Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการอบรมหลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 "Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century"

รายงานการอบรมหลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 "Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century"

Published by นายมนตรี นาคีย์, 2021-10-11 14:00:26

Description: รายงานการอบรมหลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 "Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century" (นายมนตรี นาคีย์)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ ก

หลักสูตรท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศกึ ษาและการพฒั นาทักษะผู้เรยี นรู้ สู่การเปน็ พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นบ้านท่งุ โพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ ท่ี วันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ เร่ือง รายงานการอบรมหลกั สูตรท่ี 3 : มมุ มองใหม่ของการบริหารการจดั การศึกษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรู้ สู่การเปน็ พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 \"Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century\" เรียน ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งโพธิ์ ด้วย นายมนตรี นาคีย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ปฏิบัติหน้าท่ีสอนในรายวิชา วิทยาการ คานวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เข้าหลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจัด การศึกษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 \"Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century\" ในวันเสาร์ท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๖๔ เวลา เวลา ๐๙.00 – 1๒.00 น.นั้น บัดนี้ การอบรมดังกล่าวไดเ้ สร็จสิ้นแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอรายงานผลการอบรม ดงั เอกสารแนบท้าย จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา ลงชอ่ื ........................................................... (นายมนตรี นาคีย์) โรงเรยี นบา้ นทุ่งโพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ ข

หลักสตู รท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทกั ษะผู้เรยี นรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 คานา เน่ืองด้วยสานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ร่วมกบั บริษัทไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จากัด ได้มกี ารจัดอบรมในโครงการพัฒนาหลักสูตร สมรรถนะครูดิจิทัล OBEC Microsoft Innovative Educator จานวนท้ังหมด 7 หลักสูตรซ่ึงประกอบได้ด้วย หลักสูตรที่ 1 : NEXT Normal Education Reimagined การบริหารจัดการการเรียนการสอน ออนไลน์ พรอ้ มประสบการณจ์ ริงจากผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา หลักสูตรที่ 2 : กลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนและการจัดประชุมออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพใน ยคุ NEXT Normal (Virtual Classroom and Meeting Guide, Steps and Best Practices in NEXT Normal) หลักสูตรท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรสู้ ู่การเป็น พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 \"Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century\" หลกั สูตรที่ 4 : การสรา้ ง Blended Learning Platform for NEXT Normal Education Reimagined ดว้ ย Microsoft 365 หลักสูตรที่ 5 : การออกแบบและเลือกอุปกรณ์ Smart & Safety Virtual Classroom ด้วย Microsoft Windows หลักสูตรที่ 6 : การสร้างส่ือความรู้แบบปฏิสัมพันธ์บนแพลตฟอร์มการจัดการประสบการณ์การ เรียนรู้ Microsoft 365 (Interactive Knowledge Media Development on Learning Experience Platform) หลักสูตรท่ี 7 : การจัดการสอบดิจิทัลรองรับการเรียนการสอนรูปแบบผสมผสานอย่างปลอดภัย (Secure Digital Assessment for Hybrid Learning) ข้าพเจ้าขอขอบคุณสานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รว่ มกบั บริษัทไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จากดั และผูท้ ม่ี ีส่วนเก่ยี วข้องทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมใน การจัดอบรมในคร้ังนี้เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาได้นาแนวทางไปต่อยอดและเป็นวิธี ปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลการ จัดการเรียนรู้ท่ีลงสู่ผู้เรียนอย่างสูงสุด ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID- ๑๙) นายมนตรี นาคีย์ โรงเรียนบ้านทงุ่ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ ค

หลักสตู รท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สู่การเป็นพลเมอื งยคุ ดิจิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 สารบญั เรอ่ื ง หน้า บนั ทกึ ข้อความ ก คานา ข สารบัญ ค เอกสารประกอบการประชมุ 1 ภาคผนวก 5 ภาคผนวก ก ภาพกจิ กรรมการเขา้ รบั ฟัง 23 ภาคผนวก ข ภาพเกียรติบตั ร 24 โรงเรียนบา้ นทุ่งโพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ ง

หลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจดั การศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สู่การเปน็ พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 หลักสตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้สกู่ ารเป็น พลเมืองยุคดิจทิ ัลของโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 \"Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century\" การแบง่ ยุคดิจิทลั Digital 1. ยุคของอนิ เทอร์เน็ต คาจากัดความของ Digital 1.0 คืออินเทอร์เน็ต เป็นยุคที่เกิดข้ึนเม่ือสิบกว่าปีท่ีผ่านมา เป็นจุดเริ่มตน้ ของการใช้เว็บไซต์ และอีเมล์ Digital 1.0 เป็นการเปลี่ยนผ่านครั้งยิ่งใหญ่จากโลกออฟไลน์มายังออนไลน์ เปลี่ยนจากการส่งจดหมายติดแสตมป์ เป็นเป็นอีเมล์ ที่สะดวกรวดเร็วขึ้น และการเปล่ียนแปลงนี้ได้เกิดผล กระทบใหญ่ท่ีทาให้บางสิ่งบางอย่างในโลกออฟไลน์ท่ีเคยใช้งานอยู่เดิมได้หายไปและเกิดปรากฏการณ์ใหม่ๆ ที่มีการเปล่ียนแปลงและก้าวไปข้างหน้าไม่หยุดย้ังส่ิงที่เกิดขึ้นทางธุรกิจในในยุค Digital 1.0 คือ องค์กรเร่ิม มองเห็นโอกาสทางดิจิทัล ในยุคแรกของเว็บไซต์จึงเป็นยคุ ของการใชเ้ ว็บไซต์แทนโบชวั ร์ที่มีความมูลครบถ้วน, ใช้ตดิ ตอ่ งานเชิงพาณชิ ย์ สรา้ งความนา่ เช่ือถือ เปิดสานักงานเสมือนท่สี ามารถทางานได้ 24X7 ไมม่ ีวนั หยดุ Digital 2.0 ยคุ แหง่ โซเชียลมีเดยี จากจุดเร่ิมต้นของโซเชียลมีเดียคือการร่วมเพื่อนในสังคมออฟไลน์มาสู่ออนไลน์ และขยายพฤติกรรม การใช้งานสู่ยุคคอนซูเมอร์ใช้โชเยลเน็ตเวิร์คเป็นสื่อหลักในการส่ือสาร จากการที่โซเชียลมีเดียเข้ามาอยู่ ในมอื ถอื ในยุคน้ีเป็นยุคของนักธุรกิจมองเป็นเครื่องมือในการวัดผลท่ีรวดเร็ว และเห็นทิศทางอานาจต่อรอง ย้ายมาท่ีผู้บริโภค จากอิทธิพลของโซเชียลมีเดียท่ีเปลี่ยนให้ผู้บริโภคเป็นผู้สร้างคอนเทนต์ได้เองในส่วนของแบ รนด์โซเชียลมีเดียได้กลายเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้แบรนด์รู้จัก สร้าง Relationship กับลูกค้าได้แน่นแฟ้นขึ้น รวมถึงการเปน็ เคร่อื งท่ีชว่ ยในการทา Marketing Contact Service และมาซึ่งการขายสนิ ค้าในทส่ี ุด โรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 1

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทักษะผเู้ รียนรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมอื งยคุ ดิจิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 Digital 3.0 ยคุ ของบิ๊กดาต้า อนาไลทต์ กิ ส์ /คลาวดค์ อมพิวติง้ /แอพพลิเคชั่น โซเชียลมีเดียประสบความสาเร็จจากแพลตฟอร์มท่ีสามารถใช้งานได้ท่ัวโลก และการเติบโตของ โซเชียลมีเดียทาให้เกิดการขยายของข้อมูลมหาศาล ในแต่ละวันทุกแพลตฟอร์มไม่ว่าจะเป็น Facebook Google Apple หรอื แม้แต่ธรุ กิจอย่าง ธนาคาร ประกันภัย รีเทลท่ีมีขอ้ มลู วิ่งเขา้ ออกเปน็ ลา้ นล้าน record ตอ่ วนั เมือ่ ข้อมลู มากแต่นาไปใชง้ านตอ่ ไม่ได้กไ็ ม่เกิดประโยชน์ ในยุค Digital 3.0 เป็นยุคท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยเวลาน้ี ทุกองค์กรต่างเห็นความสาคัญของการนา บกิ๊ ดาต้ามาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์มากที่สุดบนพ้ืนฐานของความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของข้อมูลทีต่ ้องการเก็บเพ่ือ นาไปขยายผลในรูปแบบต่างๆ ผ่านระบบ ดาต้า อนาไลท์ติกส์ แต่การนา ดาต้า อนาไลท์ติกส์ มาใช้ให้เกิด ประโยชน์และสามารถใช้งานได้อย่างเรียลไทม์โดยไม่มีข้อจากัดของสถานที่ จาเป็นต้องมีคลาวด์คอมพิวติ้งมา ช่วยอานวยความสะดวก สามารถเชื่อมโยงการทางานต่างแพลตฟอร์มมาใช้งานร่วมกันแบบเรียลไทม์ เกิด บรกิ าร Online Service, Omni Channel, บริการต่างๆ บนมือถือและอ่ืนๆ นอกจากน้ีในยุค Digital 3.0 ยังมาพรอ้ มกับการใชง้ านสมารท์ โฟนของผู้บรโิ ภคที่กลายมาเปน็ อุปกรณ์ ในการค้นหาข้อมูลการส่ือสารและการสั่งซ้ือสินค้า จนแบรนด์ต้องปรับตัวสู่การเข้าถึงลูกค้าในรูปแบบใหม่ๆ เพ่อื สรา้ งความได้เปรยี บในการแขง่ ขนั ผ่านบรกิ ารใหมๆ่ ท่ีใหบ้ รกิ ารอยู่บนคลาวดค์ อมพิวติ้ง ยกตวั อยา่ งเฟซบุ๊กไดเ้ ปิดตัว BOT บริการที่เฟซบุ๊กรวมมือกับ ร้านค้า โดยเฟซบุ๊กจะจับความ ต้องการของผ้ใู ชผ้ า่ นสเตตัส /คอม เมนต์ที่ผู้ใช้โพสต์ และประมวลผล ผ่าน ดาตา้ อนาไลท์ติกส์ และเม่ือ สิ่งที่ผู้ใช้เฟซบุ๊กโพสต์ลงในสเตตัส ตรงกับสินค้าที่ร้านค้ามีอยู่ เช่น ผู้ใช้โพสต์อวยพรวันเกิดคนสาคัญ หรือข้อความที่บ่งบอกว่าอยากซ้ือ ดอกไม้สง่ ให้คนสาคัญ ร้านดอกไม้ ก็จะข้ึนมาโชว์ที่หน้าฟีดข อง ผู้โพสต์ทันทีและทาการซ้ือขาย ชาระเงิน กันผ่านหน้าเฟซบุ๊กได้โดยตรง และเฟซบุ๊กก็ยังสามารถเก็บข้อมูล ความชอบเก่ยี วกบั ดอกไมจ้ ากผูใ้ ช้ เฉพาะบุคคลและนาเข้ามลู นไ้ี ปตอ่ ยอดกบั พารท์ เนอรอ์ ื่นๆไดอ้ ีกด้วย Digital 4.0 ยุค Machine-2-Machine ความฉลาดของเทคโนโลยีจะทาให้อุปกรณ์ต่างๆ คุยกันเองได้โดยอัตโนมัติโดยคานึงถึงผู้บริโภคเป็น หลัก เช่นรถยนต์คุยกับบ้านแจ้งเตือนบ้านให้เปิดไฟ เปิดแอร์ก่อนท่ีรถจะขับถึงบ้าน ซึ่งเป็นส่ิงที่องค์กรต้อง ปรับตัวตามเทรนด์เหล่านี้ให้ทันพัฒนานวัตกรรมเพ่ือต่อยอดธุรกิจ บนการแข่งขันที่รวดเร็วและรอบด้าน โดยเฉพาะสนิ คา้ อิเล็กทรอนิกส์ ที่อยอู่ าศยั การเงนิ ธนาคาร และยานยนต์ เป็นต้น โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 2

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 3

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 4

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 5

หลกั สตู รที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจดั การศกึ ษาและการพัฒนาทกั ษะผ้เู รียนรู้ สู่การเปน็ พลเมอื งยุคดจิ ิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 \\ ทักษะดิจิทลั กา้ วสู่ พลเมอื งในศตวรรษท่ี 21 ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลุ่มของความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรบั รู้ ทจี่ ะทาให้คนคนหน่ึงสามารถเผชิญกับความทา้ ทายบนเสน้ ทางของชวี ิตในยคุ ดิจิทลั และ สามารถปรับตวั ให้เขา้ กบั ชวี ติ ดจิ ทิ ัลได้ ความฉลาดทางดิจิทัลครอบคลุมท้ังความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติและค่านิยมท่ี จาเป็นต่อการใชช้ ีวิตในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอกี นยั หนง่ึ คือ ทักษะการใช้สื่อและการเข้าสังคมใน โลกออนไลน์ ดังนั้น พลเมืองดิจิทัล จึงหมายถึง สมาชิกบนโลกออนไลน์ ที่ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีความ หลากหลายทางเชื้อชาติ อายุ ภาษา และวัฒนธรรม ดังน้ัน พลเมืองดิจิทัลทุกคนจึงต้องมี ‘ความเป็นพลเมือง ดิจิทัล’ ท่ีมีความฉลาดทางดิจิทัลบนพ้ืนฐานของความรับผดิ ชอบ การมีจริยธรรม การมีส่วนร่วม ความเห็นอก เห็นใจและเคารพผู้อ่ืน โดยมุ่งเน้นความเป็นธรรมในสังคม ปฏิบัติและรักษาไว้ซ่ึงกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างความ สมดุลของการอยู่ร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ การเป็นพลเมืองดจิ ทิ ลั นั้น มีทักษะสาคญั 8 ประการ ทคี่ วรบม่ เพาะให้ เกดิ ขึ้นกับพลเมอื งดิจทิ ัลทกุ คนในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ ทักษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทดี่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ต้องมีความสามารถในการสร้างสมดลุ บรหิ ารจดั การ รกั ษาอตั ลักษณ์ท่ีดีของตนเองไว้ใหไ้ ด้ ทงั้ ในส่วน ของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนนีป้ ระเด็นเร่ืองการสรา้ งอตั ลักษณ์ออนไลนถ์ ือเปน็ ปรากฏการณ์ ใหม่ ท่ีทาใหบ้ ุคคลสามารถแสดงออกถึงความเป็นตัวตนต่อสงั คมภายนอก โดยอาศยั ช่องทางการสื่อสารผา่ น เว็บไซตเ์ ครือข่ายสังคมในการอธิบายรปู แบบใหม่ของการสื่อสารแบบมีปฏิสัมพนั ธ์ทางอินเทอรเ์ นต็ ซ่งึ เป็นการ แสดงออกเกยี่ วกับตัวตนผา่ นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมตา่ งๆ ทกั ษะในการรักษาข้อมลู สว่ นตัว (Privacy Management) ดลุ พนิ จิ ในการบริหารจัดการข้อมูลสว่ นตัว โดยเฉพาะการแชร์ข้อมูลออนไลนเ์ พื่อป้องกนั ความเป็น สว่ นตัวทงั้ ของตนเองและผู้อืน่ เปน็ สิ่งสาคัญท่ตี ้องประกอบอยู่ในพลเมืองดจิ ทิ ลั ทุกคน และพวกเขาจะต้องมี โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 6

หลักสตู รที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจดั การศกึ ษาและการพฒั นาทกั ษะผู้เรยี นรู้ สกู่ ารเป็นพลเมอื งยคุ ดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 ความตระหนักในความเท่าเทียมกนั ทางดจิ ิทัล เคารพในสิทธิของคนทกุ คน รวมถึงต้องมีวิจารณญาณในการ รักษาความปลอดภยั ของข้อมูลตนเองในสงั คมดิจิทลั รู้ว่าข้อมูลใดควรเผยแพร่ ข้อมูลใดไม่ควรเผยแพร่ และ ตอ้ งจัดการความเส่ยี งของขอ้ มูลของตนในส่อื สังคมดิจทิ ัลไดด้ ้วย ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์มวี ิจารณญาณท่ดี ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องและข้อมูลท่ีผิด ข้อมลู ท่ีมีเนื้อหาดีและ ขอ้ มูลท่ีเขา้ ข่ายอนั ตราย รู้วา่ ขอ้ มลู ลกั ษณะใดที่ถูกสง่ ผา่ นมาทางออนไลน์แลว้ ควรตั้งข้อสงสยั หาคาตอบให้ ชัดเจนกอ่ นเชอื่ และนาไปแชร์ ด้วยเหตุนี้ พลเมอื งดจิ ิทลั จึงตอ้ งมีความรคู้ วามสามารถในการเข้าถึง ใช้ สรา้ งสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และสื่อสารข้อมลู ข่าวสารผ่านเครื่องมอื ดิจิทัล ซง่ึ จาเป็นต้องมีความรดู้ า้ น เทคนคิ เพื่อใช้เครื่องมือดจิ ทิ ัล เชน่ คอมพวิ เตอร์ สมาร์ตโฟน แทบ็ เลต็ ได้อยา่ งเชี่ยวชาญ รวมถงึ มที ักษะในการ รู้คดิ ข้ันสูง เช่น ทกั ษะการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ ทจ่ี าเปน็ ต่อการเลือก จดั ประเภท วเิ คราะห์ ตคี วาม และ เขา้ ใจข้อมลู ขา่ วสาร มีความรู้และทกั ษะในสภาพแวดล้อมดิจิทัล การรดู้ ิจิทลั โดยม่งุ ให้เป็นผู้ใชท้ ด่ี ี เป็นผูเ้ ข้าใจ บรบิ ททด่ี ี และเปน็ ผู้สร้างเนอ้ื หาทางดจิ ทิ ัลที่ดี ในสภาพแวดล้อมสังคมดจิ ิทัล ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากับการใช้อปุ กรณย์ ุคดจิ ิทัล รวมไปถงึ การควบคมุ เพ่อื ให้เกิดสมดุลระหว่าง โลกออนไลนแ์ ละโลกภายนอก นับเปน็ อกี หนง่ึ ความสามารถทีบ่ ่งบอกถงึ ความเป็นพลเมืองดิจิทัล ไดเ้ ปน็ อยา่ ง ดี เพราะเป็นท่รี ู้กนั อยู่แลว้ ว่าการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมย่อมส่งผลเสียตอ่ สุขภาพ โดยรวม ทัง้ ความเครียดต่อสขุ ภาพจติ และเป็นสาเหตุก่อใหเ้ กิดความเจบ็ ป่วยทางกาย ซึ่งนาไปส่กู ารสญู เสีย ทรพั ย์สนิ เพื่อใชร้ กั ษา และเสียสขุ ภาพในระยะยาวโดยรเู้ ท่าไมถ่ ึงการณ์ ทกั ษะในการรบั มอื กับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากข้อมลู ทางสถติ ลิ ่าสุด สถานการณ์ในเร่ือง Cyber bullying ในไทย มคี า่ เฉลยี่ การกล่นั แกลง้ บน โลกออนไลนใ์ นรปู แบบตา่ งๆ ทส่ี งู กว่าคา่ เฉลีย่ โลกอย่ทู ี่ 47% และเกิดในรปู แบบทหี่ ลากหลาย อาทิ การดา่ ทอ กนั ด้วยข้อความหยาบคาย การตัดต่อภาพ สร้างข้อมูลเทจ็ รวมไปถึงการต้ังกลุ่มออนไลน์กดี กันเพื่อนออกจาก กลุ่ม ฯลฯ ดงั นั้น ว่าท่พี ลเมืองดจิ ิทลั ทกุ คน จึงควรมีความสามารถในการรบั รู้และรบั มือการคุกคามข่มขบู่ นโลก ออนไลนไ์ ด้อย่างชาญฉลาด เพ่อื ป้องกันตนเองและคนรอบข้างจากการคุกคามทางโลกออนไลนใ์ ห้ได้ ทักษะในการบรหิ ารจัดการข้อมูลทผ่ี ใู้ ช้งานทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการศกึ ษาวจิ ยั ยืนยันว่า คนรนุ่ Baby Boomer คือ กล่มุ Aging ทเี่ กดิ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใช้งานอุปกรณ์คอมพวิ เตอรห์ รอื โทรศัพท์เคล่อื นทข่ี องผอู้ น่ื และเปิดใช้งาน WiFi สาธารณะ เสร็จแลว้ มักจะละเลย ไม่ลบรหัสผ่านหรือประวตั ิการใชง้ านถงึ 47% ซงึ่ เส่ียงมากท่ีจะถูกผอู้ น่ื สวมสิทธิ ขโมยตวั ตนบน โลกออนไลน์ และเข้าถึงขอ้ มูลส่วนบคุ คลได้อยา่ งงา่ ยดาย ดังนัน้ ความเปน็ พลเมืองดจิ ิทัล จงึ ตอ้ งมีทักษะ ความสามารถทีจ่ ะเข้าใจธรรมชาตขิ องการใชช้ ีวิตในโลกดจิ ทิ ัล ว่าจะหลงเหลือรอ่ งรอยข้อมูลท้ิงไวเ้ สมอ รวมไป ถึงต้องเขา้ ใจผลลพั ธ์ที่อาจเกดิ ขนึ้ เพอ่ื การดแู ลส่งิ เหลา่ น้ีอย่างมีความรบั ผิดชอบ ทักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) โรงเรียนบา้ นทงุ่ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 7

หลักสตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาทักษะผูเ้ รยี นรู้ สูก่ ารเป็นพลเมอื งยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ความสามารถในการป้องกนั ข้อมลู ดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภัยท่เี ขม้ แข็งและป้องกันการ โจรกรรมข้อมูลไมใ่ ห้เกิดข้นึ ได้ ถ้าตอ้ งทาธรุ กรรมกบั ธนาคารหรือซอื้ สนิ ค้าออนไลน์ เชน่ ซอ้ื เสือ้ ผา้ ชดุ เดรส เป็นต้น ควรเปล่ียนรหัสบ่อยๆ และควรหลีกเล่ียงการใชค้ อมพวิ เตอร์สาธารณะ และหากสงสัยว่าข้อมลู ถูก นาไปใช้หรือสญู หาย ควรรบี แจ้งความและแจง้ หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องทนั ที ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเหน็ ใจและสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดกี ับผ้อู ื่นบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจทิ ัลที่ ดจี ะตอ้ งรู้ถึงคุณค่าและจรยิ ธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนักถึงผลพวงทางสังคม การเมือง เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม ทเ่ี กิดจากการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต การกดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มลู ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถงึ รจู้ ักสิทธิและ ความรบั ผดิ ชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพดู การเคารพทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น และการปกป้อง ตนเองและชุมชนจากความเสีย่ งออนไลน์ เชน่ การกล่ันแกลง้ ออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเด็ก สแปม เป็นต้น กลา่ วโดยสรุป การจะเปน็ พลเมืองดจิ ิทัลท่ีดีนั้น ตอ้ งมีความฉลาดทางดจิ ทิ ัล ซ่ึงประกอบขึ้นดว้ ยชุดทกั ษะและ ความรูท้ ้ังในเชงิ เทคโนโลยแี ละการคิดขัน้ สงู หรอื ท่ีเรยี กว่า “ความร้ดู จิ ทิ ัล” (Digital Literacy) เพอื่ ใหส้ ามารถ ใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มลู ข่าวสารในโลกไซเบอร์ รู้วิธีป้องกนั ตนเองจากความเส่ียงต่างๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึง สทิ ธิ ความรับผิดชอบ และจริยธรรมท่สี าคัญในยคุ ดิจทิ ัล และใช้ประโยชน์จากอนิ เทอรเ์ นต็ ในการมสี ว่ นรว่ ม ทางการเมือง เศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม ทเี่ กีย่ วกบั ตนเอง ชมุ ชน ประเทศ และพลเมอื งบนโลก ไดอ้ ยา่ ง สร้างสรรค์ ทมี่ า : บทความเร่ือง “พลเมืองดจิ ทิ ัล (Digital Citizenship)” โดย Phichitra Phetparee| เผยแพร่บน เว็บไซต์ สสส. (วนั ที่ 27 มีนาคม 2562) \\ โรงเรียนบ้านทุง่ โพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 8

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 9

หลกั สูตรท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รยี นรู้ สู่การเปน็ พลเมืองยุคดิจิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เริม่ ตน้ ทีค่ ุณครู เรยี นรกู้ ารสร้าง Growth Mindset Growth Mindset เกิดขนึ้ ได้กับทกุ คนและทกุ วยั ตัวคณุ ครเู องสามารปรับเปลย่ี นเพ่ือสรา้ ง Growth Mindset ได้ด้วย 5 ขอ้ นี้ เพ่ือสร้างโอกาสใหก้ บั ตนเองในการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ 1. เรียนร้ทู จี่ ะรับผดิ ชอบ ปรับปรุงเพื่อเปลีย่ นแปลง 2. ยอมรับและมองความล้มเหลว (setbacks) และการยอ้ นกลับ (Feeback) เปน็ โอกาสในการพฒั นา ทักษะ 3. สรา้ งโอกาสใหก้ บั ตนเอง มองหาความท้าทายใหม่ ๆ เพ่ือการเรยี นรแู้ ละเปดิ โลกใหม่ 4. สร้างพลังบวกกับตัวเอง และสร้างความคาดหวงั ในตัวผ้เู รียน 5. สื่อสารกับตนเองและกบั ผูเ้ รียนดว้ ยภาษา Growth Mindset เพ่ือสร้างพลังบวกแก่กันระหว่าง คณุ ครูและผ้เู รยี น สร้างห้องเรยี นดว้ ย Growth Mindset การปลูกฝงั ใหผ้ ู้เรียนมี Growth Mindset กระตุ้นที่อยากจะเรยี นรู้ และพฒั นาตนเอง คณุ ครูลองหาวิธีที่ เหมาะสมกบั บริบทของห้องเรียนและวยั ผเู้ รียน วธิ กี ารจากบทความนเี้ ป็นเพียงข้อเสนอแนะสาหรับห้องเรียนของคุณครคู รบั 1. ก่อนที่จะพูดหรอื กระทาสิ่งใด ลองพิจารณาการใชภ้ าษาแบบ Growth Mindset เพื่อสรา้ งพลงั บวก สร้างทัศนคติท่ดี ใี ห้กบั ตัวผูเ้ รียน เช่น “หนูทาไม่ได้ไมเ่ ป็นไร ลองหาวธิ ีใหม่” 2. ชมอยา่ งเหมาะสม ไม่มากจนเกินไป หลกี เล่ยี งคาชม เช่น เกง่ ฉลาดมาก เพราะเป็นการลดแรง กระต้นุ และจะทาให้เด็กคิดว่าเก่งแล้ว สง่ ผลตอ่ การปลูกฝงั Fixed mindset แต่เปล่ียนเป็น “คณุ ครภู มู ิใจท่ีหนู มคี วาม ตง้ั ใจเรียน” ชมด้วยเหตุผลทแี่ สดงถงึ ความตั้งใจ ความพยายามของผูเ้ รียน 3. ให้รางวัลกบั ความสาเรจ็ ของผู้เรียน จากการทากจิ กรรมร่วมกัน ความขยันจากการตั้งใจเรยี น โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 10

หลกั สูตรที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาทกั ษะผูเ้ รียนรู้ สู่การเป็นพลเมืองยคุ ดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 4. ท้าทายความสามารถผู้เรียนโดยแจ้งวัตถุประสงค์ใหท้ ราบตงั้ แตเ่ ร่มิ เพอื่ กระตุ้นให้เกดิ การมีสว่ น รว่ มในกจิ กรรม 5. รจู้ กั และเรยี นรู้จากความผิดพลาด พจิ ารณาจากความผิดพลาดนั้น แล้วลุกข้นึ มาพฒั นาตนเอง แลว้ ฝกึ ฝนอกี คร้ัง 6. ใชก้ ารย้อนกลบั หรือ feedback เปน็ เทคนิคในการพัฒนาผู้เรียน และให้เวลาให้เค้าไดพ้ ัฒนาจุดด้อยนน้ั การสร้าง Growth Mindset ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งไกลตัว หากเป็นเร่ืองของการปลูกฝังและยา้ เตือนการสร้างทศั นคติท่ี ดีให้กบั ผูเ้ รียน จดั การกบั ความล้มเหลวของตนเอง และสร้างโอกาสเพ่ือพัฒนาต่อ การสร้าง Growth Mindset ไมใ่ ชเ่ ฉพาะตวั ผู้เรียนเท่านัน้ คุณครเู องกส็ ามารถแลกเปลย่ี นเรียนรู้แนวความคิดน้ีไปพร้อม ๆ กนั เพ่ือสร้าง หอ้ งเรียน Growth Mindset ขอขอบคุณข้อมลู เวบ็ ไซต์ : Irisconnect โรงเรยี นบ้านท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 11

หลักสูตรท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจดั การศกึ ษาและการพฒั นาทกั ษะผู้เรยี นรู้ สู่การเปน็ พลเมอื งยุคดิจิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 การใช้สอ่ื ดจิ ิทลั ในการเรียนภาษาอังกฤษ ปจั จบุ นั เทคโนโลยีสื่อดิจทิ ัลต่าง ๆ มีความสาคัญในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่เี ป็นภาษาทีม่ ี บทบาทและความสาคญั เปน็ อยา่ งยิ่งในการศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรขู้ ้อมลู ตา่ ง ๆ และการติดต่อ สอื่ สารของ ผคู้ นทวั่ โลกเทคโนโลยีทาให้ผเู้ รยี นเกิดความกระตือรอื ร้นสนใจใสใ่ จศกึ ษาภาษาองั กฤษเพ่ิมมากข้ึนส่ือดจิ ิทัลที่ ใช้ในการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ เช่น บลอ็ ก ทวติ เตอร์ เวบ็ แอพพลิเคชน่ั ยทู ูป ซึ่งการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ เทคโนโลยีสือ่ ดิจทิ ัลเหลา่ น้จี ะทาให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาและมคี วามร้คู วามสามารถทางภาษาอังกฤษท่ีจะสามารถ นาไปใช้ในการศึกษาคน้ คว้าหาความรูข้ ้อมูลต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเองเกิดทักษะการเรียนรู้ตลอดชวี ติ เพือ่ นาไปดารง ชพี ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างสมบูรณ์และมปี ระสิทธภิ าพ ความทา้ ทายทส่ี าคัญต่อการเรียนร้ภู าษาองั กฤษให้เดก็ ในยคุ ปัจจุบัน 1. Learn by Digital Content - สอ่ื ออนไลนม์ ีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยแี ละการเติบโตของนักเรียนในยคุ ปจั จบุ ันเปน็ ไปอย่างสอดคล้อง กนั ทาให้เด็กยคุ ข้อมูลขา่ วสารใชเ้ วลากบั สว่ นมากทงั้ เล่นและเรยี นรูอ้ ยูใ่ นสื่อออนไลน์ สือ่ การสอนต่าง ๆ ไม่วา่ จะอยู่ในรปู แบบของภาพ, เสียง (Audiobook), วดิ ิโอ (Youtube), คอมพวิ เตอร์ (Games), หรือสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media) สามารถออกแบบให้เกดิ เป็นสื่อ การให้ความรู้ไดแ้ ทบทกุ ช่องทาง ดงั นน้ั ส่อื ออนไลน์ (Digital Content) จงึ มบี ทบาททส่ี าคญั มากต่อพัฒนาการของเด็ก โดยเฉพาะ ด้านภาษา จงึ เปน็ ความท้าทายใหม่ในการสรา้ งสรรคส์ ือ่ การสอนท่มี ีความน่าสนใจ พร้อมทัง้ ก่อให้เกดิ การ เรยี นร้ขู องเด็กรุ่นใหม่ทีม่ ีประสิทธิภาพและเห็นผลจรงิ ๆ 2. Learn for Career - เปา้ หมายของการเรียนรู้เพ่ือได้ใช้ในโลกของการทางาน ความตอ้ งการของเด็กร่นุ ใหม่ในการเรยี นภาษาเปล่ียนแปลงไป โดยจากผลการสารวจ พบวา่ “วัย Gen Y และ Gen Z มคี วามต้องการเพ่ิมพนู ความรู้เพ่ือไปใชใ้ นการทางาน มากอ่ นการนามาใช้ใน ชวี ิตประจาวัน” จะเหน็ วา่ แรงจงู ใจในการเรียนรู้ได้เปล่ียนแปลงไปจากการเรียนเพ่ือใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั เป็น การเรียนเพ่ือได้ใช้ในการทางานเป็นอนั ดบั หนึ่ง ซึง่ สง่ ผลต่อความตอ้ งการของบทเรยี นหรือหลกั สูตรท่ีใช้ในการ สอนภาษาอังกฤษ โรงเรยี นบา้ นทุง่ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 12

หลักสตู รที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบรหิ ารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สู่การเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทัลของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ดงั น้ัน การทาบทเรียนที่ตอบโจทยเ์ ดก็ รุน่ ใหม่จึงเปน็ เร่ืองท่ีสาคัญ เพ่ือสร้างแรงดึงดูดให้เดก็ ได้สนใจใน การเรยี นรู้ภาษาอังกฤษและตอบโจทยเ์ ปา้ หมายของการใช้ภาษาของเดก็ รุ่นใหม่ 3. Learn with Interaction - ปฏิสมั พนั ธ์มีผลต่อการเรยี นรู้ การสรา้ งปฏิสัมพันธ์ของผใู้ ช้ในแพลตฟอร์มเป็นปัจจัยทีส่ าคัญของการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ ่ีมี ประสทิ ธิภาพสาหรบั เด็กร่นุ ใหม่ ผ้คู นในยุคอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะวยั แห่งการเตบิ โตในปัจจุบนั มกั จะใช้เวลา มากไปกบั การเล่นเกมหรือใชง้ านโซเชยี ลมีเดยี ปัจจยั หนงึ่ ที่ทาให้คนทุกวนั นีม้ ีการใช้งานทม่ี ากขึน้ เรอ่ื ย ๆ คือ “ปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interaction)” โดยแพลตฟอร์มเหล่าน้ีสามารถสร้างปฏิสมั พนั ธ์ของผูใ้ ชง้ าน ซึ่งเปน็ แรงดึงดูดให้ ผู้ใช้มคี วามสนใจด้วยตัวของตัวเองไปพร้อม ๆ กับการเล่นหรอื ใชง้ านภายในแพลตฟอร์ม สอื่ ดิจทิ ลั ที่ใชใ้ นการเรียนรภู้ าษาอังกฤษสื่อดิจิทลั ในปัจจุบันแบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยแบ่งออกเปน็ 4ประเภท 1) บล็อก(Blogs) คอื เวบ็ ไซด์รูปแบบหนึ่งท่ีให้บริการสาหรบั บคุ คลท่วั ไปท่ีตอ้ งการบอกเลา่ เรอ่ื งราว ตา่ ง ๆ นาเสนอความคิดเห็นส่วนตัว สงิ่ ทต่ี นเองรู้หรอื ส่งิ ท่ีตนเองสนใจเพือ่ แบง่ ปนั ความรู้ใหก้ บั ผู้อน่ื จึงได้สรา้ ง และเขยี นบล็อกของตวั เองข้นึ มาทีม่ ีลกั ษณะคลา้ ยกบั การเขียนไดอาร่หี รือบันทึกสว่ นตวั ซึง่ ไดร้ ับความนยิ ม มากในปัจจุบนั ตวั อย่างเวบ็ ไซต์ทีเ่ ป็นบล็อกเชน่ GotoKnow, wordpress, blogger,Bloggang เปน็ ตน้ ปัจจุบนั น้บี ล็อกนน้ั สามารถที่จะแสดงรปู ภาพ ไฟล์เสยี งหรือไฟลว์ ิดโี อได้ ซ่งึ ผเู้ รยี นสามารถสรา้ งบลอ็ กสว่ นตวั เพอื่ ทาแฟ้มสะสมงาน (Portfolio)โดยผเู้ รียนอาจเขยี นบลอ็ กที่เกย่ี วกับเนือ้ หาในบทเรียน การบา้ นหรืองาน กลุม่ เปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้เข้ามาอา่ นแสดงความคดิ เห็นหรือใหผ้ ลสะท้อนกลับ(Feedback)ข้อวิพากษว์ ิจารณ์ ต่องานเขียนโดยผเู้ ขียนสามารถท่ีจะนาข้อคิดเหน็ วิพากษว์ ิจารณ์ ดงั กลา่ วมาเป็นประโยชนต์ ่อการปรับปรุง แก้ไขงานเขียนของตนให้ดีขึน้ ในโอกาสต่อไป การนา Blog มาประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษสามารถทาได้ ดังนี้ 1.ผู้สอนสามารถใช้บลอ็ กในการโพสต์งานหรือการบา้ นทมี่ อบหมายให้ผเู้ รียนทาสรา้ งบทเรียนหรอื แนะนาแหลง่ ความรูข้ ้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษท่มี ีความทนั สมัยใหแ้ กผ่ ู้เรียนทาให้ ผเู้ รียนไดต้ ดิ ตามทราบถึงความก้าวหนา้ ของการเรียนการสอนและสามารถพฒั นาทักษะทางภาษาองั กฤษของ ตนเองไดเ้ พ่ิมมากขึ้น 2.ผ้สู อนใชบ้ ล็อกในการชว่ ยพัฒนาทกั ษะการเขียนให้แกผ่ ู้เรียนไดโ้ ดยผู้สอนกาหนดวัตถุประสงคใ์ น การสอนและกาหนดประเด็นของเรื่องท่ีจะให้ผู้เรยี นเขียนหรอื บนั ทึกเช่นการฝกึ ทักษะการเขยี นภาษาอังกฤษ โรงเรียนบ้านท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 13

หลักสูตรท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาและการพฒั นาทักษะผ้เู รียนรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมอื งยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 เกยี่ วกับการท่องเทย่ี วซ่ึงผู้เรยี นจะเขยี นโดยใชร้ ปู แบบการเขียนท่ีหลากหลายเชน่ การเขยี นบรรยาย เล่าเร่ือง กิจกรรม ประสบการณ์ หรือความประทบั ใจและมีการแลกเปล่ียนความคิดเหน็ กับผ้อู ่นื ท่ีอาจจะเข้ามาอ่านและ แสดงความคิดเหน็ ของตนเองไวเ้ พือ่ ใหเ้ กิดการพฒั นาปรับปรุงงานเขียนของผู้เรียนให้มคี วามสมบรู ณแ์ ละมี ประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ 2) ไมโครบล็อก(Micro Blog) เป็นรปู แบบหนึง่ ของBlogมีการแสดงหวั ข้อและความคิดเหน็ ทกี่ ระชับ เปน็ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทจ่ี ากัดขนาดของขอ้ ความทเ่ี ขียนเชน่ Twitter, Tumblr และ Instagram โดย Twitter เป็น Micro Blog ท่มี ีผนู้ ยิ มใชม้ ากทสี่ ุด Twitter Twitter คือบริการเครือข่ายสังคมออนไลนจ์ าพวกไมโครบล็อก (Micro Blogging) โดยผใู้ ชส้ ามารถส่ง ข้อความยาวไม่เกิน 140 ตวั อกั ษร เปน็ การบอกว่าตัวเองกาลังทาอะไรอยูใ่ นช่วงเวลาน้ันหรือ รีทวติ (Re- tweet) ส่งตอ่ ข่าวสารทน่ี า่ สนใจของคนอ่นื ได้ด้วยเชน่ กนั ทวิตเตอร์สามารถนามาใช้เพือ่ ช่วยพัฒนาทักษะทาง ภาษาอังกฤษใหแ้ ก่ผ้เู รียนได้ ครูผูส้ อนสามารถจัดการเรยี นรูโ้ ดยการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน (Task-based Learning) ให้แกผ่ เู้ รยี น เป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning) การ สง่ เสรมิ การทางานรว่ มกนั เป็นหมู่คณะโดยครูมบี ทบาทเป็นผู้อานวยความสะดวกชว่ ยชี้แนะและสง่ เสรมิ วธิ กี าร เรียนร้ใู ห้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง (Harmandaoglu, 2012) โดยผสู้ อนสามารถกาหนดกิจกรรมได้ อยา่ งมากมายหลากหลายเพื่อให้ผเู้ รยี นไดม้ สี ่วนรว่ มในการเรยี นรซู้ ึ่งผู้สอนสามารถเลือกหัวข้อการศึกษาท่ี นา่ สนใจแล้วทวติ ขอ้ ความไปใหผ้ เู้ รยี นได้แสดงความเห็นบนทวติ เตอรเ์ กีย่ วกบั หวั ขอ้ หรือประเดน็ ดังกล่าวอกี ทง้ั ผสู้ อนยงั สามารถวเิ คราะห์ตรวจสอบไวยากรณ์ หรือแก้ไขงานเขียนให้แก่ผู้เรียนได้ นอกจากนี้ยงั สามารถพฒั นา คาศัพทภ์ าษาอังกฤษใหแ้ ก่ผู้เรียนโดยในแต่ละสปั ดาหอ์ าจมกี ารทวติ ส่งข้อความเกีย่ วกับคาเหมอื น (Synonyms) หรือคาตรงข้าม (Antonyms) เปน็ ต้นซึ่งทาให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้และพัฒนาคาศัพท์ของตนได้อย่าง กวา้ งขวางเพ่มิ ขึน้ การนาTwitterมาประยุกต์ใช้ในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษสามารถทาไดด้ ังนี้ 1. ในการฝึกทักษะการอา่ นผู้สอนสามารถแนะนาใหผ้ ู้เรยี นตดิ ตามบุคคลทผ่ี ู้เรยี นสนใจและเขยี น รายงานในสิง่ ท่ีได้เรียนรู้มาเก่ียวกับบุคคลนนั้ ๆหรือผู้สอนอาจทวติ รายชือ่ หนงั ส่อื ท่นี ่าสนใจ เช่นหนังสอื โรมโิ อ โรงเรยี นบ้านทุ่งโพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 14

หลักสูตรท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจดั การศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผูเ้ รยี นรู้ สกู่ ารเป็นพลเมอื งยุคดิจิทลั ของโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 และจเู ลยี ตโดย วิลเลียม เชกสเปียร์ (Shakespeare’s Romeo and Juliet) และตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ ึกษา เรยี นร้ใู นเรอื่ งที่เกย่ี วข้องกบั การเรยี นการสอนในเนื้อหาวชิ า 2. ในการฝึกทักษะการเขียน -ผ้สู อนสามารถให้ผูเ้ รียนระดมสมองช่วยกันคิดในหวั ข้อที่กาหนดซึ่งอาจ เป็นเรอ่ื งของไวยากรณ์เพ่ือเตรยี มความพร้อมกอ่ นเขา้ เรียน-ผู้เรยี นใชท้ วิตเตอร์ในพูดคุยแลกเปลีย่ นความ คิดเหน็ อภปิ รายกับผู้เรยี นคนอ่นื ในหัวข้อตา่ ง ๆ ทีส่ นใจอาจเปน็ เรอื่ งราวในชีวิตประจาวันหรือบทเรยี นใน ห้องเรยี น-ผสู้ อนสามารถใหผ้ เู้ รียนเขียนคาถามลงทวิตเตอร์กอ่ นหรือระหว่างเรียนซ่ึงผูส้ อนจะตอบคาถาม เหลา่ นัน้ ในขณะทาการเรียนการสอนได้เปน็ การช่วยให้ผูเ้ รยี นทีไ่ ม่กล้าถามได้มีโอกาสซักถามขอ้ สงสยั กบั ผสู้ อน โดยตรง-ผู้สอนอาจมอบหมายงานใหเ้ ขียนสรุปเรอ่ื งท่ีอ่านหรือฟงั โดยทวติ เป็นขอ้ ความไม่เกนิ 140 ตวั อักษรซึ่ง เป็นการฝกึ การเขยี นสรปุ ความและเป็นการทบทวนบทเรียนและความเขา้ ใจของผู้เรยี น 3) เว็บแอพพลเิ คชน่ั (Web Application) คอื โปรแกรมประยุกตบ์ นเวบ็ ที่ถกู เขยี นขึ้นมาสาหรับการ ใชง้ านเวบ็ เพจ(Webpage)ตา่ งๆสามารถเข้าถงึ ด้วยโปรแกรมค้นดเู วบ็ ผ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์อนิ เทอรเ์ นต็ เวบ็ แอพพลเิ คช่ันเปน็ ท่ีนยิ มเนือ่ งจากความสามารถในการดูแลและอัพเดทข้อมลู โดยไม่ต้องนาไปแจกจา่ ยหรือ ติดตงั้ ซอฟต์แวรบ์ นเคร่อื งคอมพวิ เตอร์เวบ็ แอพพลิเคชัน่ ท่ีนยิ มนามาใชใ้ นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ไดแ้ ก่ EDpuzzle และ Quizlet EDpuzzle เปน็ เทคโนโลยหี รอื เคร่ืองมือสาหรับผูส้ อนทช่ี ่วยในการสร้างสรรคส์ ือ่ บทเรียนปฏิสมั พนั ธ์ ใน รูปแบบวิดโี อ ผ่านการผสมผสานคลปิ วิดโี อหรือเน้ือหาบทเรยี นจากแหล่งทรพั ยากรทางการเรยี นรู้แบบเปิด ทหี่ ลากหลาย อาทิ YouTube, Khan Academy, National Geographic, TED Talks ในการสร้างสื่อวิดโี อ จาก Edpuzzle ผู้สอนสามารถออกแบบเนอื้ หารวมถงึ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นได้ทันที โดย ผู้สอนสามารถแทรกคาถาม หยุดวดิ ีโอเพอ่ื เพิม่ ขอ้ ความหรอื เลา่ เรอ่ื งได้คน่ั ระหว่างการดูวิดีโอเน้อื หา กลา่ วได้ ว่า Edpuzzle เปน็ เทคโนโลยที ่ชี ่วยสร้างส่อื เนือ้ หาบทเรยี นมัลตมิ ีเดียให้มีความนา่ สนใจ ผสู้ อนสามารถสร้าง สือ่ บทเรยี นปฏิสัมพันธ์ได้อย่างง่ายผา่ นการตดั ต่อคลปิ วิดีโอ แทรกคาถาม และทาให้ผ้เู รยี นรสู้ กึ สนุก กบั การ ทดสอบและการวดั ประเมินผล ผู้สอนสามารถประยุกตใ์ ช้ Edpuzzle ในกระบวนการเรียนการสอนท้ังใน รปู แบบการเรยี นรู้แบบ Active Learning และในรูปแบบห้องเรยี นกลบั ด้าน (Flipped Classroom) ได้อกี ด้วย (Amornrit,2018) Edpuzzle เหมาะกับผเู้ รียนทกุ เพศทุกวยั ผสู้ อนเพยี งแตเ่ ลือกส่ือวดิ โี อท่ีเหมาะ โรงเรยี นบา้ นทุง่ โพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 15

หลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาทักษะผู้เรียนรู้ สู่การเป็นพลเมอื งยุคดิจิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 สาหรับบทเรียนและผเู้ รยี นผูเ้ รยี นเพียงแต่มอี ปุ กรณ์ดจิ ทิ ัลเช่นiPadผเู้ รยี นกส็ ามารถเข้าถึงวิดโี อที่มี ประสทิ ธภิ าพต่อการฝกึ ทักษะการอา่ น การเขียนและการฟังได้เป็นอย่างดี(Alvaradoet al., 2016) การนาEdpuzzleมาประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ สามารถทาได้ดงั นี้ 1. ผู้สอนกาหนดวตั ถุประสงค์ เน้ือหาเรอ่ื งท่จี ะสอนเชน่ การฝึกทกั ษะการฟังข่าวภาษาองั กฤษจาก BBCจากนัน้ ทาการเลือกวิดโี อท่ีอาจจะสรา้ งขน้ึ มาเองหรือจากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ โดยผสู้ อนสามารถตัดต่อคลิป วดิ ีโอ อธบิ ายเน้อื หาไปพร้อมกบั การเล่นวดิ โี อแทรกข้อคิดเห็นหรือคาถามในแต่ละช่วงของวดิ ีโอตามความ ตอ้ งการและสามารถกาหนดใหผ้ เู้ รียนไมส่ ามารถข้ามเนื้อหาของวิดโี อได้ซงึ่ คาถามอาจเป็นคาถามแบบ ปลายเปดิ คาถามแบบหลายตัวเลอื กคาตอบหรือการใส่ข้อคิดเหน็ ต่าง ๆ 2. ผู้สอนมอบหมายงานใหผ้ ูเ้ รียนดคู ลปิ วดิ โี อท่สี รา้ งเนอื้ หาและคาถามไว้แล้วผู้เรียนดู คลปิ วดิ โี อและ ตอบคาถามผ้สู อนสามารถติดตามความกา้ วหนา้ ของผูเ้ รยี นจานวนครั้งทผ่ี ้เู รยี นเข้าดูสื่อวดิ ีโอ การเขา้ ระบบครั้ง ลา่ สดุ การเข้าทากิจกรรมผลคาตอบรวมถึงการให้คะแนนของผสู้ อน ผสู้ อนยังสามารถตรวจสอบไดอ้ ีกว่าผูเ้ รียน คนใดเข้าใจเน้อื หาในบทเรยี นแล้วและผู้เรียนทยี่ งั ไม่เข้าใจเนื้อหาทีเ่ รียนและตอ้ งการคาอธบิ ายเพ่มิ เตมิ 3. ผู้สอนสามารถใช้วดิ ีโอจาก Edpuzzle ในการนาเข้าสบู่ ทเรียนในหอ้ งเรยี นโดยให้ผู้เรียนดแู ละตอบ คาถามจากคลิปวดิ โี อจากน้นั ผู้เรียนแลกเปลย่ี นแสดงความคดิ เห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับคลปิ วิดีโอกบั เพ่ือนร่วมชัน้ เรียนและผ้สู อนอภปิ รายถึงปัญหาหรือข้อคาถามในคลิปวดิ ีโอทผี่ เู้ รยี นส่วนใหญ่ตอบไม่ได้หรือผ้สู อนอาจจะใช้ วดิ โี อจาก Edpuzzle ในการทบทวนบทเรยี นในห้องเรยี น โดยผูเ้ รียนจะดคู ลปิ วิดโี อและตอบคาถามทุกข้อ เพอื่ ประเมินผลการเรยี น ความก้าวหน้าและความเข้าใจในเน้ือหาบทเรียน นอกจากน้ีผู้เรียนสามารถสรา้ งวดิ โี อให้ ผ้สู อนหรอื เพื่อนร่วมห้องได้ดูเพอื่ แสดงถงึ ความเขา้ ใจในเนื้อหาที่เรยี นและส่งิ ท่ีได้เรียนรู้มา Quizletเป็นเว็บแอพพลิเคชั่นทีใ่ ช้ในการฝึกฝนทกั ษะดา้ นคาศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีใชบ้ ตั รภาพ บตั ร คาศัพทแ์ ละเกมสต์ ่าง ๆ เปน็ เครือ่ งมือสาหรบั การเรียนรซู้ ึง่ แสดงความหมายและรูปภาพประกอบ คาศัพท์และ วธิ ีการเรยี นรคู้ าศัพทห์ ลากหลายวธิ ี คอื 1) Flashcards คือการเรียนร้คู าศัพทจ์ ากความหมายและภาพ 2) Learn คอื แบบทดสอบคาศัพท์หลากหลายวธิ ีการเช่น บตั รคาศัพท์ คาถามแบบเลอื กตอบ 3) Write คือการพมิ พ์คาศพั ทจ์ ากภาพและความหมายทป่ี รากฏ 4) Spell คอื แบบทดสอบคาศัพท์ด้วยการฟังเสยี งและพิมพค์ าศัพทจ์ ากเสยี งที่ได้ยนิ 5) Test คอื การสรา้ งแบบทดสอบคาถาม 4 รูปแบบสามารถเลือกได้วา่ จะใช้คาถามแบบใดคือ แบบ เขยี นคาตอบส้ัน แบบเลอื กตอบแบบทดสอบแบบจบั คแู่ ละแบบจริงเท็จ 6) Match คือเกมส์จับคูค่ าศัพท์และความหมาย 7) Gravity คือเกมส์พิมพ์คาศัพท์หรอื ความหมายโดยคาถามจะหล่นลงมาพรอ้ มกบั อุกกาบาต โรงเรยี นบ้านทุ่งโพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 16

หลกั สตู รที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจดั การศึกษาและการพฒั นาทักษะผู้เรยี นรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมอื งยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 8) Live คอื เกมสท์ ่ใี หผ้ ู้เรียนเล่นเปน็ ทีมร่วมกันหาความหมายของศัพท์Quizletเหมาะสาหรับผู้ ต้องการพฒั นาทักษะดา้ นคาศัพท์ภาษาอังกฤษซึง่ อาจจะเป็นครผู ้สู อนทีต่ ้องการฝึกฝนทักษะดา้ นคาศัพท์ ภาษาองั กฤษให้แกผ่ ู้เรียนหรือผเู้ รียนท่มี ีความต้องการเพ่ิมพูนพฒั นาทักษะดา้ นคาศัพทภ์ าษาองั กฤษได้อย่าง งา่ ยดายและสนุกกบั การเรยี น(Phỉet al., 2015)ซ่งึ สอดคล้องกบั Özer & Koçoğlu(2017)ไดศ้ ึกษาเร่ืองThe Use of Quizlet Flashcard Software and Its Effects on Vocabulary Learning พบว่ากลุม่ ผู้เรยี นที่ ไดร้ บั การพัฒนาทักษะด้านคาศัพท์ภาษาองั กฤษผ่านเว็บแอพพลิเคชนั่ Quizletมีผลของการพัฒนาเรียนรู้และ จดจาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีกว่ากลุ่มผู้เรียนท่ีใช้วธิ ีการเรียนรคู้ าศพั ทแ์ บบจดใสส่ มุดจดคาศพั ท์และสอดคล้อง กบั งานวจิ ัยของ Phỉet al(2015)ท่ีได้ศึกษาเร่ืองApplication of Quizzlet.com to Teaching and Learning Business English Vocabulary at the University of Economics Ho Chi Minh Cityผล การศกึ ษาแสดงให้เหน็ ว่าผู้เรียนท่ีไดร้ ับการพฒั นาทกั ษะด้านคาศัพท์ภาษาองั กฤษผา่ นเว็บแอพพลิเคช่นั Quizletน้ันได้มกี ารพัฒนาทกั ษะด้านคาศัพท์ภาษาอังกฤษและเกิดแรงจูงใจต่อการเรยี นรู้และจดจาศัพท์ ภาษาองั กฤษเพมิ่ มากขน้ึ และผเู้ รียนแสดงทัศนคติวา่ Quizletมปี ระโยชน์ต่อการเรยี นรแู้ ละจาคาศัพท์ ภาษาองั กฤษเปน็ อยา่ งมาก เนือ่ งจากผเู้ รียนเหน็ ว่าการสอนแบบช้นั เรยี นแบบปกตแิ บบดง้ั เดิมนัน้ ไม่น่าสนใจ และน่าเบื่ออีกทงั้ ยังขาดทรัพยากรสาหรับการเรยี นรู้อย่างพอเพียงต่อการฝึกปฏิบตั ดิ ังนั้นการท่ผี สู้ อน ใช้Quizletในการสอนคาศัพท์ภาษาองั กฤษจะทาให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาทักษะด้านคาศัพท์ภาษาองั กฤษ การออก เสยี งภาษาองั กฤษซงึ่ ผูเ้ รยี นจะไดร้ บั ความสนุกสนานจากการเรียนร้แู ละเล่นเกมส์คาศัพทไ์ ปในเวลาเดียวกนั ซ่ึง ดกี ว่าการต้องท่องจาคาศัพทเ์ ปน็ จานวนมากซ่ึงจะทาใหผ้ ู้เรียนรสู้ กึ ยากในการจดจาคาศพั ทแ์ ละทาใหข้ าด แรงจงู ใจต่อการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ การนา Quizlet มาประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ สามารถทาไดด้ ังนี้ 1. ผู้สอนสามารถใช้ Quizlet ในการฝึกฝนทกั ษะคาศัพท์ภาษาองั กฤษใหแ้ ก่ผเู้ รียน โดยผสู้ อนนา คาศัพท์จากหนังสือหรือบทเรียนมาสรา้ งชดุ คาศัพท์พร้อมด้วยความหมายหรอื รปู ภาพ จากนั้นผเู้ รยี นสามารถ ฝึกฝนทักษะคาศัพทภ์ าษาองั กฤษได้ด้วยตนเองผ่านทางโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตหรือคอมพิวเตอร์โดยสามารถ เลอื กฝกึ ทักษะคาศัพทภ์ าษาอังกฤษไดห้ ลายวธิ ี เชน่ Flashcards, Learn,Write, Spell, Test, Match, Gravity, Live โดยผู้สอนสามารถใชช้ ุดคาศัพท์ในการฝึกฝนคาศัพท์ให้ผูเ้ รียนระหวา่ งการเรียนการสอนหรอื ทบทวนคาศัพทเ์ มอ่ื จบบทเรยี นและผู้เรียนสามารถใช้ Quizlet ในการฝึกฝนทักษะคาศัพทภ์ าษาองั กฤษนอก หอ้ งเรียนได้อกี ด้วย 2. ผูส้ อนสามารถให้ผเู้ รียนฝกึ ฝนทักษะการออกเสียงภาษาองั กฤษโดยผเู้ รียนฝึกออกเสยี งคาศัพท์ ตามทีไ่ ด้ยนิ จากการใชเ้ คร่ืองมอื เรียนรู้ Spell คือแบบทดสอบคาศพั ทด์ ว้ ยการฟังเสยี งหรือระหว่างการฝึกฝน ทักษะคาศพั ทโ์ ดยใชบ้ ตั รภาพ บัตรคาศพั ท์ 3. ผู้สอนสามารถสรา้ งแบบฝึกหัดไวยากรณโ์ ดยใช้ Quizletในลักษณะของบัตรคาทใ่ี หเ้ ขียนคาศัพท์ หรือโครงสร้างประโยคไวยากรณต์ ่าง ๆ ลงไปไดใ้ นแต่ละด้านของบตั รคาเช่น การให้ชดุ ของคาปรากฏร่วม (collocation words) ของคาศพั ท์แทนการใหค้ วามหมายของคาศัพท์นน้ั ๆ บนอกี ดา้ นของบัตรคาหรือการ เรยี งคาใหเ้ ปน็ ประโยคทถ่ี ูกต้องตามหลักไวยากรณโ์ ดยเขยี นคาศัพทท์ ี่สลบั ลาดับไว้ดา้ นหนึ่งของบัตรคาและอีก ดา้ นหน่ึงใหเ้ ขียนประโยคทถ่ี ูกตอ้ งตามหลักไวยากรณข์ องชุดคาทส่ี ลับท่กี ันนนั้ ทาให้ผ้เู รียนฝกึ ฝนและจดจาหลัก ไวยากรณ์ได้ 4)Media Sharing เปน็ เวบ็ ไซต์ทใ่ี หผ้ ู้ใช้สามารถอัพโหลดรปู ภาพ วิดีโอ หรอื เพลงเพื่อแบ่งปันหรือ เผยแพร่ให้กบั สมาชกิ หรอื สาธารณชนทัว่ ไปตัวอยา่ งเว็บไซต์ทเี่ ปน็ Media Sharingเช่น Youtube, Vimeo, โรงเรยี นบา้ นทุ่งโพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 17

หลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหม่ของการบรหิ ารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทักษะผู้เรยี นรู้ สกู่ ารเป็นพลเมอื งยุคดิจิทัลของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 Veoh, Flickr, Photobucket, Imageshack และ Snapfish ซง่ึ Youtubeเป็น Media Sharingทไี่ ด้รบั ความ นิยมมากท่ีสุด โรงเรยี นบ้านทงุ่ โพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 18

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 19

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 20

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 21

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 22

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 23

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 24

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหม่ของการบริหารการจดั การศกึ ษาและการพัฒนาทักษะผู้เรยี นรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมอื งยุคดจิ ิทลั ของโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการเข้าอบรม โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 25

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 26

หลกั สตู รที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจดั การศึกษาและการพัฒนาทักษะผเู้ รียนรู้ สู่การเป็นพลเมอื งยคุ ดิจิทัลของโลกแหง่ ศตวรรษที่ 21 ภาคผนวก ข เกยี รตบิ ตั รผ่านการทดสอบ โรงเรียนบา้ นทุ่งโพธิ์ สพป.สกลนคร เขต ๓ 27

หลกั สตู รที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาทักษะผู้เรยี นรู้ สกู่ ารเปน็ พลเมืองยุคดิจิทัลของโลกแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เกียรติบัตร หลักสูตรที่ 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพัฒนาทกั ษะผูเ้ รียนรสู้ กู่ ารเปน็ พลเมืองยุคดิจทิ ัลของโลกแห่งศตวรรษท่ี 21 \"Reimagined Education & Learner for Global Digital Citizenship in 21st Century\" โรงเรยี นบ้านทุง่ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 28

หลกั สตู รท่ี 3 : มุมมองใหมข่ องการบริหารการจัดการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะผเู้ รยี นรู้ สูก่ ารเปน็ พลเมืองยุคดจิ ิทลั ของโลกแห่งศตวรรษที่ 21 โรงเรียนบา้ นท่งุ โพธ์ิ สพป.สกลนคร เขต ๓ 29