Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Trang Report

Trang Report

Published by Kornyaphat Hutsadee, 2022-06-25 04:49:56

Description: Trang Report

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ 2563 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกที่ต้งั ตรงั

1 รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 ศนู ย์การศกึ ษานอกท่ตี งั้ ตรัง บริบทองค์กร โดยปัจจุบันนี้ศนู ย์การศกึ ษานอกที่ตัง้ ตรัง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีการดำเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอนควบคู่ไปกับการดำเนินงานตามพันธกิจและกิจกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอัตลักษณ์ อาทิ ร้านกาแฟและศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาหาร หอพักนักศึกษา โดยมีบุคลากรทั้งสิ้นจำนวน 77 คน ประกอบด้วย สายบริหาร 18 สายวิชาการ 25 คน และสายสนับสนุนวิชาการ 34 คน ปีการศึกษา 2562 ศนู ยก์ ารศึกษานอกทตี่ ัง้ ตรงั เปิดทำเรยี นการสอนจำนวน 2 สาขาวิชา ประกอบดว้ ย สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ และสาขาวิชา การทอ่ งเที่ยว โดยมีจำนวนนกั ศึกษาทงั้ สิน้ 75 คน จำนวนบคุ ลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา นอกที่ตั้ง ตรัง จัดตั้งขึ้น ตำแหนง่ ทางวชิ าการ วฒุ กิ ารศกึ ษา รวม ป.ตรี ป.โท ป.เอก 21 ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (สถาบันราชภัฏสวน อาจารย์ 4 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ - 20 1 25 ดุสติ ในขณะนัน้ ) เมื่อวนั ท่ี 10 มิถนุ ายน 2545 โดยเป็นศนู ยก์ ารศกึ ษา -22 ฯ แห่งแรกที่เปิดการจัดการเรียนการสอนในพื้นที่ภาคใต้ ตามความ รวมทงั้ หมด รวม ต้องการของท้องถิ่น โดยนายทวี สุระบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร - 22 3 34 จังหวัดตรัง ในขณะนั้น ได้ประสานงานขอความร่วมมือจาก 18 มหาวิทยาลัยฯ (สถาบันราชภัฏสวนดุสิต) ให้เปิดการจัดการเรียน จำนวนบคุ ลากรสายสนับสนุน 52 การสอนในระดับปริญญาตรี จำนวน 4 โปรแกรมวิชา คือ (1) โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์ (2) โปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจ วุฒิการศกึ ษา รวม (3) โปรแกรมวิชานิติศาสตร์ และ (4) โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรม 11 ท่องเที่ยว โดยเริ่มเปิดทำการเรียนการสอน ในภาคเรียนที่ 1 ปี สายงาน ต่ำกว่า ป.ตรี ป.โท ป.เอก 64 การศึกษา 2545 เป็นภาคเรียนแรก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2545 ป.ตรี ณ อาคารเลขที่ 23 ถนนเทศารัษฎา บา้ นโคกแค หมูท่ ี่ 2 ตำบลเขาขาว 75 อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง โดยใช้พื้นที่ของอาคารสุรบาล สายสนับสนุน - 21 10 3 วิทยาลัยการอาชพี ห้วยยอด สายบรกิ าร 18 - - - ตอ่ มาสภาสถาบันราชภัฏสวนดุสิต ไดอ้ นมุ ัติใหจ้ ดั ซื้อที่ดิน จำนวน 6 ไร่ 1 งาน 23 ตารางวา บริเวณถนนเพชรเกษม อำเภอห้วยยอด รวมทงั้ หมด จังหวัดตรงั และไดร้ บั งบประมาณก่อสร้างอาคารเรยี น จากจังหวดั ตรัง งบประมาณจำนวน 30 ล้านบาท ในการก่อสร้างอาคารเรียนดุสิต ข้อมลู เก่ยี วกับหลกั สูตร ป.ตรี พาราและงบประมาณก่อสร้างอาคารศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาหาร 11 นานาชาติสวนดุสิต งบประมาณจำนวน 27 ล้านบาท และตั้งแต่ภาค หลักสูตร / สาขาวชิ า เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นมา ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง 64 ดำเนินการจัดการเรียนการสอนที่เลขที่ 111 ถนนเพชรเกษม หลักสูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต ตำบลหว้ ยยอด อำเภอห้วยยอด จงั หวดั ตรงั สถานท่เี ดยี ว สาขาวชิ าการทอ่ งเทยี่ ว หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีการประกอบอาหาร และการบรกิ าร รวมทงั้ หมด

2 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2563 ศูนย์การศกึ ษานอกที่ตั้ง ตรงั การบริหารจัดการศนู ย์การศกึ ษานอกทต่ี ัง้ ตรงั ใหเ้ ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงเพอื่ ความอยู่รอด และเตบิ โตอย่างยงั่ ยนื การเผชิญกับอุปสรรคและความท้าทายใหม่ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ทั้งสภาพ เศรษฐกิจ ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด สภาพอากาศ สิ่งแวดล้อม พฤติกรรม ความคาดหวังและความต้องการของผู้คน ที่เปลี่ยนแปลงไปรวมถึงวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมยุควิถีใหม่ (New normal) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 และสถานการณ์ต่าง ๆ อีกมากมายที่ เข้ามาทา้ ทายความสามารถในการบรหิ ารจัดการองค์กร ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง จำเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับสถานการณ์ปัจจุบัน ตอ้ งปรับเปลย่ี นวิธีคดิ และวธิ ีการทำงานใหม่ทใ่ี ห้เกิดการทำงานเช่ือมโยงและประสานกัน เพ่อื ใชท้ รัพยากรภายในองค์กรใหม้ คี วามคุม้ ค่าและเกดิ ประสิทธภิ าพ • ขับเคลื่อนองค์กรสู่การรับรองสำนักงานสีเขียว (Green Office) ได้รับรางวัล ระดบั ดี (ทองแดง) • ปรบั ปรงุ มาตรฐานการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มรา้ นกาแฟ Dusit Serve • การจำหน่ายผลิตภัณฑ์บนรถโมบายจาก ร้านกาแฟ Dusit Serve ครัวดุสติ ตรงั ศูนย์ฝึกปฏิบตั กิ ารอาหารนานาชาติ และผลผลติ จากสวนเมลอน • ปรับปรุงระบบสารสนเทศขององค์กร SMART SDU TRANG อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุน ข้อมูลและระบบการการดำเนินงานภายในองค์กรให้เกิด ประสิทธิภาพ เช่น การจองทรัพยากร ห้องเรียน ห้องประชุม ยานพาหนะ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ • จัดโครงการอบรมพัฒนาทักษะด้านอาหาร โดยศูนย์ฝึกปฏิบัติการอาหาร นานาชาติ

3 รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 ศูนยก์ ารศึกษานอกท่ีตั้ง ตรงั การพัฒนาหลกั สูตรอัตลักษณ์ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการทอ่ งเท่ียว ศูนยก์ ารศึกษานอกทต่ี ้งั ตรัง มีเครอื ข่ายความรว่ มมอื กับสถาบันการศกึ ษา องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ฯลฯ เพื่อพัฒนาใหห้ ลักสูตรอตั ลักษณ์มคี วามเข้มแขง็ ทางด้านวชิ าการ

4 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2563 ศูนย์การศกึ ษานอกทตี่ ัง้ ตรงั หลักสตู รฝกึ อบรม “ พฒั นา Skill เดมิ เพ่มิ เติม Skill ใหม่ ” จากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ที่ผ่านมาทำให้การจัดการเรียน ของหลักสูตร ณ ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วและเปลี่ยน รูปแบบและวิธีการสอน ไปเป็นแบบออนไลน์เพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอน แก่นักศึกษาในสถานการณ์ดังกล่าว และนำมาสู่การพัฒนาหลักสูตร Re/Up Skill และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตตามนโยบายของประเทศให้แก่นักศึกษา บคุ ลากร ศิษยเ์ กา่ และประชาชนทว่ั ไป • SDUCOURSE.COM หลักสูตรที่มาจากการสำรวจความต้องการของนักศึกษา และศษิ ยเ์ กา่ • หลักสตู รอบรมพฒั นาทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ให้แก่ศิษยเ์ ก่า และบุคคลทว่ั ไป • หลกั สตู รระยะส้นั ส่งเสริมวชิ าชพี ทางดา้ นอาหาร SDUCOURSE.COM

5 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ 2563 ศนู ย์การศึกษานอกท่ีต้งั ตรัง การบริการสิง่ อำนวยความสะดวก : Infrastructure services ระบบสนบั สนุนการทำงาน o ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง พัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศขององค์กร SMART SDU TRANG อย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการทำงานของฝ่ายงาน ในศูนย์ ฯ ตรัง เช่น การจองทรัพยากร ห้องเรียน ห้องประชุม ยานพาหนะ และอุปกรณ์ เปน็ ต้น o ดูแลบำรุงรักษาระบบสารสนเทศและโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่มีความมั่นคง ปลอดภัย และให้บริการครอบคลุมทุกพื้นที่ใน บรเิ วณศนู ยก์ ารศึกษาโดยระบบหลกั เชือ่ มโยงกับสว่ นกลางของมหาวทิ ยาลยั o การดแู ลระบบเครอื ข่ายไร้สายหรือ Wi Fi ใหค้ รอบคลมุ ทุกพื้นที่ ทัง้ ในห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ หอพกั ห้องนั่งเล่น ทำใหน้ กั ศึกษาและบุคลากรสามารถเช่ือมต่อ เขา้ กับเครอื ขา่ ยไดต้ ลอดเวลาทอี่ ยู่ภายในศูนย์การศกึ ษา พน้ื ท่สี ร้างสรรค์การเรียนรู้และสภาพแวดล้อม เพ่อื ส่งเสริมการสร้างสรรคก์ ารเรยี นรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกไวใ้ หน้ กั ศกึ ษาและบุคลากร อาทิ o พื้นที่ Activity Space ใชท้ ำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทง้ั การประชุม สัมมนา หรือการทำงานกลุ่ม ซ่งึ ภายในห้องมีโตะ๊ เก้าอี้ โซฟา ชุดเคร่อื งเสยี ง ให้บริการแกบ่ คุ ลากร นักศึกษา และประชาชนทว่ั ไป o ในส่วนของร้านกาแฟ Dusit Serve ยังเปิดโอกาสให้สามารถเข้าไปรับประทานของว่างและเครื่องดื่มพร้อมกับการทำกิจกรรมในพื้นท่ี ดังกล่าว ซึ่งปัจจุบันกำลังมีการก่อสร้างเพิ่มเติมให้กลายเป็น Co-Working ที่สมบูรณ์แบบและมีพื้นที่กว้างขวางมากขึ้น รองรบั การทำงานกลุ่มทีม่ ีขนาดใหญ่ขน้ึ o ในส่วนของหอพักทั้งชั้นล่างและชั้นบนสุดยังได้มีการจัดพื้นที่ว่างพร้อมสิ่งสนับสนุนการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น อุปกรณ์กีฬาในร่ม ได้แก่ โตะ๊ ปงิ ปอง เครอื่ งคอมพิวเตอรแ์ ละบริการพรนิ เตอรใ์ นสำนกั งานหอพกั หรือพ้นื ท่รี ับชมโทรทัศน์ o การดแู ลสภาพแวดลอ้ มภายในพื้นทขี่ องศนู ย์การศึกษานอกทต่ี ั้ง ตรัง ให้มคี วามร่มรน่ื สะอาด และปลอดภัยแก่บคุ ลากร และนกั ศึกษา ระบบสนบั สนนุ ผเู้ รียน o บริการใหค้ ำปรกึ ษาทางวิชาการและการใชช้ ีวิต o บรกิ ารการขอทดสอบภาษาองั กฤษ (Pre - test Toeic) o บรกิ ารจัดหาแหลง่ ทุนการศึกษา , บริการหอพัก , บรกิ ารรถรับ - ส่งนักศกึ ษา สิง่ อำนวยความสะดวก o ห้องพยาบาล o หอ้ งละหมาด o ห้องนำ้ คนพิการ o ห้องบรกิ ารซักรีด o ห้องนันทนาการและอปุ กรณก์ ีฬา o คอมพวิ เตอร์

6 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2563 ศูนยก์ ารศึกษานอกท่ตี ง้ั ตรงั องค์กรทพี่ ร้อมรับการเปลยี่ นแปลง : Adaptive organization การปรบั กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ ให้เทา่ ทนั สถานการณ์ ผบู้ รหิ ารศูนย์การศกึ ษานอกทีต่ ้งั ตรงั ได้ให้นโยบายการบรหิ ารจัดการศนู ยฯ์ และการทำงานของบุคลากรให้มคี วามยืดหยุ่นโดยยงั คงอยใู่ นกฎเกณฑ์และระเบยี บปฏิบตั ิ ในชว่ งสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 บคุ ลากรตอ้ งมกี ารปรบั เปลยี่ น การทำงานเป็นแบบ New normal การปฏบิ ตั ิงานจากที่บา้ นโดยใช้เทคโนโลยี เพ่ืออำนวยความสะดวก และเครือ่ งมอื ที่มหาวทิ ยาลัยสนบั สนุนในการติดตอ่ สอื่ สาร และการจัดการเรียนการสอนของหลกั สตู ร นอกจากน้ี ไดพ้ ัฒนางานใหม่ ทีน่ อกเหนอื จากการทำงานเดิม เช่น การทำคอร์สออนไลน์ (SDUCOURSE.COM) การปลูกเมลอนปลอดสารพิษ เป็นตน้ ทำให้เกิดการพัฒนาทักษะการทำงานของบุคลากร ให้มคี วามหลากหลายยงิ่ ข้ึนกว่าเดิมอกี ดว้ ย การสรา้ งและหล่อหลอมคนสวนดสุ ิต เป้าหมายการพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะของบคุ ลากรของศูนย์ ฯ ตรัง การจดั สรรงบประมาณอยา่ งคมุ้ ค่า คือ การพัฒนาสมรรถนะหลัก (Core Competency) และพัฒนา ส ม ร ร ถ น ะ เ ฉ พ า ะ ( Functional Competency) แ ก ่ บ ุ ค ล า ก ร ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง ได้ลงทุนสร้างโรงเรือนเมล่อนในพื้นท่ี ทั้งสายวิชาการ และสายสนับสนุนตามกรอบการประเมินสมรรถนะ ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับบุคลากร ของบคุ ลากรและทศิ ทางทมี่ หาวทิ ยาลัยกำหนด ดงั น้ี และนักศึกษาในการปลูกเมล่อนเพื่อเรียนรู้กระบวนการตั้งแต่การ ปลูกจนกระทั่งสู่ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมและพัฒนาบคุ ลากรสายวิชาการ เพื่อจำหน่าย นอกจากนี้ มีการลงทุนปรับปรุงบรรยากาศภายในร้าน กาแฟ Dusit Serve ซึ่งเป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์การเรียนรู้ใน o พฒั นาความเชี่ยวชาญด้านการจดั การเรียนการสอนผ่าน เรือ่ งการบรกิ ารเครอื่ งดื่ม และการบริการดแู ลลูกค้าภายในร้านด้วย กระบวนการ KM o พัฒนาความเชี่ยวชาญในการเขียนโครงการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ และการพฒั นาบทความวิชาการ o สนบั สนุนการทำวิจยั เพ่อื พัฒนาองคค์ วามรู้ และเข้าร่วม ประชุมทางวิชาการ o สนับสนนุ ให้อาจารยผ์ ลิตผลงานทางวชิ าการ ผลงานวจิ ัย และขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ การส่งเสริมและพัฒนาบคุ ลากรสายวชิ าการสายสนับสนุน o พัฒนาทกั ษะการใช้เทคโนโลยี o พัฒนาบุคลิกภาพสำหรับผู้ให้บริการอาหารและ เคร่อื งดม่ื ตามมาตรฐานสากล

7 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2563 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ ง้ั ตรัง มุ่งเน้นอตั ลกั ษณ์ด้านการอาหารและการบรกิ าร : Spotlight SP series ศูนย์การศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง สร้างความเข้มแขง็ ทางด้านวิชาการโดยร่วมมือกบั คณะโรงเรียนการเรือน และสาขาวิชการท่องเที่ยว จัดกิจกรรมการจัดการเรียน การสอน และพฒั นานกั ศกึ ษา อาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน บุคคลภายนอก เชน่ • โครงการ Suan Dusit Elegant Dinner Night 2020 • โครงการเชฟพรเี มยี ม • โครงการอบรมหลักสูตรพัฒนานักศึกษา อาจารย์และบุคลากร ทางด้านอาหารและการบรกิ าร • โครงการบริการวชิ าการแก่ชุมชนในจงั หวัดตรัง • เตรียมรบั การตรวจการขอรับรองหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอาหารฮาลาล เปา้ หมาย • เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการอาหารที่สะท้อน จากความเชี่ยวชาญผ่านการปฏิบัติเพื่อสร้างความแตกต่าง และเสริมความเข้มแข็งจากรากฐานการเรือนสู่ความเป็นสากล (Culinary Art and Services with Professional by Hands) • เพื่อสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวและบริการที่มีความโดดเด่น ด้านบุคลิกภาพ มีมาตรฐานการบริการระดับสากล (World Class Standard) เป็นนวตั กรการบรกิ าร (Service innovator) ให้เขา้ กับยุคดิจทิ ัล

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ 2563 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกที่ต้งั ตรงั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook