Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อมูล 9 ประการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก

ข้อมูล 9 ประการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก

Published by plvcdatacenter, 2018-01-03 21:31:46

Description: ข้อมูล 9 ประการ

Search

Read the Text Version

48ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ศาลาประดิษฐ์ฐานพระ จานวน 1 หลงั ลักษณะ หลงั คากระเบื้อง ขนาด 2.50 * 3.50 ตารางเมตร งบประมาณกอ่ สร้าง เปน็ เงินบรจิ าค 60,000 บาทเสาธงชาติ ลักษณะ ประดับด้วยหินศิลาแลง ขนาด 6.50 * 6.50 ตารางเมตร

49ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐สนามกีฬาสนามบาสเกตบอล ลักษณะ พน้ื ปูน ขนาด 16.80 * 32 ตารางเมตร การใชง้ าน เป็นสถานทอ่ี อกกาลงั กายสนามวอลเลย่ ์บอล

50ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ ลกั ษณะ พื้นปนู ขนาด 16.80 * 32 ตารางเมตร การใช้งาน เป็นสถานท่อี อกกาลงั กายและใชเ้ รียนวิชาพลานามัยสนามฟุตบอลลกั ษณะ พื้นหญ้าขนาด 43 * 65 ตารางเมตรการใช้งาน เปน็ สถานทอ่ี อกกาลงั กาย เข้าแถวเคารพธงชาติ กิจกรรมตา่ งๆ

51ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ซุ้มไม้สักซมุ้ ไม้สกั 6 เหลีย่ ม จานวน 8 หลังลกั ษณะ หลังคาไม้แผน่ เกรด็ขนาด 3.40 * 3.40 ตารางเมตรการใชง้ าน เปน็ สถานทนี่ ั่งพักผอ่ นซมุ้ ไม้สัก 4 เหลยี่ ม จานวน 2 หลังลกั ษณะ หลังคาไมแ้ ผ่นเกร็ดขนาด 2.00 * 4.00 ตารางเมตรการใชง้ าน เปน็ สถานที่นง่ั พกั ผอ่ น

52ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ป้อมยามป้อมยามด้านหนา้ลักษณะ อาคารชน้ั เดียว หลงั คากระเบ้อื ง ผนงั ศลิ าแลงขนาด 3.00 * 4.00 ตารางเมตร

53ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ปอ้ มนอนยาม ลักษณะ อาคารทรงไทย หลงั คากระเบือ้ ง โครงเหลก็ ผนังเหลก็ พืน้ ไม้ มลี อ้ เล่อื น ขนาด 2.40 * 3.60 ตารางเมตร รั้วคอนกรีตบลอ็ ก จานวนเนื้อที่ 788 ตารางเมตร ถนนคอนกรีต จานวนเน้ือท่ี 632 ตารางเมตร รางระบายน้า จานวนเน้อื ท่ี 596 ตารางเมตรอาคารวิทยบริการ

54ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ ชั้น1 -หอ้ ง ปค.5 แผนกคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ -หอ้ งงานศนู ยข์ อ้ มลู สารสนเทศ -ห้องบรกิ าร Internet -หอ้ งนา้ ชาย/หญิง ชน้ั 2 -หอ้ งสมุด ชั้น3 -หอ้ งดอกปีป(หอ้ งเรยี นรวม)อาคารโรงแรมชั้นท่ี1-RECEPTION-ห้องน้าชน้ั 2-หอ้ งพักขนาด 1 เตยี ง หอ้ งน้าในตวั-ห้องพักขนาด 2 เตยี ง ห้องนา้ ในตวัช้ัน3

55ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ -หอ้ งประชมุ /หอ้ งเรียน -ห้องน้า อาคาร 10ชน้ั 1 -หอ้ งงานทวิภาคี,ทวิศกึ ษาชัน้ 2 -ห้องเรียนช้ัน 3 -ห้องเรยี นสาขาวิชาการบัญชี

56ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ สว่ นท่ี ๙ขอ้ มูลจังหวัดพิษณุโลก

57ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ข้อมูลจงั หวดั พิษณโุ ลก จงั หวัดพษิ ณุโลก เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย หรอื ภาคเหนือตอนล่าง มปี ระชากรในปีพ.ศ. 2558 จานวน 863,404 คน มพี น้ื ที่ 10,815.854 ตารางกิโลเมตร มีเทศบาลนครพษิ ณโุ ลกเปน็ เมืองศนู ยก์ ลางของจงั หวดั และเป็นทตี่ ้ังศาลากลางจงั หวดั เป็นเมืองเกา่ ที่มปี ระวตั ศิ าสตร์ยาวนานมาตง้ั แต่สมยั ขอมโดยมีชือ่ เรยี กต่าง ๆ กนั ในศลิ าจารึก ตานาน นทิ าน และพงศาวดาร เช่น สองแคว, สองแควทวสิ าขะ และไทยวนที เดิมเมอื งพิษณุโลกเป็นเมืองเกา่ สมยั ขอม อย่หู ่างจากท่ีตง้ั เมอื งปจั จุบนั ลงไปทางทิศใต้ประมาณ 5กโิ ลเมตร เรียกว่า \"เมอื งสองแคว\" ทเ่ี รียกเชน่ นี้ เพราะตง้ั อย่รู ะหวา่ งแมน่ ้าสองสาย คอื แมน่ ้านา่ น กับแมน่ า้แควนอ้ ย แต่ปจั จุบนั แม่นา้ แควน้อยเปล่ยี นทางเดินออกห่างจากตวั เมืองไปประมาณ 10 กโิ ลเมตร ทต่ี ัง้ ตัวเมอื งเก่าในปัจจุบนั คือ บริเวณวดั จฬุ ามณี ซง่ึ เปน็ วัดเก่าแก่ของพิษณุโลก แตเ่ มื่อประมาณพุทธศักราช 1900 พระมหาธรรมราชาท่ี 1 (ลไิ ท) ได้โปรด ให้ย้ายเมืองสองแคว มาต้ังอยู่ ณ บรเิ วณตัวเมอื งในปจั จบุ ัน และยังคงเรียกกันติดปากวา่ เมืองสองแคว เรอื่ ยมาศพั ท์มูลวทิ ยำ ช่อื ของจงั หวัดมาจากคาวา่ พษิ ณุ หมายถึง \"พระวษิ ณุ\" เทพตามความเชอ่ื ของชาวฮินดู รวมกบั คาว่าโลก ทาให้มีความหมายเป็น \"โลกแห่งพระวษิ ณุ\" ในสมัยที่ยังปกครองดว้ ยระบบมณฑลเทศาภิบาล ชื่อของจังหวัดนัน้ สะกดว่า พศิ ณโุ ลก

58ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐สัญลักษณป์ ระจำจังหวัด ตราประจาจังหวัด: พระพทุ ธชินราชดอกไม้ประจาจงั หวัด: ดอกนนทรี (Peltophorum pterocarpum)ต้นไม้ประจาจังหวัด: ปบี (Millingtonia hortensis)

59ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ประวตั ิศำสตร์สมยั สุโขทัย วัดพระศรรี ัตนมหาธาตวุ รมหาวิหาร เมอื งสองแควอยู่ในอานาจของราชวงศผ์ าเมอื ง จนกระทงั่ ในรชั กาลพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชจงึ ได้ยึดเมืองสองแคว ครัน้ สมยั พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ไดเ้ สดจ็ มาประทับท่เี มอื งสองแคว พระองคไ์ ด้เอาพระทยั ใส่ทานบุ ารุงนาความเจรญิ เป็นอย่างยิง่ เชน่ การสรา้ งเหมืองฝาย สนบั สนนุ ให้มีการขยายพ้ืนทเ่ี พาะปลูก สร้างทางคมนาคมจากเมอื งพิษณโุ ลกไปเมืองสโุ ขทัย โดยเฉพาะอย่างย่งิ ได้มีการสร้างพระพทุ ธชินราช พระพทุ ธชินสหี ์ และพระศรศี าสดา เพื่อประดิษฐานไว้ใน พระวหิ ารวดั พระศรีรตั นมหาธาตุ (วัดใหญ)่สมยั อยุธยำ เมอ่ื สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรงุ ศรอี ยธุ ยาเสดจ็ กรธี าทพั มาหมายจะชิงสุโขทัยซ่งึ พระยายุทธษิ ฐริ ะ (พระอนชุ าของพระองค์) ได้ไปสวามิภักดิ์ต่อพระเจ้าตโิ ลกราชแหง่ ล้านนา พระองค์จงึ ทรงสรา้ งเมอื งใหมบ่ รเิ วณเมืองสองแควและเมอื งชยั นาท ขนานนามวา่ เมืองพระพิษณุโลกสองแคว สาหรบั การที่เรียกว่าพระพิษณโุ ลกสองแควนนั้ คาดว่าสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงแปลงคาจาก สรลวงสองแคว, สรลวง มีความหมายวา่ สรวง คอื พระวษิ ณุ (พระนารายณ)์ โดยทรงหมายมน่ั ใหเ้ ป็นราชธานีฝา่ ยเหนอื คู่กับกรงุ เทพทวารวดีศรอี ยธุ ยา

60ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ พิษณโุ ลกสมยั อยธุ ยามีความสาคัญยงิ่ ทางด้านการเมอื งการปกครอง ยทุ ธศาสตร์ เศรษฐกิจ ศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม พษิ ณโุ ลกเปน็ ราชธานีในรชั สมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2006-พ.ศ.2031 รวม 25 ปี นับว่าระยะนี้เป็นยุคทองของพษิ ณุโลก ในสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ครัง้ ดารงตาแหนง่ พระมหาอปุ ราช ณ เมอื งพิษณโุ ลกระหว่าง พ.ศ. 2112-พ.ศ. 2133 ไดท้ รงปลกุ สานึกให้ชาวพิษณุโลกเปน็ นักกอบกเู้ อกราชเพื่อชาตไิ ทย ทรงสถาปนาพิษณโุ ลกเปน็ เมืองเอก เปน็ การประสานต่อความเจริญรงุ่ เรอื งจากอดตี มาจนถึงปจั จุบัน ดำ้ นเศรษฐกจิ เน่ืองจากพิษณุโลกต้ังอยู่บนเส้นทางระหว่างรัฐ คือ อาณาจักรล้านนาทางเหนือกับกรุงศรีอยุธยาในทางใต้ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐทั้งสองบางคร้ังเป็นไมตรีกันบางครั้งขัดแย้งกัน ทาสงครามต่อกัน มีผลให้เมืองพิษณุโลกได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมประเพณีท้ัง 2 รัฐ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจพิษณุโลกเป็นเส้นทางสินค้าของป่า และผลิตผลทางการเกษตร รวมท้ังเครื่องถ้วย โดยอาศัยการคมนาคมผ่านลาน้าน่านสู่กรุงศรีอยธุ ยา ซง่ึ ขณะนน้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางของการค้านานาชาติแห่งหน่งึ ในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในปัจจบุ ันที่พิษณุโลก มีหลกั ฐานชัดเจนวา่ เปน็ แหล่งผลิตเครอื่ งถว้ ยคุณภาพดี ซง่ึ มอี ยู่ทั่วไปบริเวณฝั่งแม่น้าน่านและแม่น้าแควน้อย โดยเฉพาะท่ีวัดตาปะขาวหาย พบเตาเผาเครื่องถ้วยเป็นจานวนมาก พร้อมเครอ่ื งถ้วยจาพวกโอง่ อ่าง ไห ฯลฯ เครือ่ งถ้วยเหล่าน้ี นอกจากจะใชใ้ นทอ้ งถน่ิ แล้ว ยังเปน็ สินคา้ ส่งออกไปขายต่างประเทศดว้ ย วินิจฉัยวา่ น่าจะเป็นแหล่งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถนับว่าเมอื งพิษณโุ ลกมีความสาคญั ยง่ิ ทางเศรษฐกิจ คือเปน็ แหลง่ ทรัพยากรของกรุงศรีอยธุ ยา

61ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ ดำ้ นศำสนำ พระพทุ ธชินราช แม้ว่าเมืองพิษณุโลกจะเป็นจุดยุทธศาสตร์สาคัญในสงครามระหว่างอยุธยากับลา้ นนาและอยุธยากับพม่ามาตลอด แต่การศาสนาก็มิได้ถูกละเลย ดังปรากฏหลักฐานทางโบราณวัตถุและโบราณสถานช้ีให้เห็นชดั เจนว่า พระพทุ ธรูปและวดั ปรากฏในปัจจบุ นั เชน่ พระพุทธชินราช พระพทุ ธชนิ ศรี พระศรศี าสดา วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดใหญ่) วัดจุฬามณี วัดอรัญญิก วัดนางพญา วัดราชบูรณะ วัดสระแก้วปทุมทอง วัดเจดีย์ยอดทอง วดั สุดสวาสดิ์ และวดั วังหิน ล้วนเป็นศลิ ปวัฒนธรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือมิฉะน้ันก็ได้มีการบรู ณปฏสิ งั ขรณข์ องเดิมทมี่ ีมาคร้ังกรุงสุโขทยั แสดงวา่ ด้านพระศาสนาไดม้ ีการบารุงมาโดยตลอด ในปัจจุบัน ทั้งพระพุทธชินศรีและพระศรีศาสดาได้ถูกอัญเชิญมาประดิษฐานท่ีกรุงเทพมหานคร มีเรอ่ื งเล่ากันวา่ จากเดิมจะอัญเชิญพระพุทธชินราชมาดว้ ย แต่เมือ่ เอาลงแพ เตรียมที่จะล่องลาน้าน่านนนั้ แพก็ไม่ยอมเคลื่อนท่ี แม้จะตรวจเท่าไร ก็ไม่พบว่าแพติดอะไร แตแ่ พท่ีใช้ในการย้ายกไ็ ม่ยอมไหลตามน้า จึงทาการบวงสรวงขอขมา แล้วนาขนึ้ มาประดิษฐานไว้ตามเดิมจนถึงปจั จุบัน ว่ากันว่า ทา่ นเปน็ ห่วงเมืองของทา่ น จะอยู่ปกป้อง ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารวัดจุฬามณีข้ึนในปี พ.ศ. 2007และพระองค์ได้ทรงสละราชสมบัติออกผนวช ณ วัดจุฬามณี อาเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก เม่ือปีพ.ศ. 2008 เป็นเวลา 8 เดือน 15 วัน มีข้าราชบริพารตามเสดจ็ ออกบวชถึง 2,348 คน และในปี พ.ศ. 2025 มีพระบรมราชโองการให้บูรณะวัดพระศรีรัตนมหาธาตุและให้มีการสมโภชถึง 15 วัน พร้อมกันน้ันได้โปรดให้นกั ปราชญร์ าชบัณฑติ แต่งมหาชาตคิ าหลวง จบ 13 กณั ฑ์บรบิ รู ณ์ด้วย ตอ่ มาในสมยั รชั กาลสมเดจ็ พระนารายณ์

62ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐มหาราชได้ทรงสรา้ งรอยพระพทุ ธบาทจาลองเม่ือ พ.ศ. 2222 และโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระดิษฐานไว้ ณ วัดจุฬามณีพรอ้ มทง้ั จารึกเหตกุ ารณ์สาคัญทางศาสนาในสมยั พระบรมไตรโลกนาถไว้บนแผ่นศลิ าด้วย ในส่วนของวัดสดุ สวาทด์ินั้น ว่ากนั วา่ เปน็ วัดที่เก่าแก่สร้างในสมัยเดียวกับวดั นางพญา โดยวดั สดุ สวาทดน์ิ ั้นเป็นวัดท่ีกษัตริยผ์ ู้ปกครองเมืองพิษณุโลกสร้างให้กับมเหสีที่รักมากทส่ี ุด จงึ ต้ังช่ือให้ว่า \"สุดสวาท\" และมีการสรา้ งพระนางสุดสวาสด์ิขนึ้ มาดว้ ย พุทธคุณเท่ากบั พระนางพญา วดั นางพญา ในส่วนของวัดวังหินนั้น ถือว่าเป็นวัดท่ีมีความสาคัญทางด้านการทหารในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชอย่างมาก เนื่องจากเป็นวัดท่ีใช้ในการจัดทัพและปลุกขวัญกาลังใจให้กับทหาร กาลังพลก่อนท่ีจะทาการออกศึก โดยวัดนี้ ก็มีการจัดสร้างพระเครื่องที่เช่ือกันว่าถูกสร้างโดยพระนเรศวรด้วย คือ ลีลาวังหิน โดดเดน่ ทางด้าน คงกระพันชาตรสมัยกรุงธนบรุ ี สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเห็นว่าพิษณุโลกเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สาคัญ ควรมีผู้ท่ีเข้มแข็งที่มีความสามารถเป็นเจ้าเมือง จึงทรงแต่งตั้งเจ้าพระยายมราช (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) เป็นเจ้าพระยาสุรสหี ์พิษณวุ าธริ าชสาเรจ็ ราชการเมืองพษิ ณุโลกโดยข้นึ ต่อกรุงธนบรุ ี เมื่อได้ทรงแต่งต้งั ผปู้ กครองหัวเมืองฝา่ ยเหนือจนครบถ้วนแลว้ จึงเสด็จกลับไปยงั กรงุ ธนบรุ ี พ.ศ. 2318 อะแซหวนุ่ ก้ี แม่ทัพพม่าผู้ชานาญการรบ ไดว้ างแผนยกทัพมาตีหัวเมืองฝา่ ยเหนอื ของไทยตีได้เมืองตาก เมืองสวรรคโลก บ้านกงธานี และมาพักกองทัพอยู่ที่กรุงสุโขทัย ขณะนั้นเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์กาลังยกกองทัพข้ึนไปตเี ชียงแสน เม่ือทราบข่าวข้าศึก จึงรีบยกทัพกลับมารับทัพพม่าท่ีเมืองพษิ ณุโลก ก่อนทอี่ ะแซหวุ่นกี้ยกทพั มาตง้ั คา่ ยล้อมเมอื งพิษณุโลก กองทัพพม่าพยายามเข้าตีค่ายไทยหลายครั้ง แต่เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ได้ช่วยป้องกันเมืองเป็นสามารถ ทั้งที่ทหารน้อยกวา่ แต่ไม่สามารถชนะกันได้ อะแซหวุ่นกี้ถึงกับกล่าวยกย่องแม่ทัพฝ่ายไทยเม่ือสมเด็จพระเจา้ กรุงธนบุรีทรงทราบข่าวอะแซหวุ่นก้ยี กกองทัพใหญ่มาตีหัวเมืองฝ่ายเหนอื ของไทย จึงทรงยกทัพใหญ่ข้นึ ไปชว่ ยทันที ฝ่ายอะแซหวุ่นกที้ ราบข่าววา่ กองทัพไทยมาตงั้ คา่ ยเพื่อช่วยเหลอื เมืองพิษณโุ ลก จึงแบ่งกาลังพลไปตั้งมั่นท่ีวัดจุฬามณีฝ่ังตะวันตก อะแซหวุ่นกี้เห็นว่าถ้าชักช้าไม่ทันการณ์จึงสั่งให้ทัพพม่าท่ีกรุงสุโขทัยไปตีเมืองกาแพงเพชร ส่วนกองทัพเมืองกาแพงเพชรไปตีเมืองนครสวรรค์ และสั่งให้กองทัพพม่าอีก

63ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐กองทัพหน่ึงยกไปตีกรุงธนบุรี การวางแผนของอะแซหวุ่นก้ีเช่นน้ี เป็นการตัดกาลังฝ่ายไทยไม่ให้ช่วยเมืองพษิ ณุโลกและตอ้ งการให้กองทัพไทยระส่าระสาย ในที่สดุ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมีพระราชดาริเห็นว่า ไทยเสียเปรียบเพราะมีกาลังทหารน้อยกว่า จึงควรถอยทัพกลับไปต้ังม่ันรับทัพพม่าที่กรุงธนบุรี เจ้าพระยาจักรีเห็นว่าไทยขาดเสบียงอาหารและใกล้จะหมดทางสู้ จึงตัดสินใจพาไพร่พลและประชาชนชายหญิงท้ังหมด ตีหักค่ายพม่าออกจากเมืองพิษณุโลกไปทางทิศตะวนั ออกไดส้ าเร็จ พาทัพผ่าน บา้ นมงุ บ้านดงชมพู ขา้ มเขาบรรทดั ไปต้งั รวมร้ีพลอยทู่ ีเ่ มอื งเพชรบรู ณ์ พมา่ ลอ้ มเมืองพิษณโุ ลกนานถึง 4 เดือน เมื่อเข้าเมอื งได้ กพ็ บแตเ่ มอื งรา้ ง อะแซหวุ่นกี้จึงสัง่ เผาผลาญทาลายบา้ นเมอื งพษิ ณโุ ลกพินาศจนหมดส้นิ คงเหลือเฉพาะวัดพระศรีรัตนมหาธาตเุ ทา่ นัน้สมัยรตั นโกสินทร์ เมืองพิษณุโลกมีฐานะเป็นเมืองเอกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในหัวเมืองฝ่ายเหนือของไทย มีประชากรประมาณ 55,000 คน เปน็ ชาวจีนประมาณ 1,112 คน และมีเมืองตา่ ง ๆ อยู่ในอานาจการปกครองดูแลหลายหัวเมืองด้วยกัน เชน่ เมืองนครไทย ไทยบรุ ี ศรภี ิรมย์ พรหมพริ าม ชมุ สรสาแดง ชุมแสงสงครามพพิ ัฒน์ นครชุมทศการ นครพามาก เมืองการ เมอื งคา ประชาชนส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพสาคัญ คือ ทานา ทาไร่ หาของป่าและทาไม้ พ.ศ. 2409 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระอตุ สาหะเสด็จประพาสเมืองเหนอื อกี ครั้งหน่ึง โดยเสด็จทางเรือพระท่นี ่ังอรรคราชวรเดช และพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวขณะนั้นกาลังผนวชเป็นสามเณรก็ไดต้ ามเสดจ็ มาด้วย เมอื่ เสด็จถึง ก็ไดท้ รงประทับและทรงสมโภชพระพทุ ธชนิ ราชอยู่ 2 วันจึงเสด็จกลับ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (เม่ือคร้ังยังดารงพระยศเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช) ได้เสด็จประพาสเมืองพิษณุโลกทุกพระองค์ ได้ทรงพระราชนิพนธ์เร่ืองต่าง ๆ ที่พระองค์ได้เสด็จไปทอดพระเนตรในระหว่างเสด็จประพาส เชน่ เร่ืองเที่ยวเมืองพระรว่ ง พระราชปรารภเรือ่ งพระพุทธชินราชและเร่ืองลิลิตพายัพเป็นต้น เอกสารดังกล่าวเหล่าน้ีปัจจุบันมีคุณค่าอย่างยง่ิ ทางด้านประวัติศาสตร์ ส่วนรัชกาลที่ 5 น้ัน พระองค์ทรงประทับพระทัยในความศักดิ์สทิ ธแิ์ ละความสวยงามขององค์พระพุทธชินราช ถงึ กบั โปรดเกล้าฯ ใหจ้ าลองพระพุทธรปู พระพุทธชนิ ราชไปเป็นพระประธานในพระอุโบสถวดั เบญจมบพิตร ซ่ึงพระองค์ทรงสรา้ งขน้ึ ในสมยัน้ัน

64ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ คร้ังเม่ือสงครามโลกครั้งท่ีสอง สะพานข้ามแม่น้าน่านหนา้ วดั ใหญก่ ็ถูกท้ิงระเบิด แต่ท้ิงเทา่ ไหร่กไ็ ม่ถูกเป้าหมาย ทั้ง ๆ ทใี่ นอดีต เปน็ สะพานไม้ท่ใี หญท่ ่สี ดุ ของจงั หวดั พษิ ณุโลกภูมศิ ำสตร์ท่ีตง้ั และอำณำเขต จังหวดั พิษณุโลกตง้ั อยภู่ าคเหนือตอนลา่ งและอยู่ในเขตภาคกลางตอนบนสุดของประเทศไทย เรียกกันว่า \"เหนือล่างกลางบน\" ห่างจากกรุงเทพมหานคร 368 กม. มีเน้ือท่ีท้ังหมดประมาณ 10,815 ตร.กม. หรือ6,759,909 ไร่ มอี าณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั อาเภอพิชัย อาเภอทองแสนขัน และอาเภอน้าปาด (จงั หวดั อุตรดิตถ)์ และ แขวงไชยบรุ ี ประเทศลาวทิศใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอเมืองพิจติ ร อาเภอวชิรบารมี อาเภอสามง่าม และอาเภอสากเหล็ก (จงั หวดั พิจติ ร)ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกับ อาเภอหล่มสัก อาเภอเขาค้อ อาเภอวังโป่ง (จังหวัดเพชรบูรณ์) อาเภอ ดา่ นซ้าย และอาเภอนาแห้ว (จงั หวัดเลย)ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ อาเภอกงไกรลาศ อาเภอศรสี าโรง (จงั หวดั สโุ ขทัย) และอาเภอลานกระบือ (จงั หวัดกาแพงเพชร)ภมู ปิ ระเทศและภูมิอำกำศ ทางตอนเหนือและตอนกลางเป็นเขตเทือกเขาสูงและท่ีราบสูง โดยมีเขตภูเขาสูงด้านตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงอยู่ในเขตอาเภอวังทอง อาเภอวัดโบสถ์ อาเภอเนินมะปรางอาเภอนครไทย และอาเภอชาติตระการพนื้ ที่ตอนกลางมาทางใตเ้ ป็นท่รี าบ และตอนใต้เป็นท่ีราบลุ่ม โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่นา้ นา่ นและแม่นา้ ยม ซ่ึงเป็นแหลง่ การเกษตรที่สาคัญท่ีสุดของจังหวดั พิษณโุ ลก อยู่ในเขตอาเภอบางระกา อาเภอเมอื งพษิ ณุโลก อาเภอพรหมพริ าม อาเภอเนนิ มะปราง และบางส่วนของอาเภอวังทอง จงั หวดั พิษณุโลกมีลมมรสุมพัดผา่ นจากทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอนิ เดยี และแบง่ ฤดูกาลออกได้เป็น3 ฤดูฤดรู ้อน ประมาณเดอื นกมุ ภาพนั ธ์-เมษายน อณุ หภมู เิ ฉลีย่ ประมาณ 32 องศาเซลเซยี ส

65ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ฤดูฝน จะเริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ปริมาณน้าฝน เฉลี่ยประมาณปีละ 1,375ฤดูหนาว มลิ ลิเมตร ต้งั แต่เดือนพฤศจกิ ายน-มกราคม อณุ หภูมิเฉลยี่ ประมาณ 19 องศาเซลเซยี ส

66ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐รำยนำมผูว้ ่ำรำชกำรจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ช่ือ ระยะเวลำทำงำน1. พระบริรกั ษโ์ ยธี (ทองอยู่ สุวรรณบาตร์)2. พระไชยศิรินทรภักดี 2456-24573. พระพิษณโุ ลกบรุ ี (สวัสดิ์ มหากาย)ี 2457-24584. พระเกษตรสงคราม 2458-24595. พระสวรรคโลกบุรี 2459-24616. พระยากัลยาวัฒนาวศิ ิษฐ์ (เชียร กัลยาณมิตร) 2461-24707. พระยาสนุ ทรพพิ ิธ (เชย มฆั วบิ ลู ย)์ 2470-24768. พระยาศริ ชี ัยบุรินทร์ 12 มนี าคม 2456 – 1 กรกฎาคม 24769. พระสาครบุรานรุ กั ษ์ (เปลอ้ื ง สุวรรณนานนท)์ 20 มนี าคม 2478 – 18 พฤษภาคม 248110. พระยาสรุ าษฎรธ์ านศี รเี กษตรนิคม 10 มถิ ุนายน 2481 – 18 มถิ ุนายน 248211. พระหลวงยทุ ธสารประสทิ ธ์ิ (เมย้ี น โรหิตเสรน)ี 24 มถิ ุนายน 2482 – 7กรกฎาคม 248312. พ.อ.พระศรีราชสงคราม (ศรี ศุขะวาที) 7 กนั ยายน 2483 – 7 พฤษภาคม 248413. พ.ต.หลวงยุทธสารประสทิ ธ์ิ (เมย้ี น โรหติ เสรน)ี 16 มถิ ุนายน 2484-27 กรกฎาคม 248514. หลวงวิเศษ ภกั ดี (ชน่ื วเิ ศษภกั ดี) 28 เมษายน 2485 – 3 มกราคม 248715. หลวงศรีนราศัย (ผวิ จนั ทิมาคม) 11 พฤษภาคม 2487 – 7 กรกฎาคม 248816. นายพรหม สูตรสุคนธ์ 7 กรกฎาคม 2488 – 7 ตุลาคม 248917. ขุนคานวณวจิ ิตร (เชย บุนนาค) 18 พฤศจิกายน 2489 – 6 ธนั วาคม 249018. ขนุ จรรยาวเิ ศษ (เท่ยี ง บุณยนติ ) 6 ธนั วาคม 2490 – 31 ธนั วาคม 249319. นายพว่ ง สวุ รรณรัฐ 1 มกราคม 2494 – 10 พฤศจกิ ายน 249420. พต.ขนุ ทะยานราญรอน (วัชระ วชั รบูล) 12 กมุ ภาพันธ์ 2494 – 1 พฤศจิกายน21. พระบรรณศาสตรส์ าทร 1 กุมภาพันธ์ 2497 – 1 สงิ หาคม 249722. นายปรง พระหชู นม์ 1 สงิ หาคม 2497 – 22 กมุ ภาพันธ์ 250123. นายพว่ ง สวุ รรณรัฐ (รักษาการในตาแหนง่ ผ.ว.ก.จว.) 14 กุมภาพนั ธ์ 2501 – 3 มนี าคม 250124. นายเยยี น โพธสิ ุวรรณ 27 มีนาคม 2501 – 3 เมษายน 250725. นายเจริญ ภมรบตุ ร 9 เมษายน 2507 – 4 กุมภาพนั ธ์ 250926. นายนิรตุ ไชยกลู 11 กุมภาพนั ธ์ 2509 – 21 ตุลาคม 2510

67ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐รำยนำมผ้วู ่ำรำชกำรจังหวัดพิษณโุ ลก (ต่อ) ระยะเวลำทำงำน 21 พฤศจกิ ายน 2510 – 2 ตลุ าคม 2513 ช่ือ 2 ตลุ าคม 2513 – 21 กันยายน 2514 27. นายพล จุฑางกลู 1 ตุลาคม 2514 – 1 ตุลาคม 2515 28. นายพฒั น์ บุณยรัตพนั ธ์ุ 1 ตลุ าคม 2515 – 30 กนั ยายน 2517 29. นายจารูญ ปยิ ัมปุตระ 1 ตลุ าคม 2517 – 30 กันยายน 2519 30. พล.ต.ต.สามารถ วายวานนท์ 1 ตลุ าคม 2519 – 30 กนั ยายน 2523 31. นายสิทธเิ ดช นรัตถรักษา 1 ตุลาคม 2523 – 30 กนั ยายน 2525 32. นายชาญ กาญจนาคพนั ธ์ุ 1 ตุลาคม 2525 – 31 ตลุ าคม 2528 33. นายยง ภกั ดี 1 พฤศจิกายน 2528 – 30 กันยายน 2532 34. นายสบื รอดประเสริฐ 1 ตุลาคม 2532 - 30 กันยายน 2534 35. นายนพรตั น์ เวชชศาสตร์ 1 ตลุ าคม 2534 – 30 กันยายน 2536 36. นายไพฑรู ย์ สุนทรวิภาต 1 ตลุ าคม 2536 – 30 กนั ยายน 2539 37. นายอภัย จนั ทนจุลกะ 1 ตุลาคม 2539 – 30 กนั ยายน 2542 38. นายสวัสดิ์ สง่ สัมพนั ธ์ 1 ตุลาคม 2542 – 30 กันยายน 2545 39. นายนธิ ิศกั ดิ ราชพิตร 1 ตลุ าคม 2545 - 30 กนั ยายน 2550 40. นายวิจารณ์ ไชยนันท์ 1 ตลุ าคม 2550 - 15 มนี าคม 2552 41. นายพิพฒั น์ วงศาโรจน์ 16 มีนาคม 2552 - 27 เมษายน 2555 42. นายสมบรู ณ์ ศรพี ัฒนาวัฒน์ 27 เมษายน 2555 - 7 ตุลาคม 2555 43. นายปรชี า เรืองจนั ทร์ 8 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556 44. นายชัยโรจน์ มีแดง 1 ตลุ าคม 2556 - 30 กันยายน 2557 45. นายปรีชา เรอื งจันทร์ 1 ตลุ าคม 2557 - 30 กันยายน 2558 46. นายระพี ผอ่ งบพุ กจิ 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559 47. นายจักรนิ เปลยี่ นวงษ์ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 48. นายชชู าติ กีฬาแปง 1 ตลุ าคม 2560 - ปจั จุบัน 49. นายศภุ ชัย เอี่ยมสวุ รรณ 50. นายภคั พงศ์ ทวิพัฒน์

68ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐กำรศึกษำ จังหวัดพิษณุโลกเป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง มีสถานศึกษามากมายทุกระดับตงั้ แต่อนบุ าลจนถงึ ระดบั มหาวิทยาลัยทง้ั รฐั บาล และเอกชนดงั นี้อดุ มศกึ ษำ มหาวิทยาลยั นเรศวร

69ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงครามมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตพษิ ณโุ ลก

70ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วิทยาลยั สงฆพ์ ทุ ธชนิ ราช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมหาวิทยาลยั พิษณโุ ลก

71ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วิทยาลยั ทองสขุ ศูนยก์ ารศึกษาพษิ ณุโลกวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี

72ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธรวิทยาลยั แคมบรดิ จ์ ประเทศไทย

73ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ ศนู ย์จงั หวดั พษิ ณโุ ลกอำชีวศึกษำ วิทยาลยั อาชวี ศึกษา จังหวดั พษิ ณุโลก

74ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วทิ ยาลัยเทคนิคพษิ ณโุ ลกวิทยาลัยเทคนคิ สองแคว

75ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วทิ ยาลยั พณชิ ยการบงึ พระพษิ ณโุ ลกวิทยาลยั สารพัดช่างพษิ ณโุ ลก

76ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วทิ ยาลัยการอาชพี นครไทยวิทยาลัยบริหารธรุ กจิ และเทคโนโลยพี ษิ ณโุ ลก

77ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาพณชิ ยการพิษณุโลก

78ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐กำรขนสง่ จากลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ทาให้จังหวดั พิษณุโลกเป็นจุดศูนยก์ ลางในดา้ นคมนาคมของ ภูมิภาคอินโดจีน โดยเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างภาคกลางกับภาคเหนือ รวมท้ังภาคเหนือกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยจงั หวัดพิษณุโลกจึงไดร้ ับการขนานนามว่าเป็น \"เมอื งบริการส่ีแยกอินโดจีน\" โดยสามารถเดินทางได้โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (แม่สอด-มุกดาหาร) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 11 (อินทร์บุรี-เชียงใหม่) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 (พิษณุโลก-นครสวรรค์) โดยทางหลวงท้ัง 3 สายเชื่อมโยงกันด้วยโครงข่ายถนนวงแหวนรอบเมืองพษิ ณุโลก โดยทง้ั น้ีจังหวดั พิษณโุ ลกมสี ถานขี นสง่ ผ้โู ดยสาร 2 แห่งด้วยกัน สถานีขนส่งผ้โู ดยสารแหง่ ท่ี 1 ต้ังอยภู่ ายในตวั เมอื ง สาหรับรถโดยสารทว่ี ิ่งบริเวณจงั หวัดที่ ใกลเ้ คียง สถานีขนส่งผู้โดยสารแห่งท่ี 2 ตั้งอยู่บริเวณส่ีแยกอินโดจีน เป็นสถานีขนส่งผู้โดยสารที่มีขนาด ใหญ่ท่ีสุดในภาคเหนือ ก่อสร้างบนเน้ือที่ 10 ไร 12 ตารางวา รองรับรถโดยสารที่มีเส้นทางผ่านจังหวัดพิษณุโลกรวม 20 เส้นทาง มีชานชาลาสาหรบั จอดรถโดยสารท้ังหมด 40 ชอ่ ง แบ่งเป็นอาคารสถานฯี หลังใหญ่ จานวน20 ช่อง อาคารสถานีฯหลงั เล็ก จานวน 20 ช่อง มีช่องจาหน่ายต๋ัว 27 ช่อง มีสถานทีจ่ อดรถสาหรบั ประชาชนจานวน 100 ช่อง มีการจดั สถานทนี่ ่งั รอรถ สาหรับพระภกิ ษุและประชาชนอย่างเพียงพอ นอกจากการคมนาคมทางรถยนต์แล้ว การเดินทางมาจังหวัดพิษณุโลกยังสามารถมาด้วย รถไฟ หรือเคร่ืองบิน โดยท่ีท่าอากาศยานพิษณุโลก มีเคร่ืองบินมีสายการบินนกแอร์ ไทยแอร์เอเชีย และ กานต์แอร์ มีเทีย่ วบินมาลงท่าอากาศยานพิษณโุ ลกทกุ วนั สว่ นการเดนิ ทางภายในตวั จงั หวัดนัน้ จะมีรถโดยสารสองแถวสมี ่วง กับรถโดยสารประจาทาง มินิบสั สีม่วง วิง่ ให้บริการหลายสายสำธำรณสขุ จังหวัดพิษณุโลกมีสถานบริการที่หลากหลาย ตั้งแต่สถานีอนามัย ศูนย์สุขภาพชุมชน คลินิกโรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลทหาร โรงพยาบาลเอกชน และโรงพยาบาลระดบั มหาวิทยาลัย โดยมโี รงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุขประจาจังหวัดและประจาภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างคือ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณโุ ลก และมีโรงพยาบาลมหาวิทยาลยั ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ ซง่ึ เปน็ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ

79ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ขั้นสูงของภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างก็คือ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหม คอื โรงพยาบาลคา่ ยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และโรงพยาบาลกองบิน 46สถำนทที่ ่องเทีย่ วสถำนทพ่ี ักผอ่ นหย่อนใจ สวนเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา (แยกเรือนแพ)

80ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ พิษณโุ ลก เซ็นทรัลปารค์ (บรเิ วณสถานีตารวจภธู รเมืองพษิ ณโุ ลก) (โครงการกอ่ สรา้ ง)อาเภอเมืองพิษณโุ ลก วัดพระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร

81ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ พระราชวังจันทน์ (ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช)มหาวิหารสมเดจ็ องคป์ ฐม (วัดจันทรต์ ะวนั ตก)

82ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ พิพิธภัณฑพ์ ้นื บ้านจา่ ทวี (จา่ สิบเอกทวี-พิมพ์ บูรณเขตต)์โรงหล่อพระบรู ณะไทย

83ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ สวนนกไทยศกึ ษาเซ็นทรัลพลาซ่าพษิ ณุโลก

84ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วัดนางพญาวัดนางพญา

85ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐อาเภอบางระกา สวนนา้ สแปลชฟันปารค์ (สถานทีพ่ ักผ่อนหยอ่ นใจ)อาเภอวังทอง สวนสาธารณะบึงราชนก (ส่องนกชมดาว)

86ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ สวนรุกขชาติสกโุ ณทยาน (นา้ ตกวังนกแอน่ )น้าตกปอย

87ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ น้าตกแก่งซองนา้ ตกแก่งโสภา

88ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ อุทยานแหง่ ชาตทิ ุง่ แสลงหลวงวนอทุ ยานเขาพนมทอง ตาบลพนั ชาลี

89ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วัดราชคีรหี ิรัญยารามอทุ ยานแห่งชาติภแู ดงร้อน

90ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ วัดพระพุทธบาทเขาสมอแคลงโรงเจไซทีฮกุ ตง้ึ

91ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ พระมหาธาตุเจดยี ์ศรบี วรชินรตั น์วดั วงั ทองวราราม

92ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ สถปู พระยาสาลีรฐั วภิ าคอาเภอนครไทย อุทยานแหง่ ชาตทิ งุ่ แสลงหลวง

93ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ อทุ ยานแห่งชาตภิ หู ินรอ่ งกลา้อนสุ าวรยี พ์ ่อขุนบางกลางทา่ ว (หาว)

94ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐อาเภอวัดโบสถ์ เขื่อนแควนอ้ ยบารงุ แดนอุทยานแห่งชาตแิ ก่งเจด็ แคว

95ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ เขตหา้ มลา่ สัตว์ป่าเขาน้อย-เขาประดู่อาเภอชาติตระการ อทุ ยานแหง่ ชาตนิ ้าตกชาติตระการ

96ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ นา้ ตกนาจานอุทยานแห่งชาติภสู อยดาว

97ข้อมลู สถานศกึ ษา วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก ปี ๒๕๖๐ นา้ ตกตาดปลากง้ัอาเภอเนินมะปราง เขตหา้ มล่าสตั วป์ ่าถา้ ผาท่าพล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook