระบัตร ในรอบปีทีผ่ ่านมามีจำนวนนักศึกษาท้งั หมด 59 คน แยกตามระดับ ดงั น้ี ภาคเรียนที่ 2/2561 - ระดับประถมศึกษา จำนวน - คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน - คน - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 59 คน ในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 2/2561 มีนักศึกษาจำนวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด 50 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จำนวน 47 คน มีผู้เข้าสอบจำนวน 43 คน และมผี ู้จบหลักสตู รทัง้ หมด 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 20.6 แยกตามระดบั ดงั นี้ - ระดบั ประถมศึกษา จำนวน..................คน จบหลกั สตู รจำนวน..........คน - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน..................คน จบหลักสตู รจำนวน..........คน - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายจำนวน 50 คน จบหลักสูตรจำนวน 12 คน ภาคเรยี นท่ี 1/2562 - ระดบั ประถมศึกษา จำนวน - คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน - คน - ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 50 คน ในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ภาคเรียนที่ 1/2562 มีนักศึกษาจำนวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด 50 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จำนวน 43 คน มีผู้เข้าสอบจำนวน 43 คน และมีผจู้ บหลักสูตรทั้งหมด 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 9.30 แยกตามระดับ ดังน้ี - ระดบั ประถมศึกษา จำนวน......-............คนจบหลักสูตรจำนวน....-......คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน......-............คนจบหลกั สตู รจำนวน.....-.....คน - ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 43 คน จบหลกั สูตรจำนวน 4 คน

สว่ นท่ี 3 ทิศทางการดำเนินงาน นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ร่าง) นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. วิสยั ทัศน์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพสามารถดำร งชีวิตที่ เหมาะสมกับช่วงวยั สอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและมีทกั ษะที่จำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21 พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับ การศึกษาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัยพร้อมรับการ เปลย่ี นแปลงบริบททางสังคม และสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตรวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งการ เรยี นรูอ้ ่ืน ในรูปแบบตา่ งๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิด ประสทิ ธิภาพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งทวั่ ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทกุ รปู แบบให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปจั จบุ นั 5. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบริหารจดั การใหม้ ีประสิทธภิ าพ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทั้งประชาชนทัว่ ไปได้รับโอกาสทาง การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัย ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหาและความต้องการของแต่ละ กล่มุ เป้าหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและความ เป็นพลเมือง อันนำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนเพื่อพัฒนาไปสู่ความ ม่ันคงและยงั่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์ 4. ประชาชนไดร้ ับการสร้างและสง่ เสรมิ ให้มีนสิ ัยรกั การอ่านเพอ่ื การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

17 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคล่ือนกจิ กรรมการเรียนรู้ของชุมชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ ยกระดับคณุ ภาพในการจัดการเรียนรูแ้ ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรใู้ ห้กับประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบรบิ ทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และส่ิงแวดลอ้ มรวมท้ังตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบที่หลากหลาย 8. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การที่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการทีเ่ ป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ ตวั ชวี้ ัด ตวั ชว้ี ัดเชิงปริมาณ 1. จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามสิทธทิ กี่ ำหนดไว้ 2. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศกึ ษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศยั ทสี่ อดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ 3. ร้อยละของกำลังแรงงานทสี่ ำเร็จการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นข้นึ ไป 4. จำนวนภาคีเครือข่ายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย : สถานประกอบการ องคก์ ร หนว่ ยงานท่ีมารว่ มจดั /พัฒนา/สง่ เสรมิ การศกึ ษา) 5. จำนวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นที่สูง และชาวไทยมอแกน ในพื้นท่ี 5 จังหวัด 11 อำเภอได้รับบริการการศึกษาตลอดชีวติ จากศนู ย์การเรยี นชุมชนสังกดั สำนักงาน กศน. 6. จำนวนผู้ริบบริการในพ้ืนที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะ ชวี ติ 7. จำนวนนักเรียน/นกั ศกึ ษาท่ไี ด้รบั บริการติวเข้มเตม็ ความรู้ 8. จำนวนประชาชนท่ีได้รับการฝึกอาชีพระยะส้นั สามารถสร้างอาชีพสร้างรายได้ 9. จำนวนครู กศน.ตำบล จากพื้นท่ี กศน.ภาคได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร 10. จำนวนประชาชนท่ีได้รับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารดา้ นอาชีพ 11. จำนวนผูส้ งู อายภุ าวะพึ่งพงิ ในระบบ Long Term Care มผี ดู้ แู ลทม่ี ีคณุ ภาพและมาตรฐาน 12. จำนวนประชาชนที่ผ่านการอบรมจากศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน 13. จำนวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพื้นที่สูง ในพื้นท่ี 5 จังหวัดที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ การฟัง พูดภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ร่วมกันในสถานศึกษาสงั กดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จำนวนบคุ ลากร กศน. ตำบลทีส่ ามารถจัดทำคลงั ความรไู้ ด้ 15. จำนวนบทความเพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ในระดบั ตำบลในหวั ขอ้ ตา่ งๆ 16. จำนวนหลักสูตรและสื่อออนไลน์ที่ให้บริการกับประชาชนทั้งการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั

18 ตวั ช้วี ัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ทกุ รายวชิ าทกุ ระดับ 2. ร้อยละของผเู้ รยี นที่ได้รับการสนับสนนุ การจดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเทยี บกับค่าเป้าหมาย 3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษา ตอ่ เนือ่ งเทยี บกับเป้าหมาย 4. ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้นสามารถนำความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชพี หรือพฒั นางานได้ 5. ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพหรือทักษะ ดา้ นอาชีพ สามารถมีงานทำหรอื นำไปประกอบอาชพี ได้ 6. ร้อยละของผู้จบหลักสตู ร/กิจกรรมทีส่ ามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมายของ หลกั สูตร/กจิ กรรม การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 7. ร้อยละประชาชนที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 8. รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่ไดร้ ับบริการ/เขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีมีความร้คู วามเข้าใจ/เจต คต/ิ ทักษะตามจดุ ม่งุ หมายของกิจกรรมทก่ี ำหนด ของการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็ม ความรเู้ พม่ิ สงู ขึ้น 10. รอ้ ยละของผูส้ ูงอายทุ ี่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสเขา้ ร่วมกจิ กรรมการศกึ ษาตลอดชวี ิต นโยบายเร่งด่วนเพอ่ื ร่วมขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด์ ้านความมน่ั คง 1.1. พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกผังและสร้าง ความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนำและเผยพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดำรติ า่ งๆ 1.2. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการ ปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ 1.3. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามใน รูปแบบใหม่ ท้งั ยาเสพติด การคา้ มนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัตใิ หม่ๆ

19 1.4. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การ พัฒนาทักษะ การสร้างอาชีพ และการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ และพ้ืนที่ชายแดนอน่ื ๆ 1.5. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศพ้ืนบ้าน ยอมรับและเคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ และชาวต่างประเทศที่มีความกลากหลาย ใน ลกั ษณะพหุสังคมทีอ่ ยู่รว่ มกัน 2.ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 2.1. เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน.เพื่อยกระดับทักษะด้านอาชีพของ ประชาชนใหเ้ ปน็ อาชพี ทรี่ องรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S- Curve และ New S- Curve) โดยบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้น สร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรม และการบริการ โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ สำหรบั พ้นื ทป่ี กติให้พฒั นาอาชีพทีเนน้ การตอ่ ยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี 2.2. จัดการสึกษาเพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบ การศึกษาอยา่ งน้อยการศกึ ษาภาคบังคับ สามารถนำคุณวุฒทิ ่ีรับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมท้งั พัฒนา ทักษะ ในการประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองต่อบริบท ของสังคมและชมุ ชน รวมทง้ั รองรบั การพัฒนาเขตพ้ืนท่ีระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก(EEC) 2.3. พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพื่อต่อยอดการผลิตและจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ออนไลน์ 1) เรง่ จัดตัง้ ศูนยใ์ หค้ ำปรึกษาและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ Brand กศน. เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพของ สินค้า และผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการนที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้างช่องทาง จำหนา่ ย) รวมทั้งสง่ เสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ในการเผยแพร่และจำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ 2) พัฒนาและคัดเลอื กสดุ ยอดสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ กศน.ในแต่ละจังหวัด พร้อมทั้งประสาน ความร่วมมือกบั สถานีบริการนำ้ มนั ในการเปน็ ช่องทางจำหน่ายสุดยอดสินคา้ และผลติ ภณั ฑ์ กศน.ให้กว้างขวาง ยิ่งขน้ึ 3.ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1. พัฒนาครูและบุคลากรที่เกีย่ วข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เช่ือมโยงความรู้ กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็นครู “มืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของสังคมและเป็น “ผู้อำนวยการเรยี นรู้” ท่สี ามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรียนรทู้ ี่ดี 1) เพิ่มอัตราข้าราชการครูให้กับกศน.อำเภอทุกแห่ง โดยเร่งดำเนินการเรื่องการหาอัตรา ตำแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแต่งต้ัง ข้าราชการครู

20 2) พฒั นาข้าราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรท่เี ชอ่ื มโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตำบลให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการ พฒั นาทักษะการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรียนรู้ 4) พัฒนาศกึ ษานิเทศ ใหส้ ามารถปฎบิ ตั ิการนิเทศไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เรื่องการใช้ประโยชน์จาก ดิจิทลั และภาษาตา่ งประเทศทจี่ ำเปน็ 3.2. พัฒนาแหล่งเรียนรุ้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม ในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นที่การเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก มีบรรยากาศ สวยงาม มชี ีวิต ท่ีดงึ ดูดความสนใจ และมคี วามปลอดภัยสำหรับผู้ใชบ้ รกิ าร 1) ยกระดบั กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ1 แห่ง ) ให้เป็นกศน.ตำบล 5 ดี พรีเมยี ม ทปี่ ระกอบดว้ ย ครดู ี สถานท่ดี ี (ตามบรบิ ทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือขา่ ยดี และมีนวตกรรมการเรยี น ที่ดีมปี ระโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน.เพื่อยกระดับการเรียนรู้ใน 6 ภูมิภาคเป็นพื้นที่การ เรียนรู้ (Co-Learning Space) ที่ทันสมยั สำหรับทุกคน มีความพร้อมในการบรกิ ารต่างๆ อาทิ พื้นที่สำหรบั การทำงาน/การเรียนรู้ พื้นที่สำหรับกิจกรรมต่างๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทำงาน ร่วมกับ ห้องสมุด ประชาชนในการบริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัล บริการอินเตอร์เน็ต สื่อมัลติมีเดีย เพื่อรองรับการเรียนรู้ แบบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library โดยให้มีบริการ หนังสือ ในรูปแบบ e-Book บริการคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง รวมทั้ง Free Wi-fi เพื่อการ สืบคน้ ขอ้ มูล 3. ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยง ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “มืออาชีพ” มีจิตบริการมีความรอบรู้และทันต่อการ เปลี่ยนแปลง ของสังคมและเป็น “ผู้อำนวยการเรียนรู้”ที่สามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการ เรียนรู้ที่ดี 1) เพิ่มอัตราขา้ ราชการครูให้กับ กศน. อำเภอทกุ แหง่ โดยเรง่ ดำเนนิ การเร่ืองการหาอัตรา ตำแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแต่งตง้ั ขา้ ราชการครู 2) พฒั นาข้าราชการครใู นรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรท่เี ชอ่ื มโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตำบลให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นเรื่องการ พัฒนาทักษะการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศทกั ษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบัตกิ ารนเิ ทศได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

21 5) พัฒนาบคุ ลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เร่ืองการใช้ประโยชน์จาก ดิจทิ ัลและภาษาต่างประเทศทจี่ ำเป็น 3.2 พัฒนาแหลง่ เรียนร้ใู หม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทีเ่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มีความพร้อมในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เป็นแหล่งสารสนเทศ สาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มบี รรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้เป็นคาเฟ่พืน้ ที่การเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงาม มีชีวิตที่ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภัยสำหรับ ผู้ใชบ้ ริการ 1) ยกระดบั กศน.ตำบลนำร่อง 928 แห่ง (อำเภอละ 1 แหง่ ) ใหเ้ ปน็ กศน.ตำบล 5 ดี พรี เม่ียมท่ีประกอบด้วย ครูดี สถานท่ดี ี (ตามบรบิ ทของพน้ื ท)่ี กิจกรรมดี เครอื ขา่ ยดแี ละมนี วัตกรรมการเรียนท่ี ดีมีประโยชน์ 2) จัดให้มีศนู ยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ กศน. เพ่ือยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาคเป็นพื้นที่ การเรยี นรู้ (Co – Learning Space) ที่ทันสมยั สำหรับทุกคน มคี วามพร้อมในการให้บริการต่างๆอาทิ พ้ืนท่ี สำหรับการทำงาน/การเรียนรู้ พื้นที่สำหรับกิจกรรมต่างๆ มีห้องประชุมขนาดเล็กรวมทั้งทำงานร่วมกับ ห้องสมุดประชาชนในการให้บริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัล บริการอินเตอร์เน็ตสื่อมัลติมีเดีย เพื่อรองรับ การเรียนรแู้ บบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Libraryโดยให้มีบริการ หนงั สือในรปู แบบ e – Book บริการคอมพิวเตอร์ และอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสูง รวมท้ัง Free Wi-fi เพ่ือการ สบื ค้นขอ้ มลู 3.3 สง่ เสริมการจัดการเรียนรทู้ ีท่ ันสมัยและมีประสิทธิภาพ เออ้ื ต่อการเรยี นร้สู ำหรับทุกคน สามารถเรียนได้ทกุ ที่ทกุ ทท่ี ุกเวลา มีกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย น่าสนใจ สนองความต้องการของ ชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนร้ขู องประชาชนรวมทั้งใช้ประโยชนจ์ ากประชาชนในชมุ ชนในการร่วมจัด กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธ์ของคนในชุมชนไปส่กู ารจัดการความรู้ของชมุ ชนอย่างยั่งยืน 1. ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลกู ฝังคณุ ธรรม สร้างวนิ ยั จติ สาธารณะความ รบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม และการมจี ิตอาสา ผา่ นกจิ กรรมรูปแบบตา่ งๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน.กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจรยิ ธรรมให้กบั บคุ ลากรในองค์กร 2 จดั ให้มีหลกั สูตรลกู เสือมัคคเุ ทศก์ โดยใหส้ ำนักงาน กศน.จังหวัด/กทม. จัดต้ังกองลูกเสือท่ี ลูกเสอื มีความพร้อมด้านทักษะภาษาตา่ งประเทศ เปน็ ลูกเสือมัคคุเทศก์จังหวัดละ 1 กองเพ่ือส่งเสริมจิตอาสา พัฒนาการท่องเทีย่ วในแต่ละจงั หวัด

22 3.4 สง่ เสริมความรว่ มมือกับภาคเี ครือขา่ ย ประสาน สง่ เสริมความร่วมมอื ภาคเี ครอื ข่าย ทง้ั ภาครัฐเอกชน ประชาสงั คม และองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งส่งเสริมและสนบั สนุนการมสี ่วนร่วมของชมุ ชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิด ความร่วมมือในการส่งเสรมิ สนับสนุนและจดั การศึกษาและการเรียนรู้ให้กบั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ 1) เรง่ จดั ทำทำเนียบภูมิปัญญาในแตล่ ะตำบลเพ่ือใชป้ ระโยชนจ์ ากภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นในการ สร้างการเรยี นรู้จากองค์ความรู้ในตัวบุคคลใหเ้ กิดการถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญา สรา้ งคณุ ค่าทางวัฒนธรรมอยา่ งย่งั ยนื 2) สง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ สู่การเรียนรชู้ มุ ชน 3) ประสานความรว่ มมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อการขยายและพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึงกลมุ่ เปา้ หมายทุกกลุม่ อย่างกวา้ งขวางและมคี ุณภาพ อาทิ กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ กลุ่ม อสม. 3.5 พัฒนานวตั กรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชนต์ อ่ การจดั การศึกษาและกลุม่ เป้าหมาย 1) พัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรปู แบบของการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานการพฒั นา ทกั ษะชวี ิตและทักษะอาชพี การศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมทงั้ การพฒั นาชอ่ งทางการค้าออนไลน์ 2) สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการปฏิบัติงาน การบริหารจดั การ และการจดั การเรียนรู้ 3) สง่ เสริมใหม้ ีการใช้การวิจยั อย่างงา่ ยเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ 3.6 พฒั นาศกั ยภาพคนด้านทักษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรแู้ ละทักษะเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่อื พัฒนา รูปแบบการเรยี นการสอน 2) สง่ เสริมการจดั การเรียนรูด้ ้านเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ ให้ประชาชนมที ักษะความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั ที่สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน รวมทง้ั สร้างรายไดใ้ ห้กับตนเองได้ 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตา่ งประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพอ่ื อาชีพ ทั้งในภาคธุรกจิ การบริการ และการ ทอ่ งเท่ียวรวมทง้ั พฒั นาส่ือการเรยี นการสอนเพ่อื สง่ เสริมการใชภ้ าษาเพ่อื การส่อื สารและพฒั นาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอ้ มการเข้าสู่สังคมผู้สงู อายุท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ 1. สง่ เสริมการจดั กิจกรรมให้กบั ประชาชนเพอ่ื สร้างความตระหนกั ถงึ การเตรยี มพร้อมเข้าสู่ สังคมผสู้ ูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจพัฒนาการของชว่ งวยั รวมท้ังเรียนรู้และมสี ว่ นร่วมในการดูแล รบั ผดิ ชอบผู้สงู อายุในครอบครัวและชมุ ชน 2. พัฒนาการจดั บริการการศกึ ษาและการเรียนรสู้ ำหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อม เขา้ ส่วู ัยสงู อายทุ เี่ หมาะสมและมีคุณภาพ 3 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และพัฒนาทักษะชวี ติ ใหส้ ามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรูจ้ กั ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 4 สรา้ งความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผูส้ ูงอายุเปิดโอกาสใหม้ ีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของผู้สงู อายุ และใหม้ ีส่วนรว่ มในกิจกรรมด้านต่างๆ ในชุมชน เช่นดา้ นอาชีพ กฬี า ศาสนาและวฒั นธรรม 5 จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุโดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เกยี่ วข้อง ในทุกระดบั

23 3.9 การส่งเสรมิ วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุก และเน้นให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่ายกับประชาชนใน ชมุ ชนท้งั วิทยาศาสตรใ์ นวิถีชวี ิต และวิทยาศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำวัน 2) พัฒนาสือ่ นทิ รรศการและรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ให้มีความทนั สมัย 3.10 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรปู แบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นที่สูงให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชน์ ในการใชช้ ีวิตประจำวนั ได้ 4.ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1. จัดตั้งศูนย์การเรยี นรู้สำหรบั ทุกช่วงวัย ที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตทีส่ ามารถให้บรกิ าร ประชาชนได้ทุกคน ทุกช่วงวัย ที่มกี ิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ในแต่ละวัยและ เป้นศูนย์บรกิ ารความรู้ ศนู ยก์ ารจดั กจิ กรรมทค่ี รอบคลมุ ทกุ ช่วงวยั เพอ่ื ให้มีพฒั นาการาเรยี นรู้ที่เหมาะสมและมี ความสขุ กับการเรียนรูต้ ามความสนใจ 1) เร่งประสานงานกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อจัดทำฐานข้อมูล โรงเรียนท่ถี กู ยบุ รวม หรอื คาดวา่ น่าจะถกู ยุบรวม 2) ให้สำนักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่งที่อยู่ในจังหวัดที่มีโรงเรียนที่ถูกยุบรวมประสานขอใช้ พื้นทีเ่ พ่ือจัดต้ังศนู ยก์ ารเรยี นรสู้ ำหรับทุกชว่ งวัย กศน. 4.2 ส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาและการเรียนร้สู ำหรับกลมุ่ เป้าหมายผ้พู ิการ 1) จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพและการศึกษา ตามอธั ยาศัย โดยเน้นรูปแบบการศกึ ษาออนไลน์ 2) ให้สำนกั งาน กศน.จังหวดั ทุกแห่ง/กทม. ทำความรว่ มมือกับศูนย์การศึกษาพิเศษประจำ จังหวัดในการใชส้ ถานที่ วสั ดอุ ุปกรณ์ และครุภัณฑด์ า้ นการศึกษาเพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ สำหรบั กล่มุ เป้าหมายผ้พู ิการ 4.3 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมาย พเิ ศษอนื่ ๆอาทิ ผูต้ อ้ งขงั คนพิการ เด็กออกกลางคนั ประชากรวยั เรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษาให้จบการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานสามารถนำความรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเน่ือง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพนื้ ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ

24 5. ยทุ ธศาสตร์ด้านสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหาย จากภยั ธรรมชาตแิ ละผลกระทบทีเ่ กยี่ วข้องกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการสร้างสังคมสเี ขียว ส่งเสริมความรู้ใหก้ ับประชาชนเกี่ยวกับการคัดแยกต้ังแต่ต้นทาง การกำจัดขยะ และการนำกลับมาใช้ ซำ้ เพ่ือลดปริมาณและต้นทุนในการจดั การขยะของเมือง และสามารถนำขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ได้โดยงา่ ย รวมท้งั การจดั การมลพิษในชมุ ชน 5.3 สง่ เสรมิ ใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาใชพ้ ลังงานท่ีเป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม รวมทั้งลดการใช้ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยดั ไฟฟ้า เปน็ ต้น 6. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใสปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ บริหารจัดการบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชิงประจักษม์ งุ่ ผลสัมฤทธ์ิมีความโปร่งใส 6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัล มาใช้ในการบริหารและ พัฒนางานสามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการพร้ อมทั้งพัฒนาโปรแกรม ออนไลน์ที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆที่ทำให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ กระบวนการและใหป้ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายสามารถเขา้ ถึงบริการได้อย่างทนั ที ทกุ ท่ีทกุ เวลา 6.3 สง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทุกระดับอยา่ งต่อเน่อื ง ให้มคี วามรแู้ ละทักษะตามมาตรฐาน ตำแหน่ง ให้ตรงกบั สายงาน ความชำนาญ และความตอ้ งการของบคุ ลากร

25 ทิศทางการดำเนินงานของ กศน.อำเภอบ้านแพ้ว แนวทางการพัฒนา กศน.อำเภอ สถานศึกษาได้จัดประชุมบุคลากรเพื่อระดมความคิด ร่วมกันประเมินสถานการณ์ ของสถานศึกษา โดยในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็ง และจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค จากสภาพแวดล้อมภายนอก สถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการ ดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาซง่ึ ได้ผลการประเมินสถานการณข์ องสถานศึกษา ดงั นี้ จดุ แขง็ (สภาพแวดล้อมภายใน) 1. กศน.อำเภอบ้านแพ้วมกี ลยทุ ธก์ ารดำเนนิ งานที่ชดั เจน ทำใหก้ ารปฏิบัติงานมปี ระสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล 2. โครงสรา้ งองค์กรมีความชดั เจน ทำให้ทกุ คนร้บู ทบาทหน้าที่ทำให้การบรหิ ารงานคล่องตัว รวดเร็ว 3. กศน.อำเภอบ้านแพ้วเปน็ องค์กรท่มี ีระบบ ให้ความสำคัญกับปัจจยั นำเข้า (input) กระบวนการ ทำงาน(Process) และมงุ่ เน้นผลผลติ (output) ที่มคี ุณภาพ 4. ผูบ้ รหิ ารมภี าวะผู้นำ มีความหนักแนน่ มีประสบการณ์ มคี วามคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ มีความ ยดื หยุ่นในการบริหาร บรหิ ารงานแบบมีสว่ นรว่ ม สรา้ งภาพลักษณท์ ีด่ ีให้กับองค์กรและมีความสามารถในการ สือ่ สารกับบคุ คลภายนอก 5. บุคลากรมีการทำงานเป็นทีม มีความสามัคคี ช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกนั 6. บคุ ลากรมีความสามารถในการบริหารจดั การและมคี วามสามารถในการจัดกระบวนการเรียน การสอน 7. บุคลากรมีทักษะในการประสานงาน ทำให้ไดร้ บั ความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน 8. บคุ ลากรรักองค์กรพร้อมทจ่ี ะทุ่มเทความร้คู วามสามารถ เสียสละและอุทิศเวลาสว่ นตนทำงาน เพื่อองค์กร 9. มกี ารจดั ตง้ั กศน.ตำบลครบทั้ง 12 ตำบล 10. บุคลากรมีคา่ นิยมร่วมขององคก์ ร เปน็ องค์กรที่เน้นคุณภาพในการใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษา 11. กศน.อำเภอบ้านแพ้วมีการดำเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA ในทุกกิจกรรม/โครงการ 12. กศน.อำเภอบ้านแพ้ว มีคา่ นยิ มในการพฒั นา ท้งั พัฒนาคน พฒั นางาน และความสมั พนั ธ์ทั้งใน และนอกองคก์ ร

26 จดุ อ่อน (สภาพแวดล้อมภายใน) 1. มี กศน.ตำบล เพยี ง 3 แห่งท่ีไดร้ บั งบประมาณในการก่อสร้าง อีก 9 แห่ง ยงั ต้องใช้อาคาร สถานที่ของประชาชน หรือเครือข่ายในตำบล 2. บคุ ลากรจบการศกึ ษาไม่ตรงสาขาท่ีสอน ขาดครูสอนวิชาภาษาองั กฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และมีครสู อนคณิตศาสตร์เพยี งท่านเดียว 3. เคร่ืองมือ/อุปกรณท์ างด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการปฏิบัติงานรวมทง้ั เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ยงั ล้าสมัย และขาดแคลน 4. ครูมีภาระงานมากต้องปฏิบัติงานหลายหนา้ ที่ โดยหนา้ ที่หลกั ต้องปฏบิ ตั งิ านที่ กศน.ตำบล และ ตอ้ งรบั ผิดชอบงานในสำนกั งาน โอกาส (สภาพแวดล้อมภายนอก) 1. ภาคีเครอื ข่ายและประชาชนให้การสนับสนนุ การดำเนินงานของ กศน.อำเภอเปน็ อยา่ งดี 2. มีกล่มุ เปา้ หมายทีย่ ังไม่จบการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 3. มแี หลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ทีเ่ อื้อต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 4. มีทรัพยากรธรรมชาตทิ ่สี มบูรณ์ที่สามารถใช้เป็นวัตถดุ ิบในการจัดการศึกษาอาชีพ อปุ สรรค (สภาพแวดล้อมภายนอก) 1. ประชาชนในอำเภอบ้านแพ้วไม่ใหค้ วามสำคัญกับการศึกษา 2. ประชาชนให้ความสำคญั กบั การทำมาหากนิ มากกวา่ การเรียน 3. มีคู่แข่งซ่งึ เป็นหนว่ ยงานอน่ื ที่จดั การศกึ ษาในลักษณะเดยี วกัน แต่มีงบประมาณในการจัด การศึกษามากกว่าบางหน่วยงานผเู้ รียนได้ค่าตอบแทนเป็นเงินในการประกอบอาชพี ปรชั ญา คิดเปน็ น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วสิ ัยทศั น์ สถานศึกษาคุณภาพ สร้างการพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน บนพ้นื ฐานความพอเพยี ง อตั ลกั ษณ์ ยม้ิ ทกั ทาย ไหวเ้ ป็นมิตร มจี ิตอาสา

27 เอกลกั ษณ์ สถานศึกษาพอเพยี ง เคยี งคู่ภาคเี ครือข่าย พันธกิจ สร้างคนดี มอี าชีพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ เพื่อสรา้ งจติ สำนึกความเป็น พลเมืองดี มีอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับ การศึกษาพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการ เปลยี่ นแปลงบรบิ ททางสังคม และสร้างสังคมแห่งหารเรยี นรู้ 2. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียน และแหล่งการเรยี นรูอ้ นื่ ในรูปแบบต่างๆ 3. ส่งเสรมิ และพฒั นาการนำเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชใ้ ห้เกดิ ประสิทธภิ าพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับประชาชนอยา่ งท่ัวถึง 4. พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ นวตั กรรม การวดั และประเมินผลในทุก รูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทในปัจจบุ นั 5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การให้มีประสิทธภิ าพเพื่อมงุ่ จัดการศึกษาและเรียนรู้ท่ี มคี ณุ ภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เป้าประสงค์และตัวช้ีวัดตามความสำเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดตามความสำเร็จ 1.ประชาชนในอำเภอบ้านแพ้วไดร้ บั การศึกษานอก 1.ร้อยละ 75 ของประชาอำเภอบา้ นแพ้วไดร้ ับ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมีคุณภาพ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่ อยา่ งทวั่ ถึง มีคณุ ภาพ 2.บคุ ลากรไดร้ ับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทง้ั ด้าน การบรหิ ารจัดการและการจัดกจิ กรรมเรียนสอน 2.บุคลากรทุกคนไดร้ ับการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง ทีม่ ีคณุ ภาพ ทง้ั ด้านการบรหิ ารจัดการและการจดั กจิ กรรม 3.สถานศึกษามรี ะบบบรหิ ารจัดการทม่ี ีคณุ ภาพ เรียนการสอนที่มีคุณภาพ สามารถดำเนนิ งานได้อย่างมีประสิทธภิ าพและ มีการดำเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA 3.1 มีระบบบรหิ ารท่ีมีประสิทธภิ าพ 3.2 มกี ารดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA 4.ภาคีเครือข่ายเข้ามามสี ่วนร่วมหรอื ให้การ 3.3 บริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล สนับสนนุ ในการจดั การศึกษานอกระบบและ 3.4 มรี ะบบสารสนเทศทด่ี ี การศึกษาตามอัธยาศัย 4.ร้อยละ 80 ของภาคสว่ น ต่าง ๆ ในอำเภอ บ้านแพว้ เข้ามารว่ มหรือให้การสนบั สนนุ ในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

28 กลยุทธ์ กลยทุ ธท์ ี่ 1 : มุง่ ม่ันพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา - พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน - พฒั นาคณุ ภาพครูและบคุ ลากร - พฒั นาหลักสตู ร - พัฒนาและจัดหาส่อื การสอน กลยุทธท์ ี่ 2 : สร้างเสริมและพฒั นาระบบบริหารท่มี ีคุณภาพ - เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การ ใหผ้ ู้เรียน/ผรู้ บั บริการได้รบั บริการทส่ี ะดวก รวดเร็ว - เสริมสรา้ งหลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงาน - พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กลยุทธท์ ่ี 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ให้ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเปา้ หมายและ ให้ครอบคลมุ พ้ืนทใ่ี นอำเภอบ้านแพว้ - จัดกจิ กรรมเชิงรุก ด้วยการใหบ้ ริการประชาชนถึงพนื้ ที่ กลยุทธท์ ่ี 4 : ผนกึ กำลงั ภาคีเครอื ข่าย - ส่งเสรมิ ภาคีเครือขา่ ยให้เข้ามามีสว่ นรว่ มในจดั การจดั การศึกษาและกิจกรรม/โครงการ ตา่ งๆ - ใชช้ มุ ชนเป็นฐานการเรยี นรู้

29 แนวทางการพัฒนาของ กศน.ตำบลยกกระบตั ร (ถา้ มี) การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน.ตำบลยกกระบตั ร (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จุดแขง็ ของ กศน.ตำบล (Strength - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานท่ี สอื่ วสั ดอุ ุปกรณ์ และดา้ นโครงสรา้ งองคก์ ร/การบริหารจดั การ ค่านยิ มองค์กร 1. มีอาคารเป็นเอกเทศ 2. มีงบประมาณในการจัดกิจกรรม 3. มีวสั ดุ อุปกรณ์ท่ีพรอ้ มในการจัดการเรียนการสอร 4. มกี ารจดั ทำแผนปฏิบตั ิงานกศน.ตำบลเพ่ือเป็นแนวทางในการดำเนินงาน 5. มีการบริหารงานทช่ี ดั เจนตรวจสอบได้ 6. มภี าคีเครือข่ายทีส่ นบั สนนุ งบประมาณในการพฒั นากศน.ตำบล 1.2 จดุ ออ่ นของ กศน.ตำบล (Weakness - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานที่ สื่อ วสั ดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสรา้ งองคก์ ร/การบรหิ ารจัดการ ค่านิยมองคก์ ร 1. ไมม่ ีงบประมาณในการซ่อมแซมกศน.ตำบล 2. อาคารเรยี นค่อนขา้ งคับแคบ ไมส่ ามารถใหบ้ ริการกลุ่มเป้าหมายที่มจี ำนวนมากขึน้ 3. เจา้ หน้าที่ทป่ี ฏิบัตงิ านใน กศน.ตำบลนอ้ ยวิชาที่สอนไม่ตรงตามวุฒิการศึกษา 2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunity - O) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นท่ี ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกจิ ด้านเทคโนโลย/ี การคมนาคม ตดิ ตอ่ สื่อสาร และดา้ นสิ่งแวดล้อม 1. เปน็ พืน้ ที่ท่มี ีประชากรวยั แรงงานอยู่มาก 2. องค์กรเครือขา่ ยเขา้ ใจและให้ความร่วมกบั งานกศน.ตำบลมากขึ้น 3. นโยบายของรฐั บาลส่งเสริมให้ กศน.ตำบล เป็นแหล่งการเรียนรู้ชมุ ชนตลอดชีวิต 4. กศน.ตำบลมกี ารคมนาคมทเี่ ขา้ ถึงได้ง่าย 2.2 อุปสรรค/ความเส่ยี ง (Threat - T)

30 ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกจิ ด้านเทคโนโลย/ี การคมนาคม ตดิ ต่อสื่อสาร และด้านส่ิงแวดล้อม 1. ประชาชนในตำบลไมใ่ ห้ความสนใจในการเรยี นกศน. 2. ผนู้ ำบางสว่ น ไม่เหน็ ความสำคัญ และไม่สนับสนุนการศึกษา 3. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างหนว่ ยงานกับชมุ ชนยังไม่ตอ่ เน่อื ง 4. งบประมาณสนับสนุนในจดั กิจกรรมค่อนข้างน้อย ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ครบตาม ความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย 5. เป็นสงั คมเมืองทำให้การรวมกลุม่ จดั กิจกรรมทำไดย้ าก แนวทางการพฒั นา กศน.ตำบล กศน.ตำบลยกกระบัตร ได้จัดประชุมบุคลากรเพื่อระดมความคิด ร่วมกันประเมินสถานการณ์ของ สถานศึกษา โดยในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและ จุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค จากสภาพแวดล้อมภายนอก สถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทาง การดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาซึง่ ได้ผลการประเมินสถานการณข์ องสถานศึกษา ดังนี้ ปรชั ญา คดิ เป็น น้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วสิ ัยทัศน์ สถานศึกษาคุณภาพ สรา้ งการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน บนพ้นื ฐานความพอเพียง อตั ลักษณ์ ยม้ิ ทักทาย ไหว้เปน็ มติ ร มจี ิตอาสา เอกลักษณ์ สถานศึกษาพอเพียง เคยี งคู่ภาคเี ครือข่าย จุดเน้นจุดเด่นการทำงานของ กศน.ตำบล

31 1. ครไู ดร้ ับการพัฒนาในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย 2. กศน.ตำบลมีบรรยากาศ ร่มรืน่ และเอ้ือต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 3. กศน.ตำบลมีการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ที่ ันสมัยและเอื้อตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 4. ภาคีเครือข่ายมสี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมตา่ งๆของ กศน.ตำบล พนั ธกิจ 1.จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.พฒั นาบคุ ลากรใหส้ ามารถจัดการศึกษาท่ีมคี ุณภาพอย่างเทา่ เทยี มและท่ัวถึง 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการเพอ่ื การจดั การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ 4.สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การมีส่วนรว่ มของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการจดั การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย เปา้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ดั ตามความสำเรจ็ 1.ประชาชนในอำเภอบ้านแพ้วได้รบั การศึกษานอก 1.รอ้ ยละ 75 ของประชาอำเภอบ้านแพ้วได้รบั ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่มี ีคุณภาพ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ี อย่างทวั่ ถงึ มีคณุ ภาพ 2.บุคลากรไดร้ บั การพัฒนาอย่างตอ่ เนื่องทัง้ ด้าน 2.บุคลากรทกุ คนไดร้ บั การพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง การบรหิ ารจดั การและการจัดกจิ กรรมเรียนการ ท้ังดา้ นการบริหารจดั การและการจัดกจิ กรรเรยี น สอนทม่ี ีคุณภาพ การสอนท่มี คี ุณภาพ 3.สถานศึกษามรี ะบบบริหารจัดการทมี่ ีคุณภาพ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ 3.1 มรี ะบบบริหารที่มปี ระสทิ ธิภาพ มีการดำเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA 3.2 มีการดำเนนิ งานตามวงจรคุณภาพ PDCA 3.3 บริหารงานตามหลักธรรมาภบิ าล 4.ภาคเี ครือข่ายเขา้ มามสี ่วนรว่ มหรือใหก้ าร 3.4 มีระบบสารสนเทศทด่ี ี สนับสนนุ ในการจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4. ร้อยละ 80 ของภาคสว่ น ต่าง ๆ ในอำเภอ บ้านแพ้วเขา้ มารว่ มหรือให้การสนับสนุนในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

สว่ นที่ 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประกอบด้วย 4.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของแผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ........... 4.3 แผนการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ................ 4.4 โครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ...............

33 4.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ........... 4.3 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ................ 4.4 โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ...............

คณะผู้จดั ทำ ท่ีปรกึ ษา 1. นายมนตรี ลมิ าภิรกั ษ์ ผู้อำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดสมุทรสาคร 2. นางวรภร ประสมศรี รองผอู้ ำนวยการ สำนักงาน กศน.จงั หวัดสมุทรสาคร 3. นางจดิ าภา บวั ทอง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบา้ นแพว้ 4. นายนยิ ม ภาลีภณั ฑ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน สงั กัดสำนักงาน กศน.จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ คณะผ้จู ัดทำ 1. นางสาวอารีย์ ฉิมบุญอยู่ ครู กศน.ตำบลยกกระบัตร รวบรวม/เรียบเรยี ง 1. นางสาวอารยี ์ ฉิมบุญอยู่ ครู กศน.ตำบลยกกระบัตร ออกแบบปกรปู เล่มและพมิ พ์ 1. นางสาวอารีย์ ฉมิ บญุ อยู่ ครู กศน.ตำบลยกกระบัตร บรรณาธิการ 1. นางสาวอารยี ์ ฉิมบญุ อยู่ ครู กศน.ตำบลยกกระบัตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook