Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

Published by Mayura Tunkaew, 2021-02-24 08:31:37

Description: บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

ประวตั ิบุคคลสาคญั ของคอมพิวเตอร์  ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ผทู้ ่ีไดร้ ับขนานนามวา่ เป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์ ในปี 1822 (พ.ศ. 2365) งานวจิ ยั ที่ทาใหเ้ ขาโด่งดงั มากคือ เครื่องผลต่าง (Difference Engine) ซ่ึงไดร้ ับทุนสนบั สนุนจากรัฐบาล โดยเครื่องน้ีสามารถคานวณคา่ ของฟังกช์ นั ทางตรีโกณมิติได้ ซ่ึงอาศยั หลกั การตา่ ง ๆ ทาง คณิตศาสตร์ แต่โครงการกต็ อ้ งยตุ ิลงเม่ือเขาไดค้ น้ พบความไมน่ ่าเชื่อถือบางประการในการคานวณ หลงั จากน้นั แบบเบจหนั ไปคิดเคร่ืองใหมท่ ี่ชื่อวา่ เคร่ืองวิเคราะห์ (Analytical Engine) โดยเคร่ืองน้ีประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 4 ส่วน คือ 1. ส่วนเกบ็ ขอ้ มูล เป็นส่วนที่ใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลนาเขา้ และผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการคานวณ 2. ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใชใ้ นการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ 3. ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใชใ้ นการเคลื่อนยา้ ยขอ้ มูลระหวา่ งส่วนเกบ็ ขอ้ มูลและส่วนประมวลผล 4. ส่วนรับขอ้ มูลเขา้ และแสดงผลลพั ธ์ เป็นส่วนท่ีใชร้ ับขอ้ มูลจากภายนอกเครื่องเขา้ สู่ส่วนเกบ็ ขอ้ มูล และแสดงผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการ คานวณ แนวคิดดงั กล่าวเป็นเพยี งทฤษฎีเท่าน้นั เพราะเขาไม่สามารถสร้างออกมาในช่วงท่ีเขามีชีวิตอยู่ บุคคลท่ีนาแนวคิดของแบบเบจมาสร้างเครื่องวเิ คราะห์ (Analytical Engine) กค็ ือ เฮนร่ี ลูกชายของแบบเบจ ในปี 1910 (พ.ศ. 2453) และดว้ ยเครื่อง Analytical Engine มีฟังกช์ นั่ หนา้ ที่หลายอยา่ งเช่นเดียวกบั คอมพวิ เตอร์ในยุคปัจจุบนั ทาให้ ชาลส์ แบบเบจ (Charles Babbage) ถูกขนานนามใหเ้ ป็นบิดาแห่งคอมพิวเตอร์

เอดา ไบรอน เลิฟเลซ (Lady Ada Byron Lovelace)  โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก เมื่อ ค.ศ.1832 เอดาอายุ 17 ปี กม็ ีผแู้ นะนาใหเ้ อดารู้จกั Mrs. Somerville แห่งเคมบริดจ์ ผหู้ ญิงเก่งแห่ง ยคุ ท่ีเคยแปลงานของLaplace มาเป็นภาษาองั กฤษ เอดาจึงเขา้ มาคลุกคลีกบั เพอ่ื นกลุ่มน้ี จนไดร้ ู้จกั กบั ชาลส์ แบบเบจ ในงานสงั สรรค์ แห่งหน่ึง ในที่สุด ในงานวนั น้นั ตอนที่แบบเบจกล่าว “จะเป็ นอยา่ งไร ถา้ หากเคร่ืองคานวณไม่เพยี งสามารถหยง่ั รู้ได้ หากแต่สามารถ ตอบสนองตอ่ การหยง่ั รู้น้นั ไดด้ ว้ ย”  ไม่มีใครสนใจแนวคิดน้ีของแบบเบจเลย ยกเวน้ เอดา ซ่ึงเธอรู้สึกสนใจในงานน้ีเป็นอยา่ งมาก จนอาสาท่ีจะช่วยพฒั นา โดยสิ่งที่เธอทา คือ การสร้างภาษาสาหรับเคร่ืองวเิ คราะห์ (analytical engine) ของแบบเบจ  ในช่วงสิบปี ท่ีผา่ นมา ท้งั เอดาและแบบเบจ ยงั เป็นเพอื่ นกนั ทางจดหมาย และแลกเปล่ียนความเห็นเรื่องเครื่องวเิ คราะห์อยา่ งสม่าเสมอ โดยจดหมายของท้งั สองถูกเกบ็ ไวอ้ ยา่ งดีในยคุ น้ี เพราะมีขอ้ มูลน่าสนใจมากมาย เช่น เอดาบอกวา่ เธอเช่ือวา่ ตอ่ ไปเคร่ืองมืออนั น้ี จะมี ความสามารถที่จะแต่งเพลงที่ซบั ซอ้ น สร้างภาพกราฟิ ก นามาใชเ้ พ่อื การคานวณข้นั สูง และพฒั นาวงการวทิ ยาศาสตร์ได้ ในจดหมาย ฉบบั หน่ึง เอดาแนะนาแบบเบจวา่ ให้ลองเขียนแผนการทางานของเครื่องมืออนั น้ี ใหส้ ามารถคานวณBernoulli numbers ข้ึนมา  ต่อมา แผนการทางานที่แบบเบจเขียนข้ึนมาชิ้นน้นั กถ็ ูกยกยอ่ งวา่ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตวั แรกของโลก เธอจึงไดร้ ับการยกยอ่ ง วา่ เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก อีกร้อยกวา่ ปี ต่อมา ในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ สร้าง ภาษาคอมพิวเตอร์มาตรฐาน ISO ข้ึนมาตวั แรก พร้อมต้งั ชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ เลด้ี เอดา วา่ ภาษา \"ADA\"

ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ (Dr.Herman Hollerith)  นกั สถิติชาวอเมริกนั เป็ นผคู้ ิดประดิษฐ์บตั รเจาะรูสาหรับเก็บขอ้ มลู ใน ค.ศ.1884 โดยไดแ้ นวคิดจากบตั รควบคุมการ ทอผา้ ของ Jacquard และวธิ ีการหนีบตว๋ั รถไฟของเจา้ หนา้ ที่รถไฟ นามาดดั แปลงและประดิษฐ์เป็นบตั รเกบ็ ขอ้ มลู ข้ึน และทาการสร้างเครื่องคานวณไฟฟ้าท่ีสามารถอ่านบตั รที่เจาะได้ ทาให้สามารถทางานไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและประหยดั ค่าใชจ้ ่ายไดม้ าก  เม่ือปี ค.ศ. 1880 สานกั งานสารวจสามะโนประชากรสหรัฐอเมริการไดท้ าการสารวจสามะโนประชากรโดยใช้ แรงงานคนในการประมวลผล ตอ้ งใชเ้ วลาถึง 7 ปี คร่ึงยงั ไมแ่ ลว้ เสร็จ ขอ้ มลู ที่ไดไ้ มแ่ น่นอนและไม่คอ่ ยถูกตอ้ ง ต่อมา ค.ศ. 1890 สานกั งานฯ จึงไดว้ า่ จา้ ง ฮอลเลอริธ มาทาการประมวลผลการสารวจ ปรากฏวา่ เม่ือใชเ้ คร่ืองทาตารางขอ้ มูล (Tabulating machine) และหีบเรียงบตั ร (Sorting) ของฮอลเลอริธแลว้ ใชเ้ วลาในการประมวลผลลดลงถึง 3 ปี  ค.ศ. 1896 : ฮอลเลอริธ ไดต้ ้งั บริษทั ผลิตและจาหน่ายอุปกรณ์การประมวลผลดว้ ยบตั รเจาะรู และต่อมาไดเ้ ปล่ียนช่ือ เป็นบริษทั ไอบีเอม็ (International Business Machines Corporation) ในปี ค.ศ. 1924

Alan Turing - แอลนั แมธิสนั ทวั ริง  (23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนกั คณิตศาสตร์, นกั ตรรกศาสตร์, นกั รหสั วิทยา และวรี บุรุษสงคราม ชาวองั กฤษ และเป็นท่ียอมรับวา่ เป็นบิดาของวิทยาการ คอมพวิ เตอร์ เขาไดส้ ร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุอลั กอริทึมและการคานวณ โดยใช้ เครื่องจกั รทวั ริง ซ่ึงตามขอ้ ปัญหาเชิร์ช-ทวั ริงไดก้ ล่าววา่ เป็นรูปแบบของเครื่องจกั รคานวณเชิงกลท่ีครอบคลุม ทุกๆ รูปแบบท่ีเป็นไปไดใ้ นทางปฏิบตั ิ

Konrad Zuse - คอนรัด ซูส  (ค.ศ.1941) เป็นคร้ังแรกที่เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เครื่องแรกท่ีสามารถต้งั โปรแกรมไดอ้ ยา่ งอิสระ ผพู้ ฒั นาคือ Konrad Zuse และช่ือคอมพวิ เตอร์คือ Z1 Compute  Z3 ของประเทศเยอรมนี ออกแบบใน ค.ศ. 1941 โดย Konrad Zuse เป็นคอมพิวเตอร์ไฟฟ้า-จกั รกลอเนกประสงค์ เครื่องแรก มนั เป็นคอมพวิ เตอร์ดิจิทลั ใชเ้ ลขคณิตฐานสอง เป็นทวั ริงบริบรู ณ์ และโปรแกรมไดเ้ ตม็ ที่ โดยใชเ้ ทป เจาะรู แตใ่ ชร้ ีเลยใ์ นการทางานท้งั หมด ดงั น้นั จึงไม่ใช่คอมพิวเตอร์อิเลก็ ทรอนิกส์

Prof. Howard H.Aiken - โฮเวริ ์ด เอช ไอเคน  (ค.ศ.1937) โฮเวิร์ด เอช ไอเคน (Professor Howard H. Aiken) ศาสตราจารยท์ างคณิตศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลยั ฮาร์ วาร์ด (Harvard) เป็นผอู้ อกแบบและสร้างเคร่ืองคานวณตามหลกั การของแบบเบจไดส้ าเร็จ โดยนาเอาแนวคิดของ Jacquard และHollerith มาใชใ้ นการสร้างและไดร้ ับการสนบั สนุนจากวศิ วกรของบริษทั ไอบีเอม็ สร้างสาเร็จในปี ค.ศ. 1943 ในช่ือวา่ Automatic Sequence Controlled Calculator (ASCC) หรือเรียกกนั โดยทว่ั ไปวา่ MARK I Computer นบั เป็นเคร่ืองคานวณเครื่องแรกของโลกที่ทางานโดยอตั โนมตั ิท้งั เครื่อง จดั เป็น Digital Computer และ เป็นเครื่องท่ีทางานแบบ Electromechanical คือเป็นแบบ ก่ึงไฟฟ้าก่ึงจกั รกล

Dr.Jobn Vincent Atansoff , Clifford Berry  (พ.ศ.2480-2481) ดร.จอห์น วินเซนต์ อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ คลิฟฟอร์ด แบร่ี ( Clifford Berry) ไดป้ ระดิษฐเ์ ครื่อง ABC ( Atanasoff-Berry) ข้ึน โดยไดน้ าหลอดสุญญากาศมาใชง้ าน ABC ถือเป็นเคร่ืองคานวณเครื่องแรกที่เป็นเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์

John W. Mauchly & Persper Eckert  (พ.ศ. 2486) ซ่ึงเป็นช่วงสงครามโลกคร้ังที่ 2 John W. Mauchly และPersper Eckert จากหมาวิทยาลยั เพนซิลวาเนีย ในการสร้างคอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ข้ึนมา โดยนาหลอดสุญยากาศ (Vacuum Tube) จานวน 18,000 หลอด มาใชใ้ นการสร้าง ซ่ึงมีขอ้ ดีคือ ทาใหเ้ คร่ืองมีความเร็ว และมีความถูกตอ้ งแมน่ ยาในการคานวณมาก ข้ึน

Dr.John von Neumann - จอห์น วอน นอยแมน  (พ.ศ. 2492- พ.ศ. 2494) Dr.John Von Neumann ไดพ้ บวิธีการเกบ็ โปรแกรมไว้ ในหน่วยความจาของ เครื่องเช่นเดียวกบั การเกบ็ ขอ้ มลู และต่อวงจรไฟฟ้า สาหรับการคานวณ และการปฏิบตั ิการพ้นื ฐาน ไวใ้ ห้ เรียบร้อยภายในเคร่ือง แลว้ เรียกวงจรเหล่าน้ีดว้ ยรหสั ตวั เลขท่ีกาหนดไว้ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีถูก พฒั นาข้ึนตามแนวความคิดน้ีไดแ้ ก่ EVAC (Electronic Ddiscreate Variable Automatic Computer)ซ่ึง สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2492 และนามาใชง้ านจริงในปี พ.ศ. 2494 และในเวลาใกลเ้ คียงกนั ที่ มหาวทิ ยาลยั เคมบริดส์ ประเทศองั กฤษ ไดม้ ีการสร้างคอมพวิ เตอร์มีลกั ษณะคลา้ ยกบั เคร่ือง EVAC และ ให้ช่ือวา่ EDSAC (Electronic Delay Strorage Automatic Caculator)

Dr.Ted Hoff - ดร. เทด็ ฮอฟฟ์  (ค.ศ. 1971) Ted Hoff แห่งบริษทั อินเทล (Intel Corporation) ไดพ้ ฒั นาชิพท่ีมีขนาดเล็กมาก จึงไดช้ ื่อวา่ ไม โครโพรเซสเซอร์ ชื่อรุ่นคือ Intel 4004 เป็นหน่วยประมวลผลขนาดเล็กที่สามารถโปรแกรมได้ คอมพวิ เตอร์ท่ีใชช้ ิพขนาดเล็กน้ีเจึงถูกรียกวา่ ไมโครคอมพวิ เตอร์ดว้ ย

Steve Jobs & Steve Wazniak - สตีฟเวน จ๊อบส์ และ สตีฟ วอซเนียก  สตีฟเวน พอล จอ๊ บส์ (Steven Paul Jobs) เป็นท่ีรู้จกั ในฐานะผรู้ ่วมก่อต้งั (ร่วมกบั Steve Wozniak) บริษทั แอปเปิ้ ลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) นอกจากน้ีเขาเป็นหวั หนา้ บริษทั Pixar ซ่ึงเป็นบริษทั สร้างภาพ การ์ตูนเคลื่อนไหว (เช่น ภาพยนตร์แอนนิเมชนั เร่ือง Monster Ink, Shark Tale)  แตส่ ่ิงสาคญั ต่อวงการคอมพวิ เตอร์ที่เขาไดบ้ กุ เบิกคือการสร้างคอมพวิ เตอร์แอบเปิ้ ล 2 (Apple II) เขาได้ เล็งเห็นถึงศกั ยภาพของการสงั่ งานคอมพวิ เตอร์ผา่ นทางภาพ หรือ GUI (graphic user interface)ดว้ ยการใช้ เมาส์ ซ่ึงไดม้ ีการใชค้ ร้ังแรกท่ีบริษทั Xerox PARC

Bill Gates - บิล เกตส์  (ค.ศ. 1974) เป็นท่ีรู้จกั ดีในฐานะผกู้ ่อต้งั บริษทั ผลิตซอฟตแ์ วร์ที่ครองตลาดผใู้ ชม้ ากท่ีสุดคือบริษทั ไมโครซอฟต์ และเป็นหน่ึงบุคคลที่รวยที่สุดในโลก ปัจจุบนั เขาเป็นหวั หนา้ บริษทั ซ่ึงเขาไดร้ ่วมกบั พอล อลั เลน (Paul Allen) ก่อต้งั บริษทั ไมโครซอฟต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook