Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนแผนการฝึกอาชีพ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนแผนการฝึกอาชีพ

Published by abhichat.a, 2019-07-24 02:47:58

Description: หลักสูตรครูฝึกในสถานประกอบการ

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 ใบเนื้อหาที่ 3.1 การจดั ฝกึ อาชพี (Training Management) ● ความสาคญั ของแผนการฝึกอาชีพ แผนการฝกึ อาชีพ หมายถึง แผนงานของครฝู กึ เพอ่ื เตรยี มงานการฝึกอาชีพให้นักเรยี น นกั ศกึ ษาระบบทวิ ภาคี มคี วามรู้ ความสามารถในอาชพี ตรงตามวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายที่สถานประกอบการกาหนดไว้ โดย สอดคล้องกบั สมรรถนะวิชาชีพ และรายวชิ าในหลักสตู ร การจัดฝึกอาชีพหากไม่มแี ผนการฝกึ อาชพี หรือมีแต่ไม่ไดจ้ ัดทาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ จะสง่ ผลให้การฝึก อาชีพของนักศึกษาขาดประสิทธภิ าพ และสง่ ผลใหค้ ณุ ภาพของผู้สาเร็จการศกึ ษาระบบทวภิ าคีลดลง ซงึ่ แผนการฝกึ อาชีพจะระบถุ งึ ▪ จะฝึกอะไรบ้าง ? ▪ ใชเ้ วลาฝึกเทา่ ไร ? ▪ ฝกึ ท่ไี หน ? ▪ ฝึกอยา่ งไร ? ● ภารกจิ ของสถานประกอบการ สถานศึกษา และครฝู กึ ในการจัดฝึกอาชีพของการศึกษาระบบทวิภาคี การจัดฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการของนักศึกษาทวิภาคี เปน็ ความรว่ มมือระหว่าง สถาน ประกอบการกบั สถานศึกษา ซง่ึ มีกจิ กรรมทดี่ าเนินการรว่ มกนั คือ 1. กาหนดหน่วยกิตที่จะฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ 2. วเิ คราะหง์ านในสถานประกอบการ 3. กาหนดงานในสถานประกอบการเปน็ รายวชิ าปฏิบตั ติ ามหลักสูตร โดยมี • สมรรถนะที่ฝกึ ในสถานประกอบการ • เรอ่ื งทีต่ ้องเรยี นเพ่มิ ในสถานศกึ ษา 3. กาหนดระยะเวลา รปู แบบ และวธิ กี ารฝกึ 4. กาหนดกฎระเบยี บการฝกึ ในสว่ นของครฝู กึ ซ่งึ เป็นบคุ ลากรของสถานประกอบการ รวมไปถึงพีเ่ ลี้ยงทีช่ ว่ ยฝกึ นกั ศกึ ษา มหี น้าท่ี 1. ศึกษาสมรรถนะอาชีพทีก่ าหนดในการฝกึ อาชีพ 2. เขียนแผนการฝกึ อาชีพ 3. ดาเนินการฝึกอาชีพ 4. ประเมินผลการฝึกอาชพี 5. สับเปล่ียนงานจนครบตามงานและระยะเวลาทีก่ าหนดในแผนการฝึก

รปู แบบการจดั ฝึกอาชพี ตามระดับการศึกษา ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) มุ่งเน้นผลติ ผู้มีความรู้ความเข้าใจและทกั ษะในระดับฝีมือ (Skill) มีสมรรถนะทสี่ ามารถปฏิบัตงิ านอาชพี ได้จรงิ ซึง่ หลักสูตรกาหนดให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รียนและฝึกปฏิบัติงานอาชพี ครอบคลมุ สาขาวชิ า เชน่ สาขาวิชาการโรงแรม หลกั สูตรกาหนดใหศ้ กึ ษา งานครัวโรงแรม งานแม่บา้ นโรงแรม งาน บริการอาหารและเครอ่ื งด่ืม ภตั ตาคารและการจดั เลย้ี ง เครือ่ งดม่ื และการผสมเครื่องดม่ื งานสว่ นหน้าโรงแรม ดังนน้ั ในการจดั ฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการจงึ ต้องมกี ารเปลี่ยนงานฝึกไปตามแผนกงานตา่ งๆ ให้สอดคลอ้ งกับ หลกั สูตร ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) มงุ่ เน้นผลติ ผู้มีความรู้ความเข้าใจและทกั ษะในระดับเทคนคิ (Technic) สามารถปฏบิ ัตงิ านทีใ่ ช้เทคนคิ ควบคุมการทางาน การจัดฝึกอาชีพจะเนน้ ไปทง่ี านเฉพาะตาแหน่ง และ เนน้ การควบคุมการทางาน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ (ทล.บ.) ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัติการ (ทล.บ.) มุ่งเน้นผลติ ผู้มคี วามรอบรูแ้ ละมีสมรรถนะใน การปฏบิ ตั ิ และพัฒนางานระดับเทคโนโลยี การจัดฝึกอาชีพจงึ เน้นการพัฒนางานให้มปี ระสทิ ธิภาพสงู ขนึ้ หรือ พฒั นานวตั กรรมในการผลติ เพือ่ เพมิ่ มูลค่า ● รปู แบบและวิธีการจัดฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ การจัดฝกึ อาชีพในสถานประกอบการนนั้ สถานศึกษาสามารถกาหนดรูปแบบการฝึกอาชีพ ได้ดังนี้ 1. การจดั ฝึกอาชีพแบบฝึกเปน็ ช่วง (Block Release) เปน็ การเรียนหรอื ฝึกให้จบเปน็ เรื่องๆ และเป็นระบบที่ กาหนดใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษาไปเรยี นทฤษฎใี นสถานศกึ ษาในชว่ งเวลาทกี่ าหนดระหวา่ งการฝึกอาชพี ในสถาน ประกอบการ 2. การจดั ฝึกอาชพี แบบฝึกเป็นวนั (Day Release) เปน็ ระบบท่ีกาหนดให้นักเรยี น นักศกึ ษากลบั ไปเรียน ทฤษฎใี นสถานศกึ ษา สปั ดาห์ละ 1 – 2 วนั 3. การจัดฝึกอาชพี แบบอ่นื ๆ เชน่ การฝึกอาชีพแบบผสม การฝึกอาชีพนอกเวลาเรียน (ในภาคคา่ และวนั เสาร์) การฝึกอาชพี แบบโมดลู เป็นต้น สว่ นวิธีการฝึกในสถานประกอบการ จะใชว้ ธิ ีการอบรมในงาน (On the Job Training) ซ่ึงเปน็ วธิ กี ารที่ เหมาะสมกับสถานประกอบการ และขอ้ กาหนด ISO 9001 การฝกึ อบรมในงานการฝึกอบรมในงาน (on the job training) คอื การเรียนรงู้ านโดยการสงั เกตการทางานของพนักงานทม่ี ีความชานาญและลงมือปฏบิ ัติจริง องคก์ ร ต้องกาหนดว่าต้องมที ักษะอะไรบ้างทจ่ี า เป็นในงาน หลงั จากนั้นองค์กรมีหน้าทใี่ นการจัดใหพ้ นกั งานมที ักษะตามท่ี กาหนด การฝกึ อาชีพแบบ On the Job Training (OJT) คอื การฝึกการปฏิบตั ิงานจรงิ โดยมผี ู้ชานาญงานน้นั เป็นครูฝึก คอยดแู ลการฝึกงานของผู้เข้ารบั การ ฝึกอบรม ซ่ึงการฝกึ อบรมแบบ On the Job Training จะไมเ่ น้นการเรยี นทฤษฎีมากนกั แต่ม่งุ เน้นไปในทาง ฝึกปฏิบัติ ทาใหก้ ารฝกึ อบรมแบบน้ี มีความสามารถในการสร้างความรู้ความเข้าใจ เหมาะกบั การปฏิบตั งิ านโดยตรง เพราะเห็นผลในระยะสนั้ ค่อนข้างชดั เจน ต้นทนุ ตา่ แตก่ ็ไม่ควรท่ีจะใหม้ ีจานวนผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมากเกนิ ไป

เพราะอาจจะทาให้เกดิ การดูแลของผู้ฝึกสอนไม่ทว่ั ถึง อาจทาให้เกิดการบกพร่องในการปฏบิ ัติงาน ในการฝกึ สถาน ประกอบการจะมอบหมายให้พนักงานประจาในหน้าทีเ่ ป็นพีเ่ ลีย้ ง (Mentor) และครฝู ึกทาหนา้ ทเ่ี ป็นโค้ช (Coach) การฝกึ อาชพี แบบ On the Job Training (OJT) จะมีกระบวนการคอื 1. พิจารณาวา่ มหี นว่ ยงานใดท่ตี ้องเกีย่ วขอ้ งกบั การฝึกอบรมในงาน 2. จัดทารายการทักษะท่ตี อ้ งเรียนรใู้ นการปฏบิ ัตงิ านและวิธกี ารวัดผล 3. กาหนดโปรแกรมการฝึกอาชีพสาหรับนกั ศึกษาแต่ละคน 4. จัดทาคมู่ อื หรือเอกสารการฝึกอบรมในงาน 5. จดั ทาระบบรายงานของนกั ศกึ ษาระหวา่ งฝึก และสน้ิ สุดการฝกึ การฝึกอบรมนอกงาน (Off the Job Training) เปน็ การฝึกอบรมที่เนน้ ความรู้ ความเข้าใจ โดยการจดั ฝึกอบรมอย่างเป็นทางการในห้อง หรือใน สถานการณจ์ าลอง ไมใ่ ช่การเรียนร้แู บบปฏิบตั งิ านจรงิ ซง่ึ การฝกึ อบรมประเภทนจ้ี ะใหค้ วามรู้ ผู้เข้าอบรมได้ มากกวา่ การอบรมแบบ On the Job Training เพราะผเู้ ขา้ อบรมสามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเต็มที่ จงึ เหมาะสมกับให้ ความรู้นักศกึ ษาเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพการฝึกปฏบิ ัติ และเพือ่ สรา้ งความรู้ความเข้าใจในงาน ซึ่งอาจทาไดท้ ง้ั สถาน ประกอบการจดั ฝึกอบรมเอง และครูจากสถานศึกษาไปใหค้ วามร้เู พิ่มเติมในสถานประกอบการ ในการฝกึ อาชพี นักศึกษาทวิภาคีสถานศึกษาควรรว่ มกบั สถานประกอบการจัดช่วั โมงให้ครมู าสอนให้ ความรู้และเปน็ การนเิ ทศอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 2 ชวั่ โมง เพ่ือเป็นการจดั การเรยี นเสริมใหน้ ักศึกษาทวิภาคีมี สมรรถนะมากกวา่ การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี หรือฝึกงานปกติ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 ใบเนอ้ื หาที่ 3.2 โครงหลกั สตู รและการจัดรายวิชาทวภิ าคี ● โครงสร้างหลักสูตร ⮚ โครงสรา้ งของหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2556 แบง่ เป็น 3 หมวดวชิ า และกิจกรรมเสริม หลักสูตร รวมไมน่ อ้ ยกว่า 103 หน่วยกิต ดังนี้ 1 หมวดวิชาทักษะชีวิต 1.1 กล่มุ วชิ าภาษาไทย 1.2 กลุม่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ 1.3 กล่มุ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1.4 กลมุ่ วิชาคณิตศาสตร์ 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศกึ ษา 1.6 กลมุ่ วชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 หมวดวิชาทกั ษะวิชาชพี 2.1 กลุ่มทกั ษะวิชาชีพพน้ื ฐาน 2.2 กลมุ่ ทกั ษะวิชาชีพเฉพาะ 2.3 กลุ่มทักษะวชิ าชพี เลือก (ทวภิ าคี) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพ 2.5 โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร การฝึกประสบการณท์ ักษะวิชาชีพ เปน็ การจัดกระบวนการเรยี นรูโ้ ดยความรว่ มมอื ระหวา่ ง สถานศกึ ษา อาชวี ศึกษาหรอื สถาบนั กบั ภาคการผลิตและหรือภาคบรกิ าร หลงั จากท่ีผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ภาคทฤษฎแี ละการฝกึ หดั หรอื ฝึกปฏิบตั เิ บอื้ งต้นใน สถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรอื สถาบัน แลว้ ระยะเวลาหน่งึ ทง้ั นี้ เพือ่ เปดิ โอกาสให้ ผเู้ รยี นได้เรยี นร้จู ากประสบการณจ์ รงิ ไดส้ ัมผัสกับการปฏบิ ัตงิ านอาชพี เครือ่ งมอื เคร่ืองจักร อปุ กรณท์ ี่ทันสมยั และ บรรยากาศการทางานร่วมกนั ส่งเสริมการฝกึ ทักษะ กระบวนการคดิ การจัดการ การเผชญิ สถานการณซ์ ่งึ จะช่วยให้ ผูเ้ รยี นทาได้ คิดเปน็ ทาเปน็ และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนอ่ื ง ตลอดจนเกดิ ความม่ันใจและเจตคติที่ดีในการทางานและ การประกอบอาชีพอิสระ โดยการจดั ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชพี ต้องดาเนนิ การ ดงั นี้ 1 สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาหรอื สถาบัน ตอ้ งจัดใหม้ ีการฝกึ ประสบการณท์ ักษะวชิ าชพี ในรปู ของการฝกึ งาน ในสถานประ กอบการ แหลง่ วิทยาการ รฐั วสิ าหกิจหรอื หน่วยงานของรฐั โดยใชเ้ วลารวมไมน่ ้อยกว่า 320 ช่ัวโมง กาหนดให้มคี ่าเทา่ กบั 4 หนว่ ยกติ กรณีสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ตอ้ งการเพม่ิ พนู ประสบการณท์ กั ษะ วชิ าชพี สามารถนารายวชิ าในหมวด วิชาทกั ษะ วิชาชีพ ทีต่ รงหรือสัมพนั ธ์กบั ลักษณะงาน ไปเรียนหรือฝกึ ในสถาน ประกอบการ รัฐวสิ าหกิจหรอื หนว่ ยงานของรฐั ได้ โดยใช้เวลารวมกบั การฝกึ ประสบการณท์ ักษะวิชาชีพ ไมน่ ้อย กวา่ 1 ภาคเรียน

2 การตัดสินผลการเรยี นและใหร้ ะดับผลการเรยี น ใหป้ ฏิบัติเช่นเดยี วกบั รายวชิ าอน่ื โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี เป็นรายวิชาท่เี ปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนไดศ้ ึกษาค้นควา้ บูรณาการความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ จากสิ่งทไี่ ด้เรยี นรู้ลงมือปฏิบัติดว้ ยตนเองตามความถนดั และความสนใจ ตั้งแต่การเลอื กหัวข้อ หรอื เร่อื งท่จี ะศึกษาค้นควา้ การวางแผน การกาหนดข้นั ตอนการดาเนินการ การดาเนนิ งาน การประเมินผลและ การจดั ทารายงาน ซงึ่ อาจทาเป็นรายบุคคลหรือกล่มุ กไ็ ด้ ทง้ั นี้ ขน้ึ อยู่กับลักษณะของโครงการน้ัน ๆ โดยการจัดทา โครงการดงั กลา่ ว ต้องดาเนินการดงั น้ี 1 สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบัน ต้องจัดให้ผู้เรียนจัดทาโครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี ท่ีสมั พันธห์ รอื สอดคล้องกบั สาขาวิชา ในภาคเรียนที่ 5 และหรอื ภาคเรียนที่ 6 รวมจานวน 4 หน่วยกติ ใชเ้ วลาไม่ นอ้ ยกวา่ 216 ชว่ั โมง ทัง้ น้ี สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาหรอื สถาบันต้องจัดใหม้ ชี ว่ั โมงเรยี น 4 ชวั่ โมง ต่อสัปดาห์ กรณีท่ี ใชร้ ายวชิ าเดยี วหากจัดใหม้ ีโครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี 2 รายวิชา คือ โครงการ 1 และโครงการ 2 ใหส้ ถานศกึ ษา อาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบนั จดั ใหม้ ชี ่วั โมงเรียนต่อสปั ดาห์ ทีเ่ ทียบเคียงกบั เกณฑ์ดงั กล่าวข้างตน้ 2 การตัดสินผลการเรยี นและให้ระดบั ผลการเรยี น ให้ปฏบิ ัตเิ ชน่ เดียวกบั รายวชิ าอื่น การศึกษาระบบทวิภาคี เปน็ รูปแบบการจัดการศกึ ษาที่เกดิ จากขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหวา่ ง สถานศกึ ษา อาชีวศกึ ษาหรือสถาบันกบั สถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานของรฐั โดยผูเ้ รียนใชเ้ วลาส่วนหนง่ึ ใน สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรอื สถาบัน และเรียนภาคปฏิบตั ิ ในสถานประกอบการ รฐั วิสาหกจิ หรือหนว่ ยงานของรัฐ เพ่ือใหก้ ารจัดการศึกษาระบบทวิภาคีสามารถเพม่ิ ขีดความสามารถด้านการผลติ และพัฒนา กาลงั คนตาม จุดหมายของหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี โดยนารายวิชาทวภิ าคีในกลุ่มทักษะวิชาชพี เลอื กไปกาหนด รายละเอยี ดของรายวิชาและเวลาทีใ่ ชฝ้ กึ จดั ทาแผนฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลในแตล่ ะรายวิชาให้ สอดคล้องกบั ลกั ษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวิสาหกจิ หรือหนว่ ยงานของรัฐ ทงั้ นี้ อาจนารายวิชาชพี อืน่ ในหมวดวชิ าทักษะวิชาชีพไปจัดร่วมดว้ ยกไ็ ด้ ● แนวทางการจัดรายวิชาทวภิ าคี ปวช. ตวั อย่างหลกั สูตรไดก้ าหนดรายวชิ าทวภิ าคี ไว้ในกลุ่มทักษะวชิ าชพี เลอื ก ดงั น้ี รหัสวิชา ชอ่ื วิชา ท-ป-น 2701-5101 ปฏบิ ัติงานการโรงแรม 1 *-*-* 2701-5102 ปฏบิ ตั ิงานการโรงแรม 2 *-*-* 2701-5103 ปฏบิ ตั ิงานการโรงแรม 3 *-*-* 2701-5104 ปฏิบัตงิ านการโรงแรม 4 *-*-* 2701-5105 ปฏิบตั งิ านการโรงแรม 5 *-*-* 2701-5106 ปฏบิ ตั ิงานการโรงแรม 6 *-*-* และไดก้ าหนดจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี ไมน่ อ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกิต โดยใหส้ ถานศึกษาร่วมกับสถาน ประกอบการวเิ คราะห์ลักษณะงานของสถานประกอบการ เพือ่ กาหนดจานวนหนว่ ยกติ และรายละเอยี ดของแตล่ ะ รายวิชารวมทง้ั การจัดทาแผนการฝกึ อาชพี การวัดและประเมนิ ผลรายวชิ า โดยให้ใช้เวลาฝึกในสถานประกอบการ ไม่นอ้ ยกวา่ 54 ช่ัวโมง มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต

⮚ โครงสรา้ งของหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชน้ั สงู พุทธศักราช 2557 แบ่งเป็น 3 หมวดวชิ า และ กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร รวมไม่น้อยกว่า 83 หนว่ ยกติ ดังน้ี 1. หมวดวิชาทักษะชีวติ ไม่นอ้ ยกว่า 21 หน่วยกติ 1.1 กลมุ่ ทกั ษะภาษาและการสอ่ื สาร (ไมน่ ้อยกว่า 9 หน่วยกิต) 1.2 กล่มุ ทักษะการคดิ และการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ ) 1.3 กลมุ่ ทกั ษะทางสังคมและการดารงชีวติ (ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต) 2. หมวดวชิ าทกั ษะวชิ าชีพ ไม่นอ้ ยกวา่ 56 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวชิ าชพี พืน้ ฐาน (15 หน่วยกิต) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หนว่ ยกิต) 2.3 กลมุ่ ทักษะวชิ าชพี เลอื ก (ไมน่ ้อยกว่า 12 หนว่ ยกติ ) 2.4 ฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชพี (4 หน่วยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หนว่ ยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 4. กจิ กรรมเสริมหลักสูตร (2 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์) ● แนวทางการจัดรายวิชาทวภิ าคี ปวส. ตวั อย่างรายวิชาทวภิ าคีสาขาวชิ าการโรงแรม รหสั วิชา ช่อื วิชา ท-ป-น 3701-5201 งานซกั รีดและห้องผ้า *-*-3 3701-5202 งานการจดั เตรียมห้องพัก *-*-3 3701-5203 งานการจัดการวสั ดุอปุ กรณ์ในงานแม่บ้าน *-*-3 3701-5204 งานศลิ ปะการจัดและตกแตง่ สถานที่ *-*-3 3701-5205 งานการใชภ้ าษาอังกฤษงานแมบ่ ้าน *-*-3 3701-5206 งานศิลปะการจดั ดอกไม้ *-*-3 สาหรับรายวิชาในการศึกษาระบบทวิภาคไี มน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกติ นั้น ใหส้ ถานศกึ ษารว่ มวเิ คราะห์ ลักษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรอื หน่วยงานของรฐั เพ่ือนามากาหนดจดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ าและคาอธบิ ายรายวชิ า ทีส่ อดคล้องกนั ระหว่างสมรรถนะวิชาชพี สาขางานกบั ลกั ษณะการ ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ รวมท้งั จานวนหน่วยกิตและเวลาทใี่ ช้ในการฝกึ อาชีพในแต่ละรายวชิ าเพ่ือ นาไปจัดทาแผนการฝึกอาชีพ การวดั และการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านให้สอดคล้องกับสมรรถนะรายวชิ า ทง้ั นี้ โดยให้ใชเ้ วลาฝึกในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 54 ชัว่ โมง มคี า่ เท่ากบั 1 หน่วยกิต ⮚ โครงสรา้ งของหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ. ๒๕๕๕ แบ่งเป็น 3 หมวด วชิ า รวมไมน่ ้อยกวา่ 72 หน่วยกติ ดังน้ี 1. หมวดวชิ าทักษะชวี ติ ไมน่ ้อยกว่า 15 หนว่ ยกิต 2. หมวดวิชาทกั ษะวิชาชพี ไมน่ อ้ ยกว่า 51 หนว่ ยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวชิ าชีพเฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 30 หนว่ ยกิต)

2.2 กลุม่ ทักษะวชิ าชพี เลอื ก (ไมน่ อ้ ยกวา่ …. หนว่ ยกิต) 2.3 ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชพี (ไมน่ อ้ ยกวา่ …. หน่วยกิต) 2.4 โครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี (ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ ) 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หน่วยกิต ● แนวทางการจดั รายวิชาทวภิ าคี ป.ตรี ทล.บ. จดั อยใู่ นกลุ่มทักษะวชิ าชีพเลือก ประกอบดว้ ยกลุม่ วิชาท่ีเน้นการนาไปศึกษาหรอื ฝกึ ประสบการณ์ทักษะ วิชาชีพในสถานประกอบการหรอื ทวิภาคี เพือ่ ใหเ้ กิดสมรรถนะทางด้านบริหาร จดั การ ดาเนนิ การ ควบคมุ ดูแลงาน ให้คาแนะนา สอนงานในสถานประกอบการ องค์ประกอบทีเ่ กี่ยวข้องกบั การจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี ในระดับปริญญาตรี การจดั การศึกษาระบบทวภิ าคเี ปน็ รูปแบบการจัดการศกึ ษาทเ่ี กดิ จากข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบนั กับสถานประกอบการ รัฐวสิ าหกจิ หรอื หน่วยงานของรฐั โดยผ้เู รียนใช้เวลาส่วนหนง่ึ ใน สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกิจ หรือหนว่ ยงานของรฐั เพ่ือใหก้ ารจัดการศกึ ษาระบบทวภิ าคีสามารถเพ่ิมขีดความสามารถด้านการผลติ และพฒั นากาลงั คนทตี่ รงตาม ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ ตามจุดหมายของหลกั สูตร สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรอื สถาบันรว่ มกบั สถานประกอบการ รัฐวสิ าหกิจ หรอื หน่วยงานของรัฐตอ้ งรว่ มกนั วางแผนการจดั การศกึ ษา การวดั และการประเมนิ ผลอยา่ งยดื หยุ่น และหลากหลายรปู แบบ ทั้งนี้ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมภายใตบ้ ริบทของสถานประกอบการและสถานศึกษา โดยให้ดาเนินการดังน้ี 1. ทาบันทึกขอ้ ตกลงลงนามความรว่ มมือจดั การศึกษารว่ มกัน (MOU) กับ สถานประกอบการ 2. ทาบันทึกขอ้ ตกลงโดยสร้างความเขา้ ใจกบั สถานประกอบการในเรอื่ งการจัด การเรียนการสอน รายวชิ า สมรรถนะวิชาชีพ การฝึกอาชีพ การฝกึ ประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ การวัด และประเมนิ ผล และการรบั ประกันการ มงี านทาของผ้สู าเร็จการศึกษา เงนิ เดอื น และคา่ ตอบแทน 3. นักศกึ ษาเขา้ รบั การฝกึ อาชพี และทาโครงการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพ ใน สถานประกอบการ อยา่ งน้อย 1 ปีการศกึ ษาแต่ในทีน่ ไ้ี ดจ้ ดั ทาแผนการเรยี นไวร้ องรับโดยนักศกึ ษาลงทะเบยี น เรียนในสถานศกึ ษา 1 ปกี ารศึกษา 2 ภาคเรยี นกบั อกี 1 ภาคฤดรู ้อนและเขา้ ฝึกอาชีพทางาน ในสถานประกอบการ 1 ปกี ารศึกษา และนารายวชิ าในกลมุ่ ทกั ษะวิชาชพี เฉพาะ รายวิชาในกลุ่มทกั ษะวชิ าชพี เลือก โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี ไปเรียนในสถานประกอบการ และจัดทาแผนการฝึกอาชีพ การวดั และประเมินผลการศึกษา การฝกึ อาชพี รว่ มกัน เพ่ือตัดสนิ ผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า ในการจดั การเรียนการสอน กาหนดให้ดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนร่วมกันทงั้ สถานศกึ ษาและสถาน ประกอบการดังนี้ 1. ภาคเรยี นที่ 1 และภาคเรยี นที่ 2 จัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา ณ สถาบนั การอาชีวศกึ ษา โดยจะจัดเฉพาะรายวิชาท่ีเป็นทฤษฎี และปฏิบัติเบ้อื งต้น บทบาทหลกั จะเป็นอาจารย์ ประจาหลกั สูตรของสถาบัน การอาชีวศกึ ษา เป็นผดู้ าเนนิ การจดั การเรยี นการสอน สว่ นบทบาทรองจะเป็นครฝู ึกของสถานประกอบการ ทีจ่ ดั สง่ มาร่วมจัดการเรียนการสอน ทงั้ น้เี พื่อเป็นการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นให้แก่ผเู้ รียนกอ่ นที่จะออกไปฝกึ อาชพี ในชน้ั ปที ี่ 2 ณ สถานประกอบการทท่ี าความร่วมมอื (MOU) ไว้

2. ภาคเรยี นฤดรู ้อน จัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา ณ สถาบันการอาชวี ศึกษา โดยจัดการ เรยี นการสอนท่ใี นรายวชิ าทีเ่ หลอื เพ่ือใหเ้ รยี นครบถ้วนสมบูรณ์ตามหลักสตู ร บทบาทหลกั จะเปน็ อาจารย์ประจา หลักสูตรของสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา เป็นผ้ดู าเนินการจัดการเรยี นการสอน ส่วนบทบาทรอง จะเป็นครฝู ึกของสถาน ประกอบการทจี่ ดั สง่ มารว่ มจัดการเรยี นการสอนกบั สถาบันการอาชีวศึกษา ณ สถานประกอบการที่ทาความรว่ มมอื (MOU) ไว้ต่อไป 3. ภาคเรียนที่ 3 และภาคเรยี นท่ี 4 จดั การเรยี นการสอน ณ สถานประกอบการที่ทา ความรว่ มมอื (MOU) ไว้ จดั การฝึกอาชพี โดยการนารายวชิ าในหมวดทกั ษะวิชาชีพทจี่ ะเป็นสมรรถนะอาชีพของผู้เรียนโดยตรง เพื่อต้องการให้ผเู้ รียนได้ปฏิบตั งิ านในสถานการณ์ และส่งิ แวดลอ้ มจรงิ ในวิชาชีพ บทบาทหลกั จะเปน็ ครูฝกึ ของ สถานประกอบการ เปน็ ผดู้ าเนนิ การจดั ฝึกอาชีพตามแผนการฝึกอาชพี ที่ได้กาหนดไว้ สว่ นบทบาทรองจะเป็น อาจารย์ประจาหลักสตู รของสถาบนั การอาชวี ศึกษา เพือ่ รว่ มจดั การเรยี นการสอนกับสถานประกอบการ ทั้งนีไ้ ด้ กาหนดให้ลงทะเบียนและดาเนินการโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพในภาคเรยี นที่ 3 ดว้ ยทัง้ นี้เพอ่ื เป็นการเตรียม ผเู้ รยี นกอ่ นทจี่ ะสาเรจ็ การศกึ ษา ให้มีขีดความสามารถเปน็ ไปตามสมรรถนะทีพ่ งึ ประสงคก์ อ่ นเขา้ ส่กู ารประกอบ อาชีพ และสามารถประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทกั ษะ และเทคโนโลยีตลอดจนศึกษาคน้ คว้าองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ นวตั กรรมมา ใชใ้ นงานอาชพี ทง้ั น้ีสาหรับการวัด และประเมินผลจะประเมินผลรว่ มกันโดยใหน้ ้าหนักกับสถานประกอบการใน การวัดและประเมนิ ผลมากกวา่ อาจารยป์ ระจาหลักสูตรในสถานศกึ ษา ในอตั ราสว่ น 60:40

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ใบเนือ้ หาท่ี 3.3 การวเิ คราะห์งาน(Job Analysis)ในสถานประกอบการเพ่อื ฝึกอาชีพ • ความหมายของการวิเคราะห์งาน (Job Analysis) การวเิ คราะห์งาน เปน็ กระบวนการ ในการจัดการรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับลกั ษณะงาน หนา้ ที่ ความ รบั ผิดชอบเกีย่ วกบั งานอยา่ งมีระบบ รวมถงึ ลักษณะเฉพาะของบุคคลทเี่ หมาะสมกับงาน เช่น มคี วามรู้ ความสามารถทกั ษะ ฯลฯ ที่องค์การต้องการ เพื่อใหก้ ารปฏิบัตงิ านประสบผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายขององคก์ าร ซง่ึ ในขอบเขตของในสถานประกอบการจะทาให้ไดผ้ ลจากการวเิ คราะหง์ าน คอื 1. การบรรยายลักษณะงาน (Job Description) Job Description หมายถงึ การระบุหน้าที่ความรับผดิ ชอบของงานนนั้ ประกอบด้วย 3 ส่วน ดงั นี้ 1) การระบุช่อื ตาแหนง่ งาน (Job identification) แสดงถงึ หน้าที่และระดบั ความชานาญของ ตาแหน่ง เช่น เจา้ หน้าท่ีฝ่ายบุคคล , หัวหน้าฝกึ หัด, พนกั งานทาความสะอาดหอ้ งพกั , Bell Boy ฯลฯ 2) คาสรปุ เก่ยี วกบั งาน (Job summery) การสรปุ เกีย่ วกบั งาน กระชบั แบบยอ่ ช่วยใหเ้ หน็ ความ แตกตา่ งของหน้าทแ่ี ละลกั ษณะงานที่ตอ้ งทา 3) หน้าทีง่ าน (Job duties) ส่วนของหน้าทีง่ านท่ีสาคญั วา่ ทาอะไร ทาทาไม และทาอยา่ งไร รวมถงึ หน้าท่ีงานหลัก (Duty) และภารกจิ (Task) หรือหน้าทงี่ านรอง 2. การกาหนดคณุ สมบัตเิ ฉพาะของผ้ปู ฏิบตั ิงาน (Job Specification) Job Specification คือ รายละเอยี ดของคณุ สมบตั เิ ฉพาะของพนกั งานทางดา้ น ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ ทกั ษะ ซ่งึ ใชใ้ นการทางานเฉพาะอยา่ งเพื่อให้งานประสบ ผลสาเร็จ ซึ่งจะนาไปเปน็ ข้อกาหนด ในการฝึกอบรมหรือการฝกึ นกั ศกึ ษาทวภิ าคีให้มีสมรรถนะตามท่ีตอ้ งการตอ่ ไป การรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์งาน 1.การสัมภาษณ์ 2.การตอบแบบสอบถาม 3.การสังเกตการปฏิบตั ิงาน 4.การทาบันทึกการปฏบิ ตั งิ าน 5.ใช้วธิ ผี สมผสาน • การวิเคราะห์งานในสถานประกอบการ (In Company Job Analysis) การวเิ คราะห์งานในสถานประกอบการ เปน็ การวิเคราะห์งานเพ่อื ฝกึ อาชพี ใหก้ ับนักศึกษาทวิภาคี โดยมี จุดประสงค์ คอื 1. เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาทวิภาคีไดฝ้ ึกอาชพี ในสถานประกอบการเหมาะสมกับระดับการศึกษา

2. เพ่อื ใหน้ ักศึกษาทวิภาคีท่ไี ดฝ้ กึ อาชีพมีสมรรถนะและมคี วามพร้อมในการปฏบิ ัตงิ านเป็นพนกั งานของ สถานประกอบการ • ความหมายของสมรรถนะ สมรรถนะ (Competence) ในความหมายทั่วไป คอื ความสามารถในการปฏบิ ัติงานโดยใช้ความรทู้ ักษะ และเจตคตทิ ่ีบูรณาการกนั อย่างแนบแนน่ เพือ่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ สมรรถนะ (Competence) ในความหมายของงานอาชพี หรือวชิ าชพี คอื ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน อาชพี โดยใชค้ วามรู้ ทักษะและเจตคติท่ีบรู ณาการกันอย่างแนบแนน่ เพื่อให้เกดิ ผลลพั ธไ์ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้ความหมายของสมรรถนะ คอื คุณลักษณะเชิง พฤตกิ รรมท่ีเป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถและคุณลกั ษณะอ่นื ๆ ท่ีทาให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้ โดดเด่นกว่าเพ่ือนรว่ มงานอนื่ ๆ ในองค์กร กล่าวคือ การที่บุคคลจะแสดงสมรรถนะใดสมรรถนะหนึง่ ไดม้ ักจะต้องมี องค์ประกอบของทัง้ ความรู้ ทักษะ/ความสามารถและคุณลักษณะอืน่ ๆ สรุปองค์ประกอบของสมรรถนะ • ทกั ษะ (Skill) • ความรู้ (Knowledge) • คณุ ลักษณะ(Attributes) Competency แตกต่างจากทักษะ ความรู้ ทัศนคติ และแรงจงู ใจ อย่างไร เนือ่ งจาก สมรรถนะ (Competency) เปน็ สง่ิ ทีป่ ระกอบขน้ึ มาจาก ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลกั ษณะ (Attributes) จึงส่งผลให้คนท่วั ไปสบั สนวา่ สมรรถนะ (Competency) แตกตา่ ง จากความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skill) และทัศนคติ/แรงจูงใจ (Attitude/Motive) อย่างไร หรือความรู้ หรือทักษะทบ่ี ุคคลมอี ยนู่ น่ั ถือเปน็ Competency หรอื ไม่ เพื่อ ไมใ่ หเ้ กดิ ความสบั สน สถาบนั Schoonover Associates ได้มกี ารศกึ ษาและอธิบายในเชงิ เปรยี บเทยี บไว้ดงั น้ี สมรรถนะ VS ความรู้ ความรู้ อยา่ งเดียวไม่ถอื เป็น สมรรถนะ เว้นแตค่ วามรูใ้ นเรอ่ื งนัน้ จะนามาประยกุ ต์ใช้กับงานให้ ประสบผลสาเรจ็ จึงถือเป็นส่วนหนงึ่ ของ สมรรถนะ ตวั อยา่ ง ความรแู้ ละความเข้าใจในส่วนประกอบเคร่อื งยนต์ ถือเป็นความรู้ แต่ความสามารถใน การนาความรแู้ ละความเข้าใจในสว่ นประกอบเครือ่ งยนต์ มาซ่อมเคร่ืองยนต์ ไดน้ ้ัน จึงจะถอื เป็น “สมรรถนะ” สมรรถนะ VS ทักษะ ทักษะ (Skill) อย่างเดียวไมถ่ ือเป็น สมรรถนะ แตท่ กั ษะทีก่ ่อให้เกิดผลสาเร็จอยา่ งชัดเจนถือเป็น สมรรถนะ ตวั อยา่ ง ความสามารถในการถอดประกอบเครอ่ื งยนต์ เปน็ ทักษะ แต่ความสามารถในการซอ่ ม เคร่อื งยนต์ ถือเปน็ “สมรรถนะ” สมรรถนะ VS แรงจูงใจ/คุณลกั ษณะ สมรรถนะ ไมใ่ ชแ่ รงจูงใจหรอื ทัศนคติ (Motive/Attitude) แต่เป็นแรงขบั ภายใน ที่ทาให้บคุ คล แสดงพฤตกิ รรมท่ี ตนมุง่ หวงั ไปสสู่ ิง่ ที่เปน็ เป้าหมายของเขา

ตวั อยา่ ง การต้องการความสาเร็จ เป็นแรงจงู ใจท่ีก่อใหเ้ กิดแนวคิดหรือทัศนคติที่ตอ้ งการสรา้ ง ผลงานท่ีดี แต่ความสามารถในการทางานใหส้ าเร็จไดต้ รงตามเวลาที่กาหนด ถอื เปน็ “สมรรถนะ” รปู แบบการเขยี นสมรรถนะ “กรยิ า+ กรรม+ (คาขยาย)” เชน่ ลงทะเบียนผู้เข้าพกั ทาความสะอาดหอ้ งพัก ซอ่ มหมอ้ น้า ลา้ งรถด้วยแชมพู ปะยางรถยนต์ • การวเิ คราะห์งานโดยใช้ DACUM (Developing A Curriculum) งานหรืออาชีพ หนงึ่ ๆ จะประกอบไปด้วย หลายบทบาท (DUTY) ของหนา้ ท่ี และหลายภารกิจ (TASK) ของหน้าท่ี ดังนี้ บทบาทหน้าที่ (DUTY) หมายถงึ หนา้ ที่ความรับผิดชอบในตาแหน่งงานอาชีพนนั้ ๆ เช่น อาชีพพนกั งาน โรงแรม ตาแหน่ง แมบ่ า้ นโรงแรม ตวั อย่างบทบาทหนา้ ที่ ที่พึงต้องมเี ชน่ ทาความสะอาดหอ้ งพกั เตรียมรถทา ความสะอาด ซกั รีด เปน็ ต้น ภารกิจ (TASK) หมายถงึ วธิ ีการดาเนนิ การ เปน็ การกระทาของแต่ละบทบาทหนา้ ท่ี เช่น บทบาทหนา้ ท่ี ทาความสะอาดหอ้ งพกั พึงกระทา ตวั อยา่ งไดแ้ ก่ ทาความสะอาดหอ้ งน้า ปูเตียง ทาความสะอาด เฟอร์นเิ จอร์ เป็นต้น ซง่ึ แตล่ ะภารกิจ จะมีขั้นตอนการทางาน (Step Operation) ของแตล่ ะภารกิจอยู่ เชน่ อาชพี พนกั งานโรงแรม ตาแหน่งแมบ่ ้าน ทาหน้า ทาความสะอาดหอ้ งพกั ภารกจิ ทาความสะอาดห้องน้า ข้นั ตอนพงึ กระทา เชน่ ลา้ งอ่างล้างหนา้ ลา้ งโถส้วม ลา้ งอ่างอาบนา้ ลา้ งผนงั ห้องนา้ ล้างพนื้ เปน็ ต้น โดยทข่ี ้นั ตอนแต่ละ ขน้ั ตอนจะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมีลาดบั ขั้นทก่ี ่อนหลงั กระบวนการดาคัม หรือ DACUM process. เป็นกระบวนการวเิ คราะห์รายละเอยี ดของอาชีพ หรือ ตาแหนง่ งาน มขี ัน้ ตอนหรอื กระบวนการ สาคัญ 2 ขนั้ ตอนหลกั คือ 1. ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์งานหรอื อาชพี (Job Analysis) ผลลัพธ์ท่ไี ด้คอื ผงั แสดงหน้าทีต่ า่ งๆของอาชพี หรอื งานหลกั (Duty) และภารกจิ หรืองานย่อย (Task) ซ่งึ เรียกว่า แผนผังดาคัม หรือ DACUM Chart หรอื แผนผงั สมรรถนะ (Competency Profile) 2. ขัน้ ตอนการวิเคราะหง์ านย่อย (Task Analysis) ผลลพั ธ์ที่ไดค้ ือ รายละเอียดของภารกจิ เชน่ . ข้ันตอน การปฏบิ ตั งิ าน ความรู้ทีใ่ ชท้ างาน คุณลกั ษณะของผู้ปฏิบัตงิ าน มาตรฐานของงาน เคร่อื งมอื เคร่ืองจกั ร วัสดุ อุปกรณ์ ความปลอดภัย และข้อควรระวังตา่ งๆ เป็นตน้ คณะกรรมการ DACUM 1. คณะกรรมการดาคมั หรอื DACUM Commitee คอื ผเู้ ช่ยี วชาญหน้างานจริง หรอื ผ้ทู ีป่ ฏิบัตงิ านจริง ไม่ใชห่ ัวหน้างานเดด็ ขาด 2. ผู้ดาเนินการประชุมดาคมั หรือ DACUM Facilitator. และผบู้ ันทกึ ข้อมลู และเขยี นผงั ดาคมั . เรยี ก Recorder ซงึ่ เป็นบคุ ลากรจากสถานศึกษาหรือหนว่ ยงาน

รูปแบบการประชมุ ใชว้ ิธกี ารระดมสมอง (Brain storming) โดยกลุ่มคนท่ใี ห้ขอ้ มูลแยกตามงาน (Focus Group)มี กระบวนการ ดังนี้ 1. ปฐมนิเทศ แนะนาตวั ให้รู้จกั กนั กอ่ น 2. ทบทวนชอื่ ตาแหน่งงานหรืออาชีพที่จะวเิ คราะห์ เพ่ือให้ทุกคนไดเ้ ข้าใจตรงกัน 3. กาหนดขอบเขตงาน หรืออาชีพ เขียนรายละเอียดตาแหน่งงานหรือลักษณะอาชีพ เรยี ก job description 4. ข้นั วเิ คราะหง์ านและอาชีพ (Job Analysis) เพอื่ ให้ได้ หนา้ ทีง่ านหลกั และภารกจิ งานย่อย เขียน ออกมาเป็นผังดาคมั (DACUM Chart) สว่ นมากนิยมใช้บตั รคาและการวิเคราะหก์ ลุ่มคา 5. ทบทวน จัดลาดบั หน้าท่ี (Duty) และภารกิจ (Task) 6. พจิ ารณา หนา้ ที่ ภารกิจ เพ่ือคัดกรองงานทีม่ คี วามสาคญั มากท่ีสดุ .(Important) ทาบอ่ ยท่สี ุด (Frequently) ทายากทสี่ ุด(Difficulty) หรือการหา I F D สุดท้ายจะเหลอื บางหน้าที่ และบางภารกิจ เท่านั้น 7. ขัน้ วิเคราะห์งานย่อย Task Analysis เพื่อให้ได้ข้นั ตอนการทางาน (Step Operation) หรอื ทักษะ ป (Skill) ความร้ทู ่ีจาเป็นในการทางาน (Knowledge) มาตรฐานการทางาน วสั ดุ อุปกรณ์ เครือ่ งมอื สาหรบั การทางาน ความปลอดภัย ขอ้ ควรระวัง เป็นต้น 8. กาหนดระดบั ของตาแหนง่ งาน หรอื กาหนดความรู้ความสามารถพ้นื ฐานทีผ่ ้เู รยี นหรือแรงงานใหม่ ต้อง มกี ่อนถงึ จะทางานในตาแหน่งงานนไ้ี ด้ จากนั้นนารายละเอียดตา่ งๆ ทไ่ี ด้จากการวเิ คราะหภ์ ารกจิ (Task Analysis) ซึง่ จัดทาเปน็ เอกสารมี รายละเอียดตามทีก่ ล่าวมา สามารถนาไปพัฒนาเปน็ มาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) และหลกั สตู ร การฝึกตามสมรรถนะ (Competency-based Curriculum : CBC) ต่อไป ท้ังนคี้ วรมกี ารทบทวน เอกสาร การวิเคราะหง์ านบอ่ ยๆ หากจาเป็น เพ่ือใหถ้ ูกตอ้ งตรงกับความตอ้ งการของสถานประกอบการมากที่สุด การวิเคราะหง์ านควรดาเนนิ การภาพรวมทง้ั หมดก่อน แล้วจึงแยกออกเปน็ ระดบั ปวช. ปวส. และ ป.ตรี

งาน/อาชีพ หนา้ ที่/งานหลกั ภารกิจ/งานยอ่ ย (JOB) (Duty) (Task) แม่บ้าน ทาความสะอาดห้องพัก ทาความสะอาดห้องนา้ ซักรีด ปเู ตยี ง ทาความสะอาดภห้องนอน ทาความสะอาดเฟอร์นเิ จอร์ รับ-ส่งผ้า ซักรีดผ้าโรงแรม ซักรีดผ้าแขก ตวั อยา่ งผงั DACUM งานแม่บา้ นโรงแรมในระดบั ปวช.

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 ใบเนอื้ หาที่ 3.4 การเขยี นแผนการฝกึ อาชีพ (Training Plan) ● การเขยี นแผนการฝกึ อาชีพ (Training Plan) หลังจากได้วเิ คราะหง์ านแลว้ จะสามารถเลอื กงานทจ่ี ะฝึกอาชีพนักศึกษาทวิภาคตี ามระดับ ปวช. ปวส. หรือ ป.ตรี ได้ตลอดหลกั สตู ร จากนัน้ จึงร่วมกันกาหนดระยะเวลาการฝกึ โดยคานงึ ถึง สงิ่ ต่อไปนี้ 1. ระยะเวลาการฝึกอาชพี ทตี่ ้องมกี ารปรับเปลย่ี นหมนุ งานท่ฝี กึ 2. ประสบการณ์ระยะการฝึกท่ที าให้นักศึกษามสี มรรถนะ 3. หน่วยกิต และจานวนชั่วโมงต่อหน่วยกิตที่นักศกึ ษาจะได้รบั ซึ่งอาจเฉลี่ยกันโดยอนโุ ลม เพอ่ื ให้การฝึกมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน้ สมรรถนะ ประสบการณ์การฝกึ นกั ศึกษาท่ีผา่ นมา ซ่งึ ในทางปฏิบัตกิ าหนดหน่วยเป็นวัน ดังตัวอย่าง หลงั จากนจี้ ึงไปกาหนดปฏิทินวนั เริม่ เข้ารับการฝึกของแตล่ ะงานหรือแต่ละแผนกตอ่ ไป จากตวั อย่าง จะใช้ระยะเวลาการฝึกประมาณ 10 เดือน ช่ือสถานประกอบการ..สบายดโี ฮเต็ล.. ใช้ฝึกนกั ศกึ ษาทวภิ าคีของวิทยาลยั .......................... ปีการศกึ ษา ..25.....ระดบั .ปวช.. สาขาวิชา/สาขางาน..การโรงแรม...... ที่ สมรรถนะ/ แผนก/ หนา้ ที่ (Duty)/ ชื่อ-สกลุ ระยะการ รวม อาชพี ท่ตี อ้ งการ ตาแหนง่ งาน งานหลัก ครูฝกึ /พ่เี ลย้ี ง ฝกึ (วัน) (วัน) 1 แมบ่ ้านโรงแรม Room Attendant 1.ทาความสะอาดหอ้ งพกั นางวภิ าดา 25 75 H/K Cleaning 2.ทาความสะอาดพื้นที่สาธารณะ 10 Laundry Attendant 3.ซกั รดี 20 Florist 4.จดั ดอกไม้ 20 2 พนักงานสว่ นหน้า Reception 1.ตอ้ นรบั แขก นายสมชาย 20 66 F/O Reservations Clerk 2.สารองห้องพกั 20 Operator 3.รบั โทรศัพท์ 10 Cashier 4.เกบ็ เงนิ 16 3 พนกั งานบรกิ ารอาหาร Waiter 1.เสริ ์ฟอาหาร นายวฑิ ูรย์ 20 75 และเครอ่ื งด่ืม Catering 2.จัดเลี้ยง 20 F/B Bartender 3.ผสมเครอ่ื งดืม่ 20 Cashier 4.เก็บเงนิ 15 รวมระยะเวลา 216 การกาหนดรายวิชาทวิภาคี จากตัวอย่างแผนการฝกึ สามารถกาหนดรายวชิ าทวภิ าคีระดบั ปวช. สาขาวชิ าการโรงแรม และช่วงระยะเวลาการฝึก ได้ดงั นี้

รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า ท-ป–น ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. 2701-5101 ปฏิบัติงานการโรงแรม 1 *-*-4 - ทาความสะอาดหอ้ งพกั *-*-4 *-*-4 - ทาความสะอาดพื้นที่ *-*-4 สาธารณะ *-*-4 *-*-4 2701-5102 ปฏบิ ตั ิงานการโรงแรม 2 - จัดดอกไม้ - ซกั รีด 2701-5103 ปฏบิ ตั ิงานการโรงแรม 3 - รับโทรศพั ท์ - ต้อนรบั แขก 2701-5104 ปฏบิ ัตงิ านการโรงแรม 4 - สารองหอ้ งพกั - เก็บเงิน 2701-5105 ปฏบิ ัตงิ านการโรงแรม 5 - เสริ ์ฟอาหาร - เกบ็ เงนิ 2701-5106 ปฏิบตั งิ านการโรงแรม 6 - ผสมเคร่ืองด่มื - จดั เลย้ี ง

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 ใบเนื้อหาท่ี 3.5 การเขยี นแผนการฝกึ ปฏิบตั งิ าน (Work Task Plan) การเขียนแผนการฝกึ ปฏิบัติงาน เปน็ การนาภารกิจหรืองานย่อยทไี่ ด้จากการวเิ คราะห์งาน แล้ว มาทาการวเิ คราะหภ์ ารกจิ (Task Analysis) เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลในการเขียนแผนการฝึกปฏิบัตงิ าน (Work Task Plan) และการจดั ฝกึ อบรมซ่งึ จะมีทัง้ ฝกึ อบรมในงาน (On the Job Training) และอบรม นอกงาน (Off the Job Training) ดงั นนั้ ถา้ ย่ิงวิเคราะห์ภารกจิ ได้ละเอียดเท่าใด ก็จะส่งผลให้การฝึกมี ประสิทธภิ าพ บางครั้งครูฝกึ กจ็ ะให้นกั ศกึ ษาทาการวิเคราะห์ภารกจิ ซ่ึงเป็นเรือ่ งทนี่ ักศกึ ษาสามารถทา ได้ ● การวิเคราะหภ์ ารกจิ (Task Analysis) เปน็ การวิเคราะหถ์ งึ ข้ันตอนการทางาน (Step Operation) ซง่ึ จะสอดคล้องกบั ทักษะ (Skill) ทจ่ี ะทาการฝึกอาชีพ โดยกาหนดขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน (Step Operation) ที่ตอ้ งฝึกทักษะ (Skill) ระบเุ คร่ืองมือวัสดอุ ปุ กรณ์ที่จาเปน็ ต้องใช้ในการปฏิบตั งิ าน ระบุความรู้ (Knowledge) ทจี่ าเป็นต้องใช้ ในการปฏบิ ตั ิงาน ทต่ี ้องจัดการเรียนการสอน ระบคุ ุณลักษณะส่วนบุคคล (Attribute) ของผปู้ ฏิบัตงิ าน ทต่ี ้องควบคุมหรอื ฝึกฝน ระบุมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน และระบเุ กีย่ วกบั ความปลอดภยั หรอื ข้อควร ระวัง ดังในตาราง ซง่ึ มรี ายละเอยี ด คอื 1. ข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน เปน็ ขั้นตอนการปฏิบัติงานยงิ่ ละเอียดมายิง่ ทาให้การฝึกมี ประสิทธิภาพ ซึง่ แตไ่ มค่ วรเกิน 1 หน้ากระดาษ ใหเ้ ขียนขนึ้ ตน้ ด้วยกรยิ าซง่ึ เป็น จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม แต่ละขนั้ ตอนจะนาไปฝึกทักษะ (Skill) 2. เครอื่ งมอื วสั ดุ อปุ กรณ์ ที่ใช้ปฏบิ ตั ิงาน เป็นการระบเุ พอื่ เตรียมการฝึก 3. ความรู้ทตี่ อ้ งสอน (Knowledge) ระบคุ วามร้ทู ่ีตอ้ งมมี าก่อนการปฏิบัตงิ าน จะมี ประโยชน์ในการนาไปจัดการฝกึ อบรมนอกงาน (Off the Job Training) 4. คุณลักษณะทต่ี อ้ งฝึก (Attribute) หรืออาจเปน็ เจตคติกไ็ ด้ แตใ่ นมมุ มองของสมรรถนะจะ เป็นคณุ ลักษณะ เช่น สุภาพ อ่อนนอ้ ม ยม้ิ ทักทาย เป็นต้น 5. มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ระบุมาตรฐานของการปฏิบัตงิ านทต่ี อ้ งการใหม้ ีสมรรถนะ 6. ข้อควรระวงั /ความปลอดภยั ระบุสิ่งท่ีจะทาให้เกิดความผิดพลาด หรือการปอ้ งกนั ความ เสียหาย การปอ้ งกนั ความเสย่ี ง

ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ภารกิจ (Task Analysis)

● การเขยี นแผนการฝกึ ปฏิบตั ิงาน (Work Task Plan) แผนการฝกึ ปฏิบตั งิ านเปน็ แผนการสอนของครูฝึก สามารถใชแ้ ผนการฝกึ ปฏิบตั ิจากรุ่นสู่รุน่ หากได้มกี ารพฒั นาต่อเนือ่ งจะทาใหก้ ารฝึกปฏิบตั ิงานมีประสทิ ธภิ าพ ซ่งึ จะมีส่วนคลา้ ยกบั แผนการ สอนของครูในสถานศึกษาแตม่ ลี กั ษณะเปน็ ตาราง เพ่อื ความสะดวกรวดเร็วไม่เปน็ ภาระกับครูฝกึ ท้ังน้ี ครูฝกึ อาจเลือกเขยี นเฉพาะเร่อื งทมี่ ีความสาคัญโดยเฉพาะเร่อื งทต่ี ้องฝกึ ทกั ษะ แผนการฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน ของครูฝกึ จดั ทาขึน้ เพ่ือเตรยี มงานการฝกึ อาชพี ให้นกั เรยี น นกั ศึกษาระบบทวิภาคี มคี วามรู้ ความสามารถในอาชีพตรงตามวัตถุประสงค์และเปา้ หมายท่ีสถานประกอบการกับสถานศกึ ษากาหนด ไว้ ซึ่งจะได้ขอ้ มูลขั้นตอนการปฏิบัตงิ านจากการวเิ คราะห์ภารกิจ (Task Analysis) แตจ่ ะมกี ารกาหนด จดุ ประสงค์(Objectives) ของการฝกึ ปฏิบัตซิ ่ึงประกอบด้วย 1. จดุ ประสงค์ทว่ั ไป จุดประสงคท์ ่ัวไปหรือจดุ ประสงคป์ ลายทาง คอื จุดประสงค์ทเ่ี ป็นเปา้ หมายสาคญั ท่ี มุ่งหวงั ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมขึน้ กับผู้เรียนในการฝกึ /การเรยี นรูแ้ ต่ละเร่อื ง หรือแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ โดย มีรูปแบบการเขยี น คอื เพือ่ ให้ +ประธาน+กรยิ ารวมๆ+เรือ่ งท่จี ัดการฝึก/เรยี นรู้ (หวั ข้อใหญ่ที่ 1..2..3)+เกณฑ์กว้างๆ (ตวั อยา่ ง) ▪ เพ่อื ให้นักศกึ ษาทวภิ าคปี เู ตยี งและจัดองค์ประกอบของเตยี งไดส้ วยงาม ▪ เพอ่ื ใหน้ ักศึกษาทวภิ าคที าความสะอาดหอ้ งนา้ ไดส้ ะอาดตามมาตรฐาน และจดั วางอุปกรณ์ ในหอ้ งนา้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 2. จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เป็นจดุ ม่งุ หมายของการสอนการฝกึ ท่กี าหนด หรอื พฤตกิ รรมการฝกึ /การเรยี นรู้ท่ี คาดหวัง ของผูเ้ รียนในรูปของการแสดงออก หรอื การกระทาทีส่ ามารถสังเกตเห็นได้ จดุ มงุ่ หมายเชิง พฤตกิ รรมที่เขียนอย่างถูกต้องครบถ้วน จะประกอบด้วยข้อความ 3 สว่ น คือ พฤตกิ รรมทค่ี าดหวงั สถานการณห์ รือเง่ือนไข และเกณฑ์ โดยมีรูปแบบการเขียน คือ พฤติกรรม (กริยา)+ เรอื่ งย่อยที่จะจัดการฝึก/เรยี นรู้ +เกณฑ์ (ตัวอยา่ ง) ▪ ปเู ตียงจนตึงได้มาตรฐาน ▪ จดั ผา้ เช็ดตวั เปน็ รปู ห่านคู่ไดส้ วยงาม ▪ จดั องค์ประกอบเตียงได้สวยงาม และมีองค์ประกอบที่ตอ้ งกาหนด เพ่ือใหส้ ามารถเปน็ แนวทางการฝกึ ปฏบิ ัตไิ ด้ คอื ● วธิ สี อน/วิธฝี กึ ระบุวิธกี ารสอน เช่น สาธิต ฝึกปฏบิ ัติ และหากมีการไปปฏบิ ตั ิงานจรงิ ก็จะ ระบุใหม้ ีการฝึกอบรมในงาน OJT เปน็ ตน้

● กิจกรรมการสอน/การฝกึ ระบุกจิ กรรมการสอนของครฝู กึ และกิจกรรมการเรียนของ นักศึกษา เชน่ ครูฝึกบรรยายเร่ือง.... ครูจากสถานศึกษาบรรยายเรื่อง..... ครูฝกึ สาธติ นกั ศึกษาฝึก ปฏิบตั ิ เป็นตน้ แตค่ าว่านกั ศกึ ษาฟงั บรรยายไม่ตอ้ งเขียน ● สอื่ อปุ กรณ์ ระบุสอ่ื อุปกรณ์ท่ีต้องใช้ เชน่ ใบเนอ้ื หา ใบงาน อุปกรณ์...... เป็นตน้ ● การวัดและประเมินผล ระบุวิธกี ารวดั และประเมินผลการฝึก เชน่ สงั เกต..... ประเมนิ ผล การปฏบิ ัติ เป็นตน้

ตวั อยา่ งการเขยี นแผนการฝึกปฏบิ ตั ิงาน (Work Task Plans)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook